โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กระดูกหุ้มสมองและโครงกระดูกแกน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กระดูกหุ้มสมองและโครงกระดูกแกน

กระดูกหุ้มสมอง vs. โครงกระดูกแกน

กระดูกหุ้มสมอง เป็นกระดูกส่วนบนของกะโหลกศีรษะ แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่จัดให้กระดูกเหล่านี้เป็นกระดูกหุ้มสมอง. แผนภาพแสดงโครงกระดูกแกน โครงกระดูกแกน (axial skeleton) เป็นชุดของกระดูกที่ประกอบด้วยกระดูกในร่างกายมนุษย์จำนวน 80 ชิ้นในศีรษะและลำตัวของมนุษย์ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน ได้แก่ กะโหลกศีรษะมนุษย์ (human skull), กระดูกหูในหูชั้นกลาง (ossicles), กระดูกไฮออยด์ (hyoid bone) ในลำคอ, หน้าอก และกระดูกสันหลัง โครงกระดูกแกนและโครงกระดูกรยางค์รวมกันเป็นโครงกระดูกมนุษ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กระดูกหุ้มสมองและโครงกระดูกแกน

กระดูกหุ้มสมองและโครงกระดูกแกน มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กระดูกสฟีนอยด์กระดูกหน้าผากกระดูกท้ายทอยกระดูกขมับกระดูกข้างขม่อมกระดูกเอทมอยด์กะโหลกศีรษะ

กระดูกสฟีนอยด์

กระดูกสฟีนอยด์ (Sphenoid bone; sphenoeides แปลว่า รูปร่างคล้ายลิ่ม) เป็นกระดูกชิ้นหนึ่งของฐานกะโหลกศีรษะด้านหน้าของกระดูกขมับ (temporal) และส่วนเบซิลาร์ของกระดูกท้ายทอย (occipital bone) กระดูกชิ้นนี้มีรูปร่างคล้ายปีกผีเสื้อหรือค้างคาว.

กระดูกสฟีนอยด์และกระดูกหุ้มสมอง · กระดูกสฟีนอยด์และโครงกระดูกแกน · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกหน้าผาก

กระดูกหน้าผาก (frontal bone) เป็นกระดูกที่อยู่ในกะโหลกศีรษะของมนุษย์ มีรูปร่างเหมือนเปลือกหอยแครง ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก.

กระดูกหน้าผากและกระดูกหุ้มสมอง · กระดูกหน้าผากและโครงกระดูกแกน · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกท้ายทอย

กระดูกท้ายทอย (Occipital bone) เป็นกระดูกรูปจานรองแก้วที่อยู่ด้านหลังและด้านล่างของกะโหลกศีรษะ มีรูปร่างเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมูและโค้ง มีช่องขนาดใหญ่รูปวงรีเรียกว่า ฟอราเมน แมกนัม (foramen magnum) ซึ่งเป็นทางเชื่อมระหว่างโพรงกะโหลก (cranial cavity) และคลองกระดูกสันหลัง (vertebral canal) แบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ดังนี้.

กระดูกท้ายทอยและกระดูกหุ้มสมอง · กระดูกท้ายทอยและโครงกระดูกแกน · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกขมับ

กระดูกขมับ (temporal bone) เป็นกระดูกที่อยู่ด้านข้างและด้านฐานของกะโหลกศีรษะ กระดูกนี้ทำหน้าที่ค้ำจุนส่วนของใบหน้าที่เรียกว่า ขมับ (temple).

กระดูกขมับและกระดูกหุ้มสมอง · กระดูกขมับและโครงกระดูกแกน · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกข้างขม่อม

กระดูกข้างขม่อม (parietal bone) เป็นกระดูกที่อยู่ในกะโหลกศีรษะของมนุษย์ ซึ่งประกอบกันอยู่ด้านข้างและเป็นหลังคาด้านบนของกะโหลกศีรษะ กระดูกข้างขม่อมมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมไม่สม่ำเสมอ มีพื้นผิว 2 ด้าน ขอบกระดูก 4 ขอบ และมุมกระดูก 4 มุม.

กระดูกข้างขม่อมและกระดูกหุ้มสมอง · กระดูกข้างขม่อมและโครงกระดูกแกน · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกเอทมอยด์

กระดูกเอทมอยด์ (ethmoid bone; ethmos แปลว่า ตะแกรง) เป็นกระดูกที่ประกอบเป็นกะโหลกศีรษะซึ่งกั้นระหว่างโพรงจมูก (nasal cavity) และสมอง (brain) ตั้งอยู่ที่เพดานของจมูก ระหว่างเบ้าตาทั้งสองข้าง กระดูกชิ้นนี้มีน้ำหนักเบาเนื่องจากมีโครงสร้างเป็นกระดูกเนื้อโปร่ง.

กระดูกหุ้มสมองและกระดูกเอทมอยด์ · กระดูกเอทมอยด์และโครงกระดูกแกน · ดูเพิ่มเติม »

กะโหลกศีรษะ

วาดแสดงมุมมองจากทางด้านหน้าของกะโหลกศีรษะของมนุษย์ กะโหลกศีรษะ เป็นโครงสร้างของกระดูกที่ประกอบขึ้นเป็นโครงร่างที่สำคัญของส่วนศีรษะในสัตว์ในกลุ่มเครนิเอต (Craniate) หรือสัตว์ที่มีกะโหลกศีรษะ ซึ่งรวมทั้งสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด กะโหลกศีรษะทำหน้าที่ปกป้องสมองซึ่งเป็นศูนย์กลางของระบบประสาท รวมทั้งเป็นโครงร่างที่ค้ำจุนอวัยวะรับสัมผัสต่างๆ ทั้งตา หู จมูก และลิ้น และยังทำหน้าที่เป็นทางเข้าของทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ การศึกษาเกี่ยวกับกะโหลกศีรษะมีประโยชน์อย่างมากหลายประการ โดยเฉพาะการศึกษาในเชิงกายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบระหว่างสัตว์ชนิดต่างๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ด้านบรรพชีวินวิทยาและความเข้าใจถึงลำดับทางวิวัฒนาการ นอกจากนี้การศึกษาลงไปเฉพาะกะโหลกศีรษะมนุษย์ก็มีประโยชน์อย่างมากในการศึกษาด้านนิติเวชศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ รวมทั้งมานุษยวิทยาและโบราณคดี.

กระดูกหุ้มสมองและกะโหลกศีรษะ · กะโหลกศีรษะและโครงกระดูกแกน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กระดูกหุ้มสมองและโครงกระดูกแกน

กระดูกหุ้มสมอง มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ โครงกระดูกแกน มี 24 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 21.88% = 7 / (8 + 24)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กระดูกหุ้มสมองและโครงกระดูกแกน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »