สารบัญ
74 ความสัมพันธ์: ชลประทานพ.ศ. 2435พ.ศ. 2439พ.ศ. 2442พ.ศ. 2475พ.ศ. 2476พ.ศ. 2515พ.ศ. 2523พ.ศ. 2530พ.ศ. 2533พ.ศ. 2535พ.ศ. 2536พ.ศ. 2539พ.ศ. 2541พ.ศ. 2546พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกรมชลประทาน (ประเทศไทย)กรมพัฒนาที่ดินกรมการข้าวกรมส่งเสริมการเกษตรกรมส่งเสริมสหกรณ์กรมหม่อนไหมกรมประมงกรมปศุสัตว์กระทรวงกระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกฤษฎา บุญราชการยางแห่งประเทศไทยยุคล ลิ้มแหลมทองลักษณ์ วจนานวัชวิวัฒน์ ศัลยกำธรสหกรณ์สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางสำนักงานรัฐมนตรีสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)องค์การสวนยางองค์การสะพานปลา... ขยายดัชนี (24 มากกว่า) »
- กระทรวงในประเทศไทย
ชลประทาน
ลประทานเป็นการทดน้ำและระบายน้ำ ใช้เพื่อช่วยให้พืชผลการเกษตรเติบโต บำรุงรักษาภูมิประเทศ และปลูกพืชคืนสภาพดินเปลี่ยนสภาพในพื้นที่แห้งแล้งระหว่างช่วงฝนตกไม่เพียงพอ นอกเหนือจากนี้ ชลประทานยังมีประโยชน์อื่นในการผลิตพืชผล ซึ่งรวมถึงการปกป้องพืชจากความเย็น การยับยั้งการเติบโตของวัชพืชในไร่ธัญพืช และการช่วยป้องกันดินอัดตัวคายน้ำ ระบบชลประทานยังใช้ยับยั้งฝุ่น การกำจัดสิ่งปฏิกูลและในการเหมืองแร่ ชลประทานมักจะศึกษาร่วมกับการระบายน้ำซึ่งเป็นการน้ำผิวดินหรือใต้ออกตามธรรมชาติหรือโดยการประดิษฐ์ของมนุษย์จากบริเวณที่กำหนด ชลประทานเป็นสิ่งสำคัญของการเกษตรมานานกว่า 5000 ปีและเป็นผลผลิตของวัฒนธรรมหลายวัฒนธรรม ในทางประวัติศาสตร์ชลประทานเป็นพื้นฐานของเศรษฐกิจและสังคัมทั่วโลกจากเอเชียจนถึงสหรัฐอเมริกาตะวันตกเฉียงใต้.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และชลประทาน
พ.ศ. 2435
ทธศักราช 2435 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1892 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2435
พ.ศ. 2439
ทธศักราช 2439 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1896 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2439
พ.ศ. 2442
ทธศักราช 2442 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1899 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2442
พ.ศ. 2475
ทธศักราช 2475 ตรงกั.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2475
พ.ศ. 2476
ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2476
พ.ศ. 2515
ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2515
พ.ศ. 2523
ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2523
พ.ศ. 2530
ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2530
พ.ศ. 2533
ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2533
พ.ศ. 2535
ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2535
พ.ศ. 2536
ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2536
พ.ศ. 2539
ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2539
พ.ศ. 2541
ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2541
พ.ศ. 2546
ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2546
พ.ศ. 2550
ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2550
พ.ศ. 2552
ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2552
พ.ศ. 2554
ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2554
พ.ศ. 2555
ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2555
พ.ศ. 2558
ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2559
พ.ศ. 2560
ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2560
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
กรมชลประทาน (ประเทศไทย)
กรมชลประทาน เป็นหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่จัดให้ได้มาซึ่งน้ำเพื่อกักเก็บรักษา ควบคุม ส่ง ระบาย หรือ แบ่งน้ำเพื่อการเกษตร การพลังงาน การสาธารณูปโภค หรือการอุตสาหกรรม และหมายรวมถึงการป้องกันความเสียหายอันเกิดจากน้ำ กับการคมนาคมทางน้ำซึ่งอยู่ในเขตชลประทาน.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และกรมชลประทาน (ประเทศไทย)
กรมพัฒนาที่ดิน
กรมพัฒนาที่ดิน เป็นหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่ศึกษา สำรวจ วิเคราะห์และวิจัยดินและที่ดินเพื่อกำหนดนโยบาย และวางแผนการใช้ที่ดิน และเพื่อการพัฒนาที่ดิน 2.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และกรมพัฒนาที่ดิน
กรมการข้าว
กรมการข้าว เป็นหน่วยงานระดับกรม ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย มีหน้าที่ศึกษาวิจัยสำหรับข้าวในประเทศไทย มีหน่วยงานส่วนภูมิภาค คือ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว 23 แห่ง และ สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว มีศูนย์วิจัยข้าวอีก 27 แห่ง ร่วมแล้วมีศูนย์ฯ ส่วนภูมิภาคตามจังหวัดต่าง ร่วม 50 ศูนย์ กรมการข้าวนั้นเริ่มต้นจากความคิด พ.ศ.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และกรมการข้าว
กรมส่งเสริมการเกษตร
กรมส่งเสริมการเกษตร (Department of Agriculture Extension) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่จัดการส่งเสริมการทำการเกษตรให้แก่เกษตรกรของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และกรมส่งเสริมการเกษตร
กรมส่งเสริมสหกรณ์
กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Cooperative Promotion Department) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่ส่งเสริมและพัฒนาการสหกรณ์ภายในประเท.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และกรมส่งเสริมสหกรณ์
กรมหม่อนไหม
กรมหม่อนไหม เป็นส่วนราชการระดับกรม ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2552 เพื่อการอนุรักษ์ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาในเรื่องของหม่อนไหม.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และกรมหม่อนไหม
กรมประมง
กรมประมง (Department of Fisheries) เป็น หน่วยงานของรัฐที่ทำการศึกษา ค้นคว้า สำรวจ วิจัย วิเคราะห์ ทดลอง ด้านวิชาการทุกสาขาวิชาการของประมง ตลอดจนทำการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนา อาชีพที่เกี่ยวกับการประมงของประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไปในอนาคต เดิม กรมการประมง เป็นกรมสังกัด กระทรวงเศรษฐการ (ราชการส่วนเกษตร) และย้ายมาสังกัดกระทรวงเกษตราธิการ ในปี..
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และกรมประมง
กรมปศุสัตว์
กรมปศุสัตว์ (Department of Livestock Development) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกรม สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทำหน้าที่ดูแลและควบคุมการเลี้ยงสัตว์ ทั้งด้านสุขภาพ การบำบัดโรค การบำรุงพันธุ์ การควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ สถานพยาบาลสัตว์ โรคระบาดสัตว์ การปศุสัตว์ ไปจนถึงการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสัตว.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และกรมปศุสัตว์
กระทรวง
กระทรวง คือหน่วยงานของรัฐบาล ทำหน้าที่ในการจัดการและบริหารประเทศ ส่วนราชการหนึ่งในราชการบริหารส่วนกลางในภาครัฐ ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเป็นหัวหน้.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และกระทรวง
กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)
กระทรวงพาณิชย์ (Ministry of Commerce) เป็นกระทรวงหนึ่งของประเทศไทยที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการค้า ธุรกิจบริการ ทรัพย์สินทางปัญญา และราชการอื่นๆ ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงพาณิชย์ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์ตั้งอยู่ที่ 44/100 ถนนสนามบินน้ำ ตำบลบางกระสอ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และกระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)
กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)
กระทรวงการคลัง (Ministry of Finance) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินของแผ่นดิน การภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ดินราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่เพียงผู้ เดียวตามกฎหมายและไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือสัตยาบัน รวมทั้งการค้ำประกันหนี้ของส่วนราชการและองค์การรัฐ สถาบันการเงินและรัฐวิสาหก.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย)
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Ministry of Natural Resources and Environment) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสงวน อนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดการการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน และดูแลหน่วยงานราชการอื่น ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย)
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และกรุงเทพมหานคร
กฤษฎา บุญราช
นายกองเอก กฤษฎา บุญราช (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 -) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน กรรมการในคณะกรรมการกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกรเฉพาะกิจประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา กรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 ผอ.ศปป.2 กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ประธานกรรมการการไฟฟ้านครหลวง รองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง ในคณะกรรมการกำกับการทวงถามหนี้ รองประธานกรรมการคนที่สอง ในคณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลาง รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์ แห่งประเทศไทย กรรมการอื่นในคณะกรรมการธนาคารอาคารสงเคราะห์ กรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการ การทำงานของคนต่างด้าว กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 7/2560 และเป็นอดีตอธิบดีกรมการปกครอง อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา อดีตคณะกรรมการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และกฤษฎา บุญราช
การยางแห่งประเทศไทย
การยางแห่งประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand อักษรย่อ: กยท.; RAOT) รัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2558 ตามพระราชบัญญัติการยางแห่งประเทศไท..
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และการยางแห่งประเทศไทย
ยุคล ลิ้มแหลมทอง
นายสัตวแพทย์ ยุคล ลิ้มแหลมทอง กรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (ครม.ยิ่งลักษณ์ 3) และเป็นอดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และยุคล ลิ้มแหลมทอง
ลักษณ์ วจนานวัช
นายลักษณ์ วจนานวัช เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรรมการในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และอดีตผู้จัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ยาวนานถึง 7 ปี 7 เดือน 2 วัน ตั้งแต่ ปี พ.ศ.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และลักษณ์ วจนานวัช
วิวัฒน์ ศัลยกำธร
นายวิวัฒน์ ศัลยกำธร เกิดวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2497 เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย ประธานสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง ประธานมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ประธานกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ วิวัฒน์เป็นหนึ่งในบุคคลที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวลงสู่การปฏิบัติโดยมีเป้าหมายเพื่อการพัฒนามนุษย์ ในขณะเดียวกันภารกิจสำคัญอีกประการได้แก่การขับเคลื่อน “หลักกสิกรรมธรรมชาติ” ผ่านการบ่มเพาะหลักคิดและหลักปฏิบัติผ่าน “ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง” จังหวัดชลบุรี ศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตที่แสดงผลสัมฤทธิ์ของการนำศาสตร์พระราชาด้านการจัดการดิน น้ำ ป่า มาฟื้นฟูระบบนิเวศจนสามารถพลิกฟื้นดินดานสร้างระบบนิเวศที่สมดุลต่อระบบการผลิตภาคการเกษตร พัฒนาสู่ชุมชนที่ดำเนินวิถีชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ขยายผลสู่การสร้างแบบอย่างใหม่ของการศึกษาวิถีไทยในอนาคตด้วยการนำ “บวร-บ้าน วัด โรงเรียน” กลับสู่การบ่มเพาะเด็กและเยาวชนให้มีคุณธรรมนำความรู้ ในนาม “ปูทะเลย์มหาวิชชาลัย” ต้นแบบศูนย์การเรียนรู้ตามกฎกระทรวงว่าด้วยสิทธิของบุคคลในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน นายวิวัฒน์ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจาก โรงเรียนวัดสนามจันทร์ จังหวัดฉะเชิงเทรา, มัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร, ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และได้รับปริญญาดุษฎีกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นายวิวัฒน์ ดำรงตำแหน่งสุดท้ายก่อนลาออกจากราชการ คือ ผู้อำนวยการกองประเมินผลงาน สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สำนักนายกรัฐมนตรี ลาออกมาเพื่อขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชให้เป็นจริง ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็น ประธานสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง ประธานมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ประธานกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ในขณะเดียวกับได้รับตำแหน่งที่ปรึกษาให้กับหลายหน่วยงาน/องค์กร เพื่อขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในภาคส่วนต่างๆ ของสังคมนอกเหนือจากด้านการเกษตร อาทิ ด้านการศึกษา ด้านอุตสาหกรรม ด้านธุรกิจการบริการ ฯลฯ ในปี พ.ศ.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และวิวัฒน์ ศัลยกำธร
สหกรณ์
หลักการสหกรณ์ (cooperative principles) คือ แนวทางที่สหกรณ์ยึดถือปฏิบัติเพื่อให้คุณค่าของสหกรณ์เกิดผลเป็นรูปธรรม เรียกว่า หลักการรอชเดล (Rochdale Principles) มี 7 ประการคือ หลักการที่ 1 การเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง (Voluntary and Open Membership) ใช้บริการสหกรณ์ได้และเต็มใจจะรับผิดชอบในฐานะสมาชิก เข้าเป็นสมาชิกโดยปราศจากการกีดกันทางเพศ ฐานะทางสังคม เชื้อชาติ การเมือง หรือศาสนา หลักการที่ 2 การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย (Democratic Member Control) สหกรณ์เป็นองค์การประชาธิปไตยที่มีการควบคุมโดยสมาชิก ซึ่งมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน ในการกำหนดนโยบายและการตัดสินใจ บุรุษและสตรีที่ได้รับการเลือกตั้งจากที่ประชุมใหญ่ให้เป็นผู้แทนสมาชิก ต้องรับผิดชอบต่อสมาชิก ในสหกรณ์ขั้นปฐมสมาชิกมีสิทธิ์ในการออกเสียงเท่าเทียมกัน (สมาชิกหนึ่งคนหนึ่งเสียง) สำหรับสหกรณ์ในระดับอื่นๆ ก็ดำเนินการตามแนวทางประชาธิปไตยเช่นเดียวกัน หลักการที่ 3 การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของสมาชิก (Member Economic Participation) สมาชิกมีส่วนร่วมในการลงทุน (ซื้อหุ้น) ในสหกรณ์ของตนเองอย่างเสมอภาคกัน และมีส่วนในการควบคุมการใช้เงินทุนของสหกรณ์ตามแนวทางประชาธิปไตย ทุนของสหกรณ์อย่างน้อยๆ ส่วนหนึ่งต้องเป็นทรัพย์สินส่วนรวมของสหกรณ์ โดยปกติสมาชิกจะได้รับผลตอบแทน (ถ้ามี) ในอัตราที่จำกัดตามเงินลงทุน (หุ้น) ที่กำหนดเป็นเงื่อนไขของการเข้าเป็นสมาชิก สมาชิกสามารถจัดสรรเงินส่วนเกินของสหกรณ์เพื่อวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งหรือทุกอย่างตามข้อบังคับดังนี้ คือ เพื่อการพัฒนาสหกรณ์โดยอาจกันไว้เป็นทุนสำรองซึ่งอย่างน้อยๆ จะต้องมีส่วนหนึ่งที่นำมาแบ่งปันกันไม่ได้ เพื่อตอบแทนแก่สมาชิกตามสัดส่วนของปริมาณธุรกิจที่สมาชิกได้ทำกับสหกรณ์ เพื่อสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ที่มวลสมาชิกเห็นชอบ หลักการที่ 4 การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ (Autonomy and Independence) สหกรณ์เป็นองค์การที่พึ่งพาตนเองและปกครองตนเอง โดยการควบคุมของมวลสมาชิก หากสหกรณ์จะต้องมีข้อตกลงผูกพันกับองค์การอื่นใด ซึ่งรวมถึงหน่วยงานของรัฐบาลด้วย หรือจะต้องเพิ่มเงินลงทุน โดยอาศัยแหล่งเงินทุนจากภายนอกสหกรณ์ สหกรณ์จะต้องกระทำการดังกล่าวภายใต้เงื่อนไขที่มั่นใจได้ว่ามวลสมาชิกจะยังคงธำรงไว้ซึ่งอำนาจในการควบคุมสหกรณ์ตามแนวทางประชาธิปไตย และสหกรณ์ยังคงดำรงความเป็นอิสระ หลักการที่ 5 การศึกษา ฝึกอบรม และสารสนเทศ (Education, Trainning and Information) สหกรณ์พึงให้การศึกษาและการฝึกอบรมแก่สมาชิก ผู้แทนสมาชิกที่ได้รับการเลือกตั้ง ผู้จัดการและเจ้าหน้าที่สหกรณ์ เพื่อให้บุคลากรเหล่านี้สามารถมีส่วนช่วยพัฒนาสหกรณ์ของตนเองได้อย่างมีประสิทธิผล และพึงให้ข่าวสารแก่สาธารณชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนและบรรดาผู้นำทางความคิดในเรื่องคุณลักษณะและคุณประโยชน์ของสหกรณ์ หลักการที่ 6 การร่วมมือระหว่างสหกรณ์ (Cooperation among Cooperatives) สหกรณ์จะสามารถให้บริการแก่สมาชิกได้อย่างมีประสิทธิผลสูงสุด และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ขบวนการสหกรณ์ได้ โดยร่วมมือกันในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ หลักการที่ 7 การเอื้ออาทรต่อชุมชน (Concern for Community) สหกรณ์พึงดำเนินกิจการต่างๆ เพื่อการพัฒนาชุมชนให้มีความเจริญยั่งยืนตามนโยบาย ที่มวลสมาชิกเห็นชอบ หมวดหมู่:ธุรก.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และสหกรณ์
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
ำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นหน่วยงานอิสระในการดำเนิน งานจัดการกองทุน ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตรโดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 15 มีนาคม 2546 เป็นต้นไป (มีทุนดำเนินการขั้นต้น 3,000 ล้านบาท) จากผลกระทบวิกฤตเศรษฐกิจในปี 2540 ส่งผลให้รัฐบาลมีมาตรการคุมเข้มในเรื่องการใช้งบประมาณ ทำให้โครงการต่างๆ ที่ได้ดำเนินการไปบ้างแล้ว และที่จะต้องดำเนินการต่อเนื่องไม่สามารถดำเนินการต่อได้ รัฐบาลจึงเห็นชอบให้มีการจัดหาเงินกู้จากต่างประเทศมาดำเนินการต่อ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบที่จะปฏิบัติตามเงื่อนไขผูกพัน (Policy Matrix) โครงการเงินกู้เพื่อปรับโครงสร้างภาคเกษตร ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมขีดความสามารถใน การแข่งขันเพื่อการส่งออก เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2542.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)
ำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน) เป็นหน่วยงานของรัฐ ประเภทองค์การมหาชน ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี..
สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง
ำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (Office of the Rubber Replanting Aid Fund) หรือ สก.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง
สำนักงานรัฐมนตรี
ำนักงานรัฐมนตรี เป็นส่วนราชการที่มิได้มีฐานะเป็นกรม เพราะไม่มีกฎหมายบัญญัติให้เป็นกรม อยู่ในสังกัดกระทรวงต่างๆ ของประเทศไทย เดิมมีชื่อว่า "สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี" ในอดีตเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ทั่วไปซึ่งมิใช่งานของกรมใดกรมหนึ่งในกระทรวง หรือเปรียบเสมือนกับสำนักงานรัฐมนตรี ต่อมาในปี พ.ศ.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และสำนักงานรัฐมนตรี
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร เป็นส่วนราชการระดับกรม ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2522.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)
thumb สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) หรือ สว. มีชื่อภาษาอังกฤษว่า "Highland Research and Development Institute (Public Organization) จัดตั้งขึ้นเนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายที่จะสนับสนุนงานโครงการหลวงและขยายผลงานโครงการหลวงในการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมบนที่สูงของประเทศไทยให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างยั่งยืน โดยมีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 ตุลาคม 2548 เพื่อเป็นกระบวนการและกลไกในการเสริมสร้างงานวิจัยและพัฒนา เพื่อให้ได้มาซึ่งนวัตกรรม การเสริมสร้างและการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่น การเก็บรักษาคุณค่าของความหลากหลายทางชีวภาพ การถ่ายทอดองค์ความรู้จากโครงการหลวง และการผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่น การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนบนพื้นที่สูง ตลอดจนส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการฟื้นฟู ป่าต้นน้ำลำธาร รวมทั้งการแลกเปลี่ยนทางวิชาการในระดับนานาชาติเพื่อ ให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรม ในอันที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติได้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) (ฉบับที่ 2) เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2552 ขยายวัตถุประสงค์ให้สามารถบริหารจัดการสวนเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 ซึ่งเป็นพื้นที่จัดงานมหกรรมพืชสวนโลก เนื่องในวโรกาสเฉลิมฉลองครองราชย์ 60 ปี และเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา และเมื่อวันที่ 23 มกราคม 2553 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสวนแห่งนี้ว่า อุทยานหลวงราชพฤกษ์ และต่อมาสำนักราชเลขาธิการแจ้งชื่อภาษาอังกฤษว่า "Royal Park Rajapruek".
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)
องค์การสวนยาง
องค์การสวนยาง (อ.ส.ย.) เป็นอดีตรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้ก่อตั้งคือ ชุบ มุนิกานนท์ และก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และองค์การสวนยาง
องค์การสะพานปลา
องค์การสะพานปลา (Fish Marketing Organization) เป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2496 ตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบกิจการแพปล..
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และองค์การสะพานปลา
องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย
องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อปี..
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย
องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (ชื่อย่อ อ.อ.ป.) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ก่อตั้งขึ้นเป็นหน่วยงานในสังกัดกรมป่าไม้ในปี พ.ศ.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร
องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (Marketing Organization for Farmers) หรือชื่อย่อว่า "อ.ต.ก." เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อปี..
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และองค์การตลาดเพื่อเกษตรกร
จรัลธาดา กรรณสูต
รัลธาดา กรรณสูต(22 สิงหาคม พ.ศ. 2492-) องคมนตรี ประธานคณะกรรมการมูลนิธิโครงการหลวงประธานกรรมการบริหารในคณะกรรมการบริหารกองทุนพระราชทานสำหรับศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อดีตที่ปรึกษาสำนักราชเลขาธิการ, อดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตอธิบดีกรมประมง.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และจรัลธาดา กรรณสูต
จุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
นายจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (15 ตุลาคม พ.ศ. 2472 — 29 กันยายน พ.ศ. 2549) เป็นอดีตองคมนตรี.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)
นนราชดำเนินกลางและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน (Thanon Ratchadamnoen) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยถนน 3 สาย ได้แก.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และประเทศไทย
ปรีดา กรรณสูต
ปรีดา กรรณสูต (1 กันยายน พ.ศ. 2463 - 8 ธันวาคม พ.ศ. 2551) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตอธิบดีกรมประมง.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และปรีดา กรรณสูต
ปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา
นายปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา ประธานกรรมการคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 และ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายและแผนการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งแห่งชาติ ด้านเศรษฐศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา
เกษตรกรรม
กษตรกรรม (agriculture) เป็นการเพาะปลูกพืช เห็ดรา เลี้ยงสัตว์ และรูปแบบของชีวิตแบบอื่น ๆ เพื่อเป็นอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิงชีวภาพ ยารักษาโรคและผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อความยั่งยืนและเพิ่มสมรรถนะชีวิตมนุษย์ เกษตรกรรมเป็นพัฒนาการที่สำคัญในความเจริญของอารยธรรมมนุษย์ที่ไม่ย้ายที่อยู่ซึ่งการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ในสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่องได้ผลิตอาหารส่วนเกิน ซึ่งช่วยหล่อเลี้ยงพัฒนาการของอารยธรรม การศึกษาด้านเกษตรกรรมถูกเรียกว่า เกษตรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของเกษตรกรรมย้อนกลับไปหลายพันปี และการพัฒนาของมันได้ถูกขับเคลื่อนโดยความแตกต่างอย่างมากของภูมิอากาศ วัฒนธรรมและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรรมทั้งหมดโดยทั่วไปพึ่งพาเทคนิคต่างๆเพื่อการขยายและบำรุงที่ดินที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่อง สำหรับพืช เทคนิคนี้มักอาศัยการชลประทานบางรูปแบบ แม้จะมีหลายวิธีการของเกษตรกรรมในพื้นที่แห้งแล้งอยู่ก็ตาม ปศุสัตว์จะถูกเลี้ยงในระบบทุ่งหญ้าผสมกับระบบที่ไม่เป็นเจ้าของที่ดิน ในอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบหนึ่งในสามของพื้นที่ที่ปราศจากน้ำแข็งและปราศจากน้ำของโลก ในโลกพัฒนาแล้วเกษตรอุตสาหกรรมที่ยึดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวขนาดใหญ่ได้กลายเป็นระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ที่โดดเด่น แม้ว่าจะมีแรงสนับสนุนที่เพิ่มมากขึ้นสำหรับเกษตรกรรมแบบยั่งยืน รวมถึงเกษตรถาวรและเกษตรกรรมอินทรีย์ จนกระทั่งมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ของประชากรมนุษย์ทำงานในภาคการเกษตร การเกษตรแบบก่อน-อุตสาหกรรมโดยทั่วไปเป็นการเกษตรเพื่อการดำรงชีวิต/การพึ่งตัวเองในที่ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชเพื่อการบริโภคของตัวเองแทน'พืชเงินสด'เพื่อการค้า การปรับเปลี่ยนที่โดดเด่นในการปฏิบัติทางการเกษตรได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาในการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆและการพัฒนาของตลาดโลก มันยังได้นำไปสู่การปรับปรุงด้านเทคโนโลยีในเทคนิคการเกษตร เช่นวิธีของ 'ฮาเบอร์-Bosch' สำหรับการสังเคราะห์แอมโมเนียมไนเตรตซึ่งทำให้การปฏิบัติแบบดั้งเดิมของสารอาหารที่รีไซเคิลด้วยการปลูกพืชหมุนเวียนและมูลสัตว์มีความสำคัญน้อยลง เศรษฐศาสตร์การเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช เกษตรเคมีเช่นยาฆ่าแมลงและปุ๋ยและการปรับปรุงเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้เพิ่มอัตราผลตอบแทนอย่างรวดเร็วจากการเพาะปลูก แต่ในเวลาเดียวกันได้ทำให้เกิดความเสียหายของระบบนิเวศอย่างกว้างขวางและผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ในเชิงลบ การคัดเลือกพันธุ์และการปฏิบัติที่ทันสมัยในการเลี้ยงสัตว์ได้เพิ่มขึ้นในทำนองเดียวกันของการส่งออกของเนื้อ แต่ได้เพิ่มความกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์และผลกระทบต่อสุขภาพของยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมนที่สร้างการเจริญเติบโต และสารเคมีอื่นๆที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเป็นองค์ประกอบที่เพิ่มขึ้นของการเกษตร แม้ว่าพวกมันจะเป็นสิ่งต้องห้ามในหลายประเทศ การผลิตอาหารการเกษตรและการจัดการน้ำจะได้กลายเป็นเป็นปัญหาระดับโลกเพิ่มขึ้นที่ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนของ fronts การเสื่อมสลายอย่างมีนัยสำคัญของทรัพยากรดินและน้ำ รวมถึงการหายไปของชั้นหินอุ้มน้ำ ได้รับการตั้งข้อสังเกตในทศวรรษที่ผ่านมา และผลกระทบของภาวะโลกร้อนกับการเกษตรและผลของการเกษตรต่อภาวะโลกร้อนยังคงไม่เป็นที่เข้าใจอย่างเต็มที่ สินค้าเกษตรที่สำคัญสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มกว้างๆได้แก่อาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และวัตถุดิบ อาหารที่เฉพาะได้แก่(เมล็ด)ธัญพืช ผัก ผลไม้ น้ำมันปรุงอาหาร เนื้อสัตว์และเครื่องเทศ เส้นใยรวมถึงผ้าฝ้าย ผ้าขนสัตว์ ป่าน ผ้าไหมและผ้าลินิน วัตถุดิบได้แก่ ไม้และไม้ไผ่ วัสดุที่มีประโยชน์อื่นๆมีการผลิตจากพืช เช่นเรซิน สีธรรมชาติ ยา น้ำหอม เชื้อเพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ประดับเช่นไม้ตัดดอกและพืชเรือนเพาะชำ กว่าหนึ่งในสามของคนงานในโลกมีการจ้างงานในภาคเกษตร เป็นที่สองรองจากภาคบริการเท่านั้น แม้ว่าร้อยละของแรงงานเกษตรในประเทศที่พัฒนาแล้วได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านม.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และเกษตรกรรม
เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)
Vanity Fair" เมื่อ ค.ศ. 1879 (พ.ศ. 2422) เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) (พ.ศ. 2392 - พ.ศ. 2463) อดีตอธิบดีกรมพระคลังสวน อธิบดีจัดการกรมภาษีร้อยชักสาม (ปัจจุบันคือ กรมศุลกากร) เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ และเสนาบดีกระทรวงธรรมการคนแรก (ปัจจุบันคือ กระทรวงศึกษาธิการ).
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)
เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)
มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ นามเดิม หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร เป็นพระโอรสในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหนาทราชดุรงค์ฤทธิ์ กับหม่อมสุด กุญชร ณ อยุธยา เกิดเมื่อวันพฤหัสบดี เดือนอ้าย ขึ้น ๗ ค่ำ ปีชวด ตรงกับวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน..
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)
เขตพระนคร
ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และเขตพระนคร
1 ตุลาคม
วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และ1 ตุลาคม
1 เมษายน
วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และ1 เมษายน
10 มกราคม
วันที่ 10 มกราคม เป็นวันที่ 10 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 355 วันในปีนั้น (356 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และ10 มกราคม
12 พฤษภาคม
วันที่ 12 พฤษภาคม เป็นวันที่ 132 ของปี (วันที่ 133 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 233 วันในปีนั้น.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และ12 พฤษภาคม
18 กันยายน
วันที่ 18 กันยายน เป็นวันที่ 261 ของปี (วันที่ 262 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 104 วันในปีนั้น.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และ18 กันยายน
2 กรกฎาคม
วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และ2 กรกฎาคม
26 มิถุนายน
วันที่ 26 มิถุนายน เป็นวันที่ 177 ของปี (วันที่ 178 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 188 วันในปีนั้น.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และ26 มิถุนายน
3 กันยายน
วันที่ 3 กันยายน เป็นวันที่ 246 ของปี (วันที่ 247 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 119 วันในปีนั้น.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และ3 กันยายน
30 กันยายน
วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และ30 กันยายน
5 มกราคม
วันที่ 5 มกราคม เป็นวันที่ 5 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 360 วันในปีนั้น (361 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และ5 มกราคม
9 มกราคม
วันที่ 9 มกราคม เป็นวันที่ 9 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 356 วันในปีนั้น (357 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)และ9 มกราคม
ดูเพิ่มเติม
กระทรวงในประเทศไทย
- กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)
- กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)
- กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
- กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)
- กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)
- กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย)
- กระทรวงพลังงาน (ประเทศไทย)
- กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)
- กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)
- กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)
- กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)
- กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)
- กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)
- กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)
- กระทรวงแรงงาน (ประเทศไทย)
- กระทรวงในประเทศไทย
- สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)
หรือที่รู้จักกันในชื่อ กระทรวงเกษตราธิการกระทรวงเกษตรพาณิชยการกระทรวงเกษตรพนิชการกระทรวงเกษตรตราธิการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย