โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง)

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ vs. เขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง)

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ (6 กันยายน พ.ศ. 2381 — 28 สิงหาคม พ.ศ. 2428) เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์สุดท้ายในสมัยกรุงรัตนโกสินทร. ผังบริเวณ ในเขตพระราชฐานชั้นใน เขตพระราชฐานชั้นใน เป็นพื้นที่ที่มีพระตำหนักของเจ้าจอมมารดา พระมเหสี พระชายาต่างๆ เขตนี้ผู้ชายห้ามเข้า หากจะเข้าต้องมีโขลนคอยดูแลอยู่ตลอด ส่วนแถวเต๊ง เป็นตึกแถวยาวที่เคยเป็นกำแพงวังสมัยรัชกาลที่ 1 โดยมีประตูช่องกุดเป็นช่องทางเข้าออกของชาววัง ซึ่งอยู่ใกล้ประตูศรีสุดาวงศ์ ซึ่งเป็นประตูชั้นในที่จะต่อกับแถวเต๊ง บริเวณนั้นมีสวนขวาอันเป็นพระราชอุทยานซึ่งรัชกาลที่ 4 ทรงสร้างเป็นพระอภิเนาว์นิเวศน์ และมีสวนเต่า พวกเจ้านายจะทรงพระสำราญที่นี่ และเวลาไว้พระศพเจ้านายชั้นสูงก็จะไว้ที่หอธรรมสังเวชซึ่งอยู่ทางตะวันตกของพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง)

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง) มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสุดสวาดิพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุนทรีนาฏพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวีวิไลยวรรณสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง) · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน..

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง) · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง) · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง) · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 รองจากพระบรมเชษฐา สูงศักดิ์กว่า "วังหน้า" กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช)พระองค์ใดในอดีต เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 เมื่อมีพระชนมายุได้ 43 พรรษ.

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสุดสวาดิ

ระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสุดสวาดิ (พ.ศ. 2427 — พ.ศ. 2489) เป็นพระราชธิดาลำดับที่ 29 ในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ที่ประสูติแต่จอมมารดาแข พระองค์ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือน 11 ขึ้น 14 ค่ำ ปีวอกฉสก..

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสุดสวาดิ · พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสุดสวาดิและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุนทรีนาฏ

ระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุนทรีนาฏ (27 เมษายน พ.ศ. 2423 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2513) เป็นพระราชธิดาลำดับที่ 25 ในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ที่ประสูติแต่จอมมารดาสุ่นเล็ก ทรงเป็นต้นสกุล นารถนรกิจ จากการยกเลิกตำแหน่งวังหน้า ส่งผลให้อำนาจและความเป็นอยู่ของเจ้านายวังหน้าร่วงโรย เจ้านายฝ่ายในหลายพระองค์ดำรงพระองค์อย่างอัตคัต พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุนทรีนาฏเองก็ไม่มีรายได้เพียงพอ พระองค์เคยทำหนังสือกราบบังคมทูลขอพระราชทานเงินเพื่อใช้หนี้เก่าจำนวน 10,000 บาท แต่กระทรวงวังเบิกจ่ายให้ 5,560 บาท ต่อมาทรงกู้ยืมเงินจากนางแสง แสงชูคำ จำนวน 350 บาท จนเกิดคดีความขึ้น พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุนทรีนาฏ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม..

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุนทรีนาฏ · พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุนทรีนาฏและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวีวิไลยวรรณ

ระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวีวิไลยวรรณ (26 มิถุนายน พ.ศ. 2418 — 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485) พระราชธิดาพระองค์ที่ 10 ในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญประสูติแต่จอมมารดาสุ่นใหญ.

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวีวิไลยวรรณ · พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวีวิไลยวรรณและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร

นายร้อยโท สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หรือ สมเด็จพระบรมราชปิตุลาธิบดี เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ (27 มิถุนายน พ.ศ. 2421 – 4 มกราคม พ.ศ. 2437 นับแบบปัจจุบันตรงกับ พ.ศ. 2438) เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี พระองค์ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์แรกของประเทศไทย แต่หลังจากดำรงตำแหน่งสยามกุฎราชกุมารได้เพียง 8 ปี ก็เสด็จสวรรคต ขณะมีพระชนมายุ 15 พรรษ.

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร · สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี

มเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี (พระยศเดิม:สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าบุญรอด; พระราชสมภพ: 21 กันยายน พ.ศ. 2310 — สวรรคต: 18 ตุลาคม พ.ศ. 2379) หรือคนทั้งหลาย เรียกว่า สมเด็จพระพันวษา เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์ (พระเชษฐภคินีพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) กับเจ้าขรัวเงิน แซ่ตัน ต่อมาได้รับราชการฝ่ายในเป็นพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชสวามี พระองค์เสด็จออกไปประทับ ณ พระราชวังเดิม พร้อมด้วยสมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฑามณี พระราชโอรสพระองค์เล็ก พระองค์สวรรคตในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระบรมอัฐิเป็น กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาต.

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี · สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง)

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ มี 67 ความสัมพันธ์ขณะที่ เขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง) มี 65 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 7.58% = 10 / (67 + 65)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »