ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กรดซัลฟิวริกและสตรอนเชียมซัลเฟต
กรดซัลฟิวริกและสตรอนเชียมซัลเฟต มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กรดไฮโดรคลอริกกรดไนตริก
กรดไฮโดรคลอริก
รเจนคลอไรด์โอเวน กรดไฮโดรคลอริก หรือ กรดเกลือ (hydrochloric acid) เป็นสารประกอบเคมีประเภทกรดละลายในน้ำ โดยเป็นสารละลายของไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) เป็นกรดแก่, เป็นส่วนประกอบหลักของกรดกระเพาะ (gastric acid) และใช้กันอย่างกว้างในอุตสาหกรรมเป็นของเหลวที่มีพลังการกัดกร่อนสูง กรดไฮโดรคลอริก หรือ มูเรียติกแอซิด ถูกค้นพบโดย "จาเบียร์ เฮย์ยัน" (Jabir ibn Hayyan) ราวปี ค.ศ. 1800 ช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution) ถูกใช้อย่างกว้างขวางในการผลิตสารประกอบอินทรีย์ เช่น วีนิลคลอไรด์ สำหรับผลิต PVC พลาสติก และ MDI/TDI (Toluene Diisocyanate) สำหรับผลิต พอลิยูลิเทน, (polyurethane) และใช้ในการผลิตขนาดเล็กเช่น การผลิต เจนลาติน (gelatin) ใช้ปรุงอาหาร, และ ใช้ฟอกหนัง กำลังผลิตในปัจจุบันประมาณ 20 ล้านเมตริกตัน ต่อปี (20 Mt/a) ของก๊าซ HCl.
กรดซัลฟิวริกและกรดไฮโดรคลอริก · กรดไฮโดรคลอริกและสตรอนเชียมซัลเฟต ·
กรดไนตริก
กรดไนตริก หรือ กรดดินประสิว (Nitric acid) เป็นกรดที่มีอันตราย หากสัมผัสจะทำให้เกิดแผลไหม้ขั้นรุนแรง กรดไนตริกนี้ ค้นพบโดยการสังเคราะห์ โดย "Muslim alchemist Jabir ibn Hayyan" ประมาณ ค.ศ. 800 กรดไนตริกบริสุทธ์ 100% (ปราศจากน้ำ) จะเป็นของเหลวที่มีความหนาแน่น 1,552 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร และจะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิ -42 °C ลูกบาศก์ โดยจะเป็นผลึกสีขาว และจะเดือดที่อุณหภูมิ 83 °C แต่ก็สามารถเดือดในที่ ที่มีแสงสว่าง ทั้ง ๆ ที่อยู่ในอุณหภูมิห้อง สารประกอบเคมีในกรดไนตริก (HNO3), หรือ อควา ฟอร์ติส (aqua fortis) หรือ สปิริต ออฟ ไนเตอร์ (spirit of nitre) เป็นของเหลวที่กัดกร่อนและไม่มีสี เป็นกรดที่มีพิษที่สามารถทำให้เกิดแผลไฟไหม้อย่างรุนแรง สารละลายที่มีกรดไนตริกมากกว่า 86% เรียกว่า fuming nitric acidและสามารถกัดกร่อนโลหะมีตะกูลได้ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ขาว (white fuming nitric acid) และแดง (red fuming nitric acid).
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ กรดซัลฟิวริกและสตรอนเชียมซัลเฟต มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง กรดซัลฟิวริกและสตรอนเชียมซัลเฟต
การเปรียบเทียบระหว่าง กรดซัลฟิวริกและสตรอนเชียมซัลเฟต
กรดซัลฟิวริก มี 7 ความสัมพันธ์ขณะที่ สตรอนเชียมซัลเฟต มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 11.11% = 2 / (7 + 11)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กรดซัลฟิวริกและสตรอนเชียมซัลเฟต หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: