โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและบับเบิ้ล เกิร์ลส์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและบับเบิ้ล เกิร์ลส์

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุล vs. บับเบิ้ล เกิร์ลส์

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุล หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ กรรณิการ์ ซายน์ เป็นนักร้อง นักแสดง นางแบบชาวไทย ผลงานสร้างชื่อคือการออกอัลบั้มสังกัดแกรมมี. ับเบิ้ล เกิร์ลส์ คือวงดนตรีเกิร์ลกรุป ภายใต้สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ โดยมีผลงานตั้งแต่พ.ศ. 2541-พ.ศ. 2548.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและบับเบิ้ล เกิร์ลส์

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและบับเบิ้ล เกิร์ลส์ มี 13 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บับเบิ้ล เกิร์ลส์พ.ศ. 2544พ.ศ. 2548พ.ศ. 2556กรุงเทพจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ตะวัน จารุจินดาประเทศไทยป็อปแพร เอมเมอรี่แมทธิว ดีน ฉันทวานิชไบรโอนี่เมกเกอร์เฮด

บับเบิ้ล เกิร์ลส์

ับเบิ้ล เกิร์ลส์ คือวงดนตรีเกิร์ลกรุป ภายใต้สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ โดยมีผลงานตั้งแต่พ.ศ. 2541-พ.ศ. 2548.

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและบับเบิ้ล เกิร์ลส์ · บับเบิ้ล เกิร์ลส์และบับเบิ้ล เกิร์ลส์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและพ.ศ. 2544 · บับเบิ้ล เกิร์ลส์และพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและพ.ศ. 2548 · บับเบิ้ล เกิร์ลส์และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและพ.ศ. 2556 · บับเบิ้ล เกิร์ลส์และพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพ

กรุงเทพ อาจหมายถึง; ดินแดนและการปกครอง.

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและกรุงเทพ · กรุงเทพและบับเบิ้ล เกิร์ลส์ · ดูเพิ่มเติม »

จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่

ริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทแม่ของกิจการบันเทิง ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มธุรกิจดนตรี, สื่อ, ภาพยนตร์, ดิจิตอล, สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม, สถานีวิทยุ, สื่อสิ่งพิมพ์, และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ แบบครบวงจร ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดย ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม และเรวัต พุทธินันทน์ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 และเป็นค่ายเพลงที่ดีที่สุดอันดับ 1 ของประเทศไทย และอันดับ 3 ของเอเชีย จากการจัดอันดับของนิตยสารชื่อดังของอังกฤษ นอกจากนี้ยังเป็นบริษัทที่มีคนอยากเข้าทำงานมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ของประเทศไทยอีกด้วย จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ทำธุรกิจทางด้านดนตรี สื่อ ภาพยนตร์ ดิจิตอล สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม สถานีวิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ เป็นต้น โดยระยะแรกดำเนินธุรกิจหลักสร้างสรรค์ผลงาน เพลงไทยสากล โดยออกอัลบั้มชุดแรก นิยายรักจากก้อนเมฆ โดย แพทย์หญิงพันทิวา สินรัชตานันท์ และผลิตรายการทีวี 3 รายการ ได้แก่ ยิ้มใส่ไข่, มันกว่าแห้ว และ เสียงติดดาว จากนั้นจึงเริ่มขยายกิจการ ไปสู่ธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน์และรายการวิทยุ บริษัทได้ขยายการดำเนินธุรกิจเข้าสู่ธุรกิจบันเทิงอื่นๆ เช่น วิทยุ, ภาพยนตร์, การจัดคอนเสิร์ต, การศึกษา, สื่อสิ่งพิมพ์ รวมทั้งธุรกิจร้านค้าปลีกเพื่อจัดจำหน่ายสินค้าต่างๆ ของบริษัทในเครือ เช่นเทปและซีดีเพลงการขยายธุรกิจดังกล่าวส่งให้บริษัทดำเนินธุรกิจอย่างครบวงจร และเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมบันเทิงไทยในปี พ.ศ. 2544 ข้อมูลเมื่อ เมษายน..

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ · จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่และบับเบิ้ล เกิร์ลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ตะวัน จารุจินดา

ตะวัน จารุจินดา หรือ เติ้ล เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2523 เป็นนักแสดงชาวไทย เป็นบุตรชายของดวงดาว จารุจินดา และ สายัณห์ จันทรวิบูลย์ เติ้ลเป็นน้องชายของตั้ม วิชญ จารุจินดา นักแสดง มีผลงานการแสดงละคร อย่างเช่นเรื่องน้ำพุ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย ระดับปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ เอกการแสดงและการกำกับการแสดง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ชีวิตส่วนตัว หมั้นกับ เสาวคนธ์ พลัดพูลผล ในเดือนมีนาคม..

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและตะวัน จารุจินดา · ตะวัน จารุจินดาและบับเบิ้ล เกิร์ลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและประเทศไทย · บับเบิ้ล เกิร์ลส์และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ป็อป

นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและป็อป · บับเบิ้ล เกิร์ลส์และป็อป · ดูเพิ่มเติม »

แพร เอมเมอรี่

แพร ธรรมเสถียร เอมเมอรี่ (Phae Emery) หรือชื่อเล่น แพร เป็นนักแสดงหญิง ลูกครึ่งไทย-อังกฤษ สังกัด สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เกิดเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2529 จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาจาก โรงเรียนชลประทานวิทยา ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนดาราสมุทรศรีราชา และ โรงเรียนพระหฤทัยดอนเมือง และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสายปัญญารังสิต ปัจจุบันสำเร็จการศึกษาจากคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต แพรเคยเป็นหนึ่งในสมาชิกเกิร์ลกรุป วง Bubble Girls สังกัด เมกเกอร์เฮด ในเครือ จีเอ็มเอ็มแกรมมี่ เคยมีผลงานโฆษณาต่างๆ มาตั้งแต่ตอนอายุ 9 ปี.

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและแพร เอมเมอรี่ · บับเบิ้ล เกิร์ลส์และแพร เอมเมอรี่ · ดูเพิ่มเติม »

แมทธิว ดีน ฉันทวานิช

แมทธิว ฉันทวานิช เป็นที่รู้จักในชื่อ แมทธิว ดีน (29 สิงหาคม พ.ศ. 2521) เป็นนักร้องและนักแสดงลูกครึ่งไทย-อังกฤษ สัญชาติไทย นับถือศาสนาพุทธ สำเร็จการศึกษาระดับไฮสกูลจากประเทศ ออสเตรเลีย และระดับอุดมศึกษาจากมหาวิทยาลัยรังสิต เข้าสู่วงการโดยมีแมวมองพบเข้าขณะเดินเล่น จากนั้นได้รับการติดต่อให้ไปถ่ายแบบ และถ่ายให้นิตยสารพลอยแกมเพชร มีผลงานอัลบั้มเพลงชุดแรกกับค่ายแกรมมี่ชุด Code Love และชุดต่อมาชุด Matthew’s Climax จากนั้นย้ายสังกัดไปค่ายอาร์เอส มีผลงานอัลบั้มชุด แมทธิว แมเนีย ยังร้องเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง Sex Phone เคยเป็นวีเจทางช่องเอ็มทีวีไทยแลนด์ มีผลงานแสดงภาพยนตร์เรื่อง สวนสนุกผี ต่อมาในปี 2552 เป็นผู้เข้าแข่งขันในรายการซูเปอร์สตาร์ ที่สุดแห่งดาว ในฤดูกาลที่ 2 นอกจากนี้ เขายังรับหน้าที่เป็นพิธีกรการแข่งขัน THAI FIGHT แมทธิวสมรสกับศรัณย์รัชต์ วิสุทธิธาดา นักร้องอาร์แอนด์บีชาวไทย หลังจากคบหาราว 9 ปี มีบุตรด้วยกันหนึ่งคนชื่อธาวิน ดีน (ชื่อเล่น ดีแลน; 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2559).

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและแมทธิว ดีน ฉันทวานิช · บับเบิ้ล เกิร์ลส์และแมทธิว ดีน ฉันทวานิช · ดูเพิ่มเติม »

ไบรโอนี่

รโอนี่ รอดโพธิ์ทอง สไมท์ ชื่อเล่น เคท (27 มกราคม พ.ศ. 2525) เป็นนักร้องหญิงลูกครึ่งไทย-อเมริกันที่เคยมีผลงานในช่วงปี 2541-46 ปัจจุบันเธอได้ละจากการเป็นนักร้อง แล้วผันตัวเป็นครูสอนโยคะในสหรัฐอเมริก.

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและไบรโอนี่ · บับเบิ้ล เกิร์ลส์และไบรโอนี่ · ดูเพิ่มเติม »

เมกเกอร์เฮด

มกเกอร์เฮด (Maker Head) เป็นบริษัทผลิตเพลงย่อยในเครือจีเอ็มเอ็มแกรมมี่โดยมี "เจมส์" หัสคุณ จันทร์กลม เป็นกรรมการผู้จัดการ.

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและเมกเกอร์เฮด · บับเบิ้ล เกิร์ลส์และเมกเกอร์เฮด · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและบับเบิ้ล เกิร์ลส์

กรรณิการ์ วนะเกียรติกุล มี 33 ความสัมพันธ์ขณะที่ บับเบิ้ล เกิร์ลส์ มี 33 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 13, ดัชนี Jaccard คือ 19.70% = 13 / (33 + 33)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กรรณิการ์ วนะเกียรติกุลและบับเบิ้ล เกิร์ลส์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »