โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กระจกหกด้านและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กระจกหกด้านและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)

กระจกหกด้าน vs. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)

กระจกหกด้าน เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทสารคดีสั้น ออกอากาศทุกเย็นวันจันทร์-วันอังคาร เวลา 16.00-16.15 น. ย้ายเวลาออกอากาศไปเป็นพฤหัสบดี - ศุกร์ เวลา 11.15 - 11.30 น. เป็นต้นไป เริ่ม พฤหัสบดี ที่ 2 ตุลาคม 2557 ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ปัจจุบัน ย้ายเวลาออกอากาศไปเป็นพุธ - พฤหัสบดี เวลา 15.45 - 16.00 น. เริ่มออกอากาศครั้งแรก เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2526,, นับเป็นรายการสารคดีที่มีระดับความนิยมสูงสุด ชื่อรายการ กระจกหกด้าน มาจากคำสอนของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ที่ว่า คนเราทุกวันนี้ ดีแต่ส่องกระจกด้านหน้าแต่เพียงด้านเดียว ให้เอากระจกหกด้านมาส่องเสียบ้าง แล้วจะเห็นเอง สารคดีสั้นทุกชุดของรายการ นางสุชาดี มณีวงศ์ ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งบริษัทผู้ผลิตรายการ รับหน้าที่บรรยายและคัดสรรข้อมูลที่นำมาผลิต นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2546 ยังมีการเปิดเว็บไซต์ที่รวบรวมสารคดีที่ออกอากาศไปแล้ว โดยแบ่งเป็น 6 หมวดหมู่ ได้แก่ ศิลปวัฒนธรรม ชีวิตและสิ่งแวดล้อม อาหารและโภชนาการ สุขภาพและวิทยาศาสตร์ บุคคลและสังคม รวมถึงปกิณกะสาระคติ นับตั้งแต่การออกอากาศเป็นครั้งแรกมาจนถึงปัจจุบันนี้ เพลงประกอบไทเทิลของรายการใช้เพลง Dancing Flames ของวง Mannheim Steamroller โดยภายหลังยังคงใช้เพลง Dancing Flames มาใส่ทำนองในแนวอินเดียแต่ยังคงทำนองเดิมไว้ แต่จะมีการเปลี่ยนแปลงภาพกราฟิก ขึ้นอยู่กับการปรับเปลี่ยนรูปแบบรายการ ต่อมาในวันที่ 28 สิงหาคม 2558 รายการ กระจกหกด้าน ได้เพิ่มรายการใหม่ ในรูปแบบสมัยใหม่ (รวมถึงภาพ เสียง และกราฟิกแบบสมัยใหม่) เพื่อได้สาระอีกส่วนหนึ่ง ในชื่อ กระจกหกด้านบานใหม. มเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) (นามเดิม: โต) หรือนามที่นิยมเรียก "สมเด็จโต" "หลวงปู่โต" หรือ "สมเด็จวัดระฆัง" เป็นพระภิกษุมหานิกาย เป็นพระมหาเถระรูปสำคัญที่ได้รับความนิยมนับถืออย่างมากในประเทศไทย ท่านเคยดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหารในสมัยรัชกาลที่ 4-5 สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) นับเป็นพระเกจิเถราจารย์ผู้มีปฏิปทาจริยาวัตรน่าเลื่อมใส เป็นที่เคารพนับถือทั่วไปมาตั้งแต่ท่านยังมีชีวิตอยู่ ตั้งแต่พระมหากษัตริย์จนถึงสามัญชน และนอกจากจริยาวัตรด้านความสมถะอันโดดเด่นของท่านแล้ว ท่านยังทรงคุณทางด้านวิชชาคาถาอาคม เมตตามหานิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัตถุมงคล "พระสมเด็จ" ที่ท่านได้สร้างขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชา ได้ถูกจัดเข้าในพระเครื่องเบญจภาคี หรือสุดยอดของพระเครื่องวัตถุมงคล 1 ใน 5 ของประเทศไทย และมีราคาซื้อขายในปัจจุบันต่อองค์เป็นราคานับล้านบาท ด้วยปฏิปทาจริยาวัตรและคุณวิเศษอัศจรรย์ของท่าน ทำให้พุทธศาสนิกชนชาวไทยเคารพนับถือว่าท่านเป็นอมตะเถราจารย์รูปหนึ่งของเมืองไทย และมีผู้นับถือจำนวนมากในปัจจุบัน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กระจกหกด้านและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)

กระจกหกด้านและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กระจกหกด้านและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)

กระจกหกด้าน มี 17 ความสัมพันธ์ขณะที่ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) มี 46 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (17 + 46)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กระจกหกด้านและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »