โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย) vs. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

กระทรวงคมนาคม (Ministry of Transport) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ยกระดับการให้บริการประชาชน ของระบบโครงสร้างพื้นฐาน และบริการคมนาคมขนส่ง ให้มีความคุ้มค่าและทั่วถึง ทำให้ระบบคมนาคมขนส่ง มีความปลอดภัย มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผสานและเชื่อมโยง โครงข่ายระบบขนส่งมวลชน ระบบขนส่งสาธารณะ ทั้งคนและสินค้า และขยายโอกาสการเดินทางสัญจร อย่างเสมอภาคโดยทั่วถึงกัน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี หรือ บางมด (อังกฤษ: King Mongkut's University of Technology Thonburi; อักษรย่อ: มจธ.) โดยเป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ และเป็น สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตามประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 115 ตอนที่ 11 ก ลงวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2541 มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในด้าน วิศวกรรมศาสตร์, วิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี, สถาปัตยกรรมศาสตร์ เดิมชื่อ วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตธนบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ตามลำดับ ปัจจุบันเปิดสอนใน 8 คณะ, 1 สถาบัน, 1 บัณฑิตวิทยาลัย และ 1 บัณฑิตวิทยาลัยร่วม โดยมีทั้งหลักสูตรปกติ และนานาชาติ ในระดับปริญญาตรี, โท และเอก ซึ่งมี 3 วิทยาเขต และ 1 อาคาร คือ วิทยาเขตบางมด, วิทยาเขตบางขุนเทียน, วิทยาเขตราชบุรี และอาคารเคเอ็กซ์ คลองสาน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กรมทางหลวงกรมเจ้าท่ากระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานคร

กรมทางหลวง

กรมทางหลวง เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่ดำเนินการก่อสร้าง ควบคุม บูรณะ และบำรุงรักษาทางหลวง ทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงสัมปทาน เพื่ออำนวยความสะดวกรวดเร็วและปลอดภัยในทางหลวงทั่วประเทศ เอื้อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง ความมั่นคง และการป้องกันประเท.

กรมทางหลวงและกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย) · กรมทางหลวงและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

กรมเจ้าท่า

กรมเจ้าท่า (Marine Department; เคยใช้ชื่อ: กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี) มีหน้าที่ดูแลพื้นน้ำและการเดินทางทางน้ำ มีสำนักงานตั้งอยู่ที่ 1278 ถนนโยธา แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร.

กรมเจ้าท่าและกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย) · กรมเจ้าท่าและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)

กระทรวงคมนาคม (Ministry of Transport) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ยกระดับการให้บริการประชาชน ของระบบโครงสร้างพื้นฐาน และบริการคมนาคมขนส่ง ให้มีความคุ้มค่าและทั่วถึง ทำให้ระบบคมนาคมขนส่ง มีความปลอดภัย มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผสานและเชื่อมโยง โครงข่ายระบบขนส่งมวลชน ระบบขนส่งสาธารณะ ทั้งคนและสินค้า และขยายโอกาสการเดินทางสัญจร อย่างเสมอภาคโดยทั่วถึงกัน.

กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)และกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย) · กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)และกรุงเทพมหานคร · กรุงเทพมหานครและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย) มี 47 ความสัมพันธ์ขณะที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มี 119 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 2.41% = 4 / (47 + 119)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »