เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กระบวนพยุหยาตราสถลมารคและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กระบวนพยุหยาตราสถลมารคและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

กระบวนพยุหยาตราสถลมารค vs. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

กระบวนพยุหยาตราสถลมารค ในสมัยรัชกาลที่ 7 กระบวนพยุหยาตราสถลมารค ในสมัยรัชกาลที่ 9 กระบวนพยุหยาตราสถลมารค หรือ กระบวนพยุหยาตราทางสถลมารค คือ การเสด็จพระราชดำเนินของพระมหากษัตริย์ไทย พระราชดำเนินไปในการต่างๆ ทางบก ทั้งเป็นการส่วนพระองค์และที่เป็นการพระราชพิธี ซึ่งได้ ประกอบการมาแต่โบราณตั้งแต่สมัยสุโขทัยแล้ว และสืบทอดต่อมาในสมัยกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี กรุงรัตนโกสินทร์ และได้มีมาจนปัจจุบัน แต่เดิมกระบวนพยุหยาตราสถลมารค เป็นการเสด็จพระ ราชดำเนินเพื่อประกอบการพระราชพิธีต่างๆ ที่สำคัญ เช่น พระราชพิธีถวายผ้าพระกฐิน พระราชพิธีบรมราชาภิเษก การเสด็จไปนมัสการรอยพระพุทธบาทสระบุรี การอัญเชิญพระพุทธรูปที่สำคัญ จากหัวเมืองเข้ามาประดิษฐานในเมืองหลวง ตลอดจนการต้อนรับราชทูตจากต่างประเทศ และการพระบรมศพ เป็นต้น เป็นการจัดกระบวนมีเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศเป็นแถวงดงาม กระบวนพยุหยาตราพระกฐินสถลมารค เป็นกระบวนพระราชพิธีสำคัญ เมื่อครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา กระบวนดังกล่าวจัดขึ้นทุกปี ในพระราชพิธีสิบสองเดือน โดยพระมหากษัตริย์จะเสด็จสถลมารค เพื่อถวายผ้าพระกฐินแก่พระอารามหลวง กระบวนพยุหยาตรา พระกฐินสถลมารคที่ยิ่งใหญ่ถูกจัดขึ้น ในรัชสมัยพระนารายณ์มหาราช สมัยกรุงรัตนโกสินทร์มีการเสด็จเลียบพระนคร โดยกระบวนพยุหยาตราสถลมารคสองครั้ง คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรดเกล้าฯ ให้จัดกระบวนแห่เลียบพระนครครั้งหนึ่ง อีกครั้งหนึ่งในรัชสมัยพระบาทเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในกระบวนพยุหยาตราสถลมารคนี้ พระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ข้าทูลละอองธุลีพระบาท และเสนาบดีที่ตามเสด็จในกระบวน ล้วนทรงฉลองพระองค์และแต่งกายอย่างงดงามพระมหากษัตริย์ทรงเครื่องสนับเพลาเชิงงอน พระภูษาเขียนทองฉลองพระองค์ตาดจีบ คาดเจียระบาด สายรัดพระองค์เพชรทรงพระสังวาล พระธำมรงค์ ทรงพระมาลาเพชร ในสมัยรัชกาลที่ 9 เมื่อครั้งพระราชพิธีบรมราชาภิเษกนั้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ มีแต่เพียงการเสด็จฯ โดยกระบวนราบใหญ่จากพระมหามณเทียรไปยังวัดพระศรีรัตนศาสดารามเท่านั้น จนลุมาถึงการพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 3 รอบพระนักษัตร จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการเสด็จพระราชดำเนินเลียบพระนคร โดยกระบวนพยุหยาตราสถลมารคเพื่อทรงนมัสการพระพุทธรูปสำคัญ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร. มเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กระบวนพยุหยาตราสถลมารคและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

กระบวนพยุหยาตราสถลมารคและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระมหากษัตริย์ไทยอาณาจักรอยุธยา

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

กระบวนพยุหยาตราสถลมารคและพระมหากษัตริย์ไทย · พระมหากษัตริย์ไทยและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

กระบวนพยุหยาตราสถลมารคและอาณาจักรอยุธยา · สมเด็จพระนารายณ์มหาราชและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กระบวนพยุหยาตราสถลมารคและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

กระบวนพยุหยาตราสถลมารค มี 15 ความสัมพันธ์ขณะที่ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช มี 59 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 2.70% = 2 / (15 + 59)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กระบวนพยุหยาตราสถลมารคและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: