โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและส้ม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและส้ม

กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติก vs. ส้ม

กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติก (2,4-D) เป็นสารที่ถ้าใช้ในความเข้มข้นต่ำจะกระตุ้นการเจริญเติบโต ถ้าใช้ในความเข้มข้นสูงจะเป็นสารกำจัดวัชพืชใบกว้าง เพราะมีฤทธิ์ของความเป็นออกซินสูงมาก โดยพืชใบเลี้ยงคู่ไวต่อการตอบสนองต่อ 2,4- D มากกว่าพืชใบเลี้ยงเดี่ยว สารบริสุทธิ์อยู่ในรูปผลึกสีขาว ละลายได้ดีในแอลกอฮอล์ ยกเว้นในรูปของเกลือโซเดียมจะละลายในน้ำได้ มีพิษต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในระดับปานกลาง. 'ส้ม' เป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กหลายชนิด เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ สกุล Citrus วงศ์ Rutaceae มีด้วยกันนับร้อยชนิด เติบโตกระจายอยู่ทั่วโลก โดยมากจะมีน้ำมันหอมระเหยในใบ ดอก และผล และมีกลิ่นฉุน หากนำใบขึ้นส่องกับแสงแดด จะเห็นจุดเล็กๆ เต็มไปหมด ซึ่งจุดเหล่านั้นก็คือแหล่งน้ำมันนั่นเอง ส้มหลายชนิดรับประทานได้ ผลมีรสเปรี้ยวหรือหวาน มักจะมีแคลเซียม โปแทสเซียม วิตามินเอ และ วิตามินซี มากเป็นพิเศษ ถ้าผลไม้จำพวกนี้มี มะ อยู่หน้า ต้องตัดคำ ส้ม ออก เช่น ส้มมะนาว ส้มมะกรูด เป็น อนุกรมวิธานของส้มนั้น มีความยุ่งยากและสับสนมาช้านาน และเป็นที่ถกเถียงในการจำแนกและตั้งชื่อชนิด (สปีชีส์) ของส้มอยู่เสมอ และการจำแนกกลุ่มยังขึ้นกับนักอนุกรมวิธานด้วย เช่น สวิงเกิล (Swingle) จำแนกได้ 16 ชนิด, ทานาคา (Tanaka) จำแนกได้ 162 ชนิด และฮอจสัน (Hodgson) จำแนก 36 ชนิด ขณะที่บางท่านเสนอว่าส้มทั้งหลายจัดเป็นพืชชนิดเดียวกัน ที่สามารถผสมพันธุ์ระหว่างกันได้ ขณะเดียวกัน การจำแนกอย่างละเอียดของทานาคา ก็สร้างความสำเร็จได้ เนื่องจากพบในภายหลังว่า บางชนิดเป็นเพียงการผสมข้ามสายพันธุ์เท่านั้น ด้วยเหตุนี้จึงไม่แปลกหากเราจะพบชื่อวิทยาศาสตร์ของส้มหลายชนิดที่แตกต่างกัน ดังนั้นเพื่อความแน่นอน จึงมักจะระบุถึงนักอนุกรมวิธานผู้จำแนกเอาไว้ด้วยพืชตระกูลส้ม ปัจจุบันนี้ มีการใช้เทคนิคในการระบุเอกลักษณ์ด้วยดีเอ็นเอ (DNA) และมีการเสนอว่าอาจจะมีชนิดพื้นฐานของส้มอย่างกว้างๆ 4 ชนิด ด้วยกัน คือ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและส้ม

กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและส้ม มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พืชใบเลี้ยงคู่ส้มเช้งส้มเกลี้ยง

พืชใบเลี้ยงคู่

ืชใบเลี้ยงคู่ ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Magnoliopsida หรือ Dicotyledons กลุ่มของพืชกลุ่มหนึ่งมีเมล็ดที่ประกอบด้วยใบเลี้ยงคู่ ซึ่งเป็นชั้นทางชีววิทยา ต่อจากส่วนทางชีววิทยา ของพืชดอก (Magnoliophyta) ชื่อวิทยาศาสตร์ของ พืชใบเลี้ยงคู่ ได้มีระบบการจัดชั้นแบบใหม่ขึ้นมา ในขณะที่ระบบเก่า ระบบ Cronquist ยังคงเป็นที่นิยมอยู่ ในระบบใหม่ ระบบ Angiosperm Phylogeny Group ได้มีการจัดชั้นดังแสดง.

กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและพืชใบเลี้ยงคู่ · พืชใบเลี้ยงคู่และส้ม · ดูเพิ่มเติม »

ส้มเช้ง

้มเช้ง (Citrus sinensis) หรือส้มตรา หมากหวาน เป็นพืชพื้นเมืองของจีน เป็นส้มในกลุ่มส้มเกลี้ยง ทรงพุ่มขนาดเล็ก ดอกสีขาวครีม ผลกลม เว้าบริเวณขั้วเล็กน้อย ก้นผลเป็นวงคล้ายมีตราติด เปลือกหนา ขรุขระ มีต่อมน้ำมันทั่วผล เมื่ออ่อนเปลือกสีเขียวเข้ม พอสุกเป็นสีเขียวอ่อนอมเหลือง ก้านผลใหญ่ เนื้อในสีเหลือง ชาวจีนใช้เป็นผลไม้มงคลในเทศกาลสารทจีน,เทศกาลไหว้พระจันทร์ และ พิธีมงคลสมรสของชาวจีน วิธีกินสดหรือทำน้ำผลไม้.

กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและส้มเช้ง · ส้มและส้มเช้ง · ดูเพิ่มเติม »

ส้มเกลี้ยง

้มเกลี้ยง เป็นไม้เมืองร้อนตระกูลส้มชนิดหนึ่ง มีชื่อสามัญว่า Sweet Orange มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Citrus senesis L. Osbeck เป็นผลไม้ที่ขึ้นได้ดีบริเวณพื้นที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเลไม่มากนัก ถิ่นกำเนิดเข้าใจว่าอยู่บริเวณทางตอนใต้ของประเทศจีนต่อมาได้แพร่กระจายไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา เม็กซิโก ทวีปยุโรปและหมู่เกาะอินเดียตะวันตก สำหรับในประเทศไทยเชื่อกันว่าเริ่มนำเข้ามาปลูกในสมัยกรุงศรีอยุธยาหรือสมัยกรุงธนบุรีเพราะประเทศไทยขณะนั้นมีการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศจีน โดยเฉพาะทางด้านการค้า ทำให้ คนจีนเข้ามาในประเทศไทยจำนวนมากและได้ตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยเมื่ออาศัยอยู่ในประเทศไทยในฐานะประชาชนไทยคนหนึ่งที่ไม่ได้ละเลยประเพณีความเชื่อในศาสนาที่ตนเอง นับถือ สืบทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษ โดยสิ่งของที่ใช้ประกอบในพิธีกรรมอย่างหนึ่ง คือ ส้ม ไม่ว่าจะเป็นเทศกาลตรุษจีนหรือสารทจีน เป็นต้น จึงได้มีการนำต้นพันธ์เข้ามาปลูกในประเทศไทย ซึ่งประเทศจีนทางตอนล่างโดยเฉพาะในเขต มณฑลกวางตุ้ง มีลักษณะภูมิอากาศใกล้เคียงกับประเทศไทย สามารถปลูกส้มได้ดีเช่นกัน การนำส้มเกลี้ยงมาปลูกในอำเภอเถินในระยะแรกเป็นพวกชาวจีนที่ประกอบอาชีพค้าขายแต่ดั้งเดิม ต่อมาประกอบอาชีพทำสวนควบคู่ด้วย ซึ่งส้มเกลี้ยงเป็นผลไม้ประเภทหนึ่งที่นิยมปลูก โดยการนำเอาเมล็ด หรือกิ่งตอนมาจากจังหวัดนครสวรรค์โดยทางเรือ อำเภอเถินในอดีต การติดต่อคมนาคมค่อนข้างลำบากเพราะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบแคบๆ ติดต่อกับภายนอกค่อนข้างลำบากไม่เหมือนปัจจุบัน ผลไม้ต่างถิ่นที่นำมาบริโภคและใช้ในการทำบุญมีน้อย กอปรกับส้มเกลี้ยงเป็นไม้ผลที่ออกดอก ออกผล แต่ละครั้งบ่อยมาก เก็บรักษาไว้ได้นานและให้ผลผลิตช่วงเทศกาลเข้าพรรษา ทำบุญสลากภัต ในแต่ละหมู่บ้านหรือต่างตำบลในเขตอำเภอเดียวกันมีประเพณีทานสลากภัตไม่พร้อมกัน เมื่อหมู่บ้านใดมีงานบุญดังกล่าว ญาติพี่น้องหรือคนรู้จักคุ้นเคยกันจะช่วยเตรียมข้าวปลาอาหาร เครื่องไทยทานต่างๆ และผลไม้ที่นิยมนำไปร่วมทำบุญคือ ส้มเกลี้ยง เพื่อใส่ในก๋วยสลากที่จะต้องนำไปทำบุญที่วัด ด้วยเหตุผลที่ส้มเกลี้ยงมีขนาดพอดีไม่ใหญ่หรือไม่เล็กเกินไป ไม่ช้ำเสียง่าย จึงเป็นที่นิยมใช้ทำบุญในงานพิธีดังกล่าว จากสาเหตุนี้จึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ผู้คนอำเภอเถินในอดีตนิยมปลูกส้มเกลี้ยงกันเกือบแทบทุกบ้าน 4 พื้นที่ที่นิยมปลูกเป็นบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำวังอันอุดมสมบูรณ์ อำเภอเถินปรากฏแหล่งที่เคยปลูกและปัจจุบันยังคงปลูก โดยส่วนใหญ่จะเป็นเขตพื้นที่ตำบลที่มีแม่น้ำวังไหลผ่าน ได้แก่ ตำบลเถินบุรี ตำบลล้อมแรด ตำบลแม่ปะ และตำบลแม่ถอ.

กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและส้มเกลี้ยง · ส้มและส้มเกลี้ยง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและส้ม

กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติก มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ ส้ม มี 24 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 8.33% = 3 / (12 + 24)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและส้ม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »