สารบัญ
12 ความสัมพันธ์: พืชใบเลี้ยงคู่การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชมะเขือยาวสารกำจัดวัชพืชสารลดแรงตึงผิวส้มส้มเช้งส้มเกลี้ยงออกซินจิบเบอเรลลินแอลกอฮอล์โซเดียม
- กรดน้ำส้ม
- คลอโรเอรีน
- สารก่อมะเร็งกลุ่ม 2บี โดย IARC
พืชใบเลี้ยงคู่
ืชใบเลี้ยงคู่ ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Magnoliopsida หรือ Dicotyledons กลุ่มของพืชกลุ่มหนึ่งมีเมล็ดที่ประกอบด้วยใบเลี้ยงคู่ ซึ่งเป็นชั้นทางชีววิทยา ต่อจากส่วนทางชีววิทยา ของพืชดอก (Magnoliophyta) ชื่อวิทยาศาสตร์ของ พืชใบเลี้ยงคู่ ได้มีระบบการจัดชั้นแบบใหม่ขึ้นมา ในขณะที่ระบบเก่า ระบบ Cronquist ยังคงเป็นที่นิยมอยู่ ในระบบใหม่ ระบบ Angiosperm Phylogeny Group ได้มีการจัดชั้นดังแสดง.
ดู กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและพืชใบเลี้ยงคู่
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (plant tissue culture) เป็นกลุ่มของเทคนิคที่ใช้เพื่อรักษาหรือเพาะเลี้ยงเซลล์พืชภายใต้สภาวะปลอดเชื้อบนอาหารสังเคราะห์ที่ทราบองค์ประกอบที่แน่นอน เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเป็นที่นิยมใช้อย่างกว้างขวาง โดยอาศัยคุณสมบัติถโททิโพเทนซี totipotencyของเซลล์พืช คือเซลล์ใดเซลล์หนึ่งของพืชสามารถพัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อ อวัยวะและต้นที่สมบูรณ์ได้ โดยมีวัตถุประสงค์ต่างๆกัน.
ดู กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
มะเขือยาว
หมวดหมู่:สกุลมะเขือ หมวดหมู่:ผัก มะเขือยาว เป็นพืชข้ามปี สามารถเจริญ เติบโตในดิน ทุกสภาพ ดินมีความเป็น กรดเป็นด่าง อยู่ระหว่าง 5.5-6.5 ปลูกได้ ตลอดปี และทั่วทุกภาค ของไปประเทศไทย มะเขือยาว เป็นพืชที่เรา ใช้ส่วนผล ในการบริโภค ใช้เป็นผักสด หรือประกอบ อาหารได้หลายชนิด การเตรียมแปลงและเพาะกล้ามะเขือยาว ขุดดินลึก 15-20 เซนติเมตร (1 หน้าจอบ) ใส่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมักที่สลาย ตัวดีแล้วพรวนดิน และย่อยดินให้ละเอียด ยกเป็นแปลง ตามขนาดและตามความต้องการ ปรับหน้าดินให้เรียบหว่าน เมล็ดพันธุ์ให้กระจายให้ทั่วแปลง แล้วหว่านกลบด้วย ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก คลุดด้วยฟางข้าวกลบหน้าบางๆ รดน้ำให้ชุ่ม ดูแลรักษากล้านาน 25-30 วัน ต้นกล้ามีใบจริง 2-3 ใบ จึงย้ายลงแปลงปลูก การเตรียมแปลงปลูกและการย้ายปลูก มะเขือยาว เป็นพืชที่มีรากค่อนข้างลึก ในแปลงปลูกควรโรยปุ๋ยหมักที่สลายตัวดีแล้วคลุกเคล้าให้เข้ากับดิน ยกแปลงให้สูง 20-30 เซนติเมตร กว้างประมาณ 1.5 เมตร ความยาวแปลงแล้วแต่พื้นที่ ขุดหลุมปลูกลึก 15-20 เซนติเมตร (1 หน้าจอบ) ใช้ระยะ ระหว่างต้น 50 เซนติเมตร ระหว่างแถว 10 เซนติเมตร รองกันหลุมด้วยปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตราหลุมละ 1/2 ช้อนชา ทับหน้าปุ๋ยเคมีด้วยปุ๋ยคอก หลุมละ 1 กะลามะพร้าว เสร็จแล้วให้นำต้นกล้าลงปลูกในหลุม แล้วรดน้ำให้ชุ่ม การดูแลรักษามะเขือยาว การใส่ปุ๋ย ใส่ปุ๋ย 15-15-15 หรือ 13-13-21 อัตรา 1 ช้อนชา/ต้น ทุกๆ 15-20 วัน โรยห่างโคนต้น 5-10 เซนติเมตร (บริเวณชายทรงพุ่ม) หรือใช้ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมักอย่างสม่ำเสมอโดยใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์น้อยลงก็ได้ การให้น้ำ ควรทำอย่างสม่ำเสมอทุกวัน การพรวนดินกำจัดวัชพืช หลังจากปลูกแล้ว ถ้ามีวัชพืชให้รีบกำจัดอย่างปล่อยให้รบกวน เพราะจะทำให้แย่งน้ำอาหาร และควรพรวนดินไปด้วยเพื่อให้ดินร่วน การเก็บเกี่ยวมะเขือยาว อายุการเก็บเกี่ยวของมะเขือยาวประมาณ 60-80 หลังย้ายกล้าลงปลูกสามารถเก็บได้ ให้เลือกเก็บผลที่มีขนาดพอเหมาะ.
ดู กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและมะเขือยาว
สารกำจัดวัชพืช
กำจัดวัชพืช, สารกำจัดวัชพืช, หรือ ยาฆ่าหญ้า เป็นสารกำจัดศัตรูพืชที่ใช้ฆ่าพืชที่ไม่ต้องการ ยากำจัดวัชพืชใช้ในการจัดการพื้นที่รกร้างหรือควบคุมวัชพืชในการเกษตร ยากำจัดวัชพืชมีการใช้อย่างกว้างขวางทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ยาฆ่าหญ้ามีทั้งชนิดเลือกทำลายและไม่เลือกทำลาย ชนิดเลือกทำลายมีฤทธิฆ่าพืชเฉพาะชนิด เช่น 2,4-D ซึ่งมีฤทธิ์ฆ่าทำลายเฉพาะพืชใบกว้าง โดยอาศัยส่วนประกอบทางเคมีที่เป็นฮอร์โมนพืชสังเคราะห์ ซึ่งเมื่อถูกดูดซึมจะไปรบกวนเฉพาะกระบวนการเติบโตของพืชใบกว้าง ชนิดไม่เลือกทำลายมีฤทธิฆ่าพืชทุกชนิด เช่น ไกลโฟเสต และ พาราคว็อท.
ดู กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและสารกำจัดวัชพืช
สารลดแรงตึงผิว
มเซลล์ในน้ำ สารลดแรงตึงผิว (surfactant) เป็นสารประกอบที่ทำให้แรงตึงผิวของของเหลวลดลง ช่วยให้การกระจายตัวของของเหลวดีขึ้น และช่วยลดแรงตึงผิวระหว่างของเหลวสองชนิดหรือระหว่างของเหลวกับของแข็ง สารลดแรงตึงผิวสามารถใช้เป็น น้ำยาซักล้าง อีมัลชั่น โฟมมิ่งเอเจนต์ หรือ ดิสเพอส์แซนต์ สารชนิดนี้จะมีทั้งส่วนที่มีและไม่มีขั้ว เมื่ออยู่ในน้ำจึงมักจัดตัวเป็นไมเซลล.
ดู กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและสารลดแรงตึงผิว
ส้ม
'ส้ม' เป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กหลายชนิด เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ สกุล Citrus วงศ์ Rutaceae มีด้วยกันนับร้อยชนิด เติบโตกระจายอยู่ทั่วโลก โดยมากจะมีน้ำมันหอมระเหยในใบ ดอก และผล และมีกลิ่นฉุน หากนำใบขึ้นส่องกับแสงแดด จะเห็นจุดเล็กๆ เต็มไปหมด ซึ่งจุดเหล่านั้นก็คือแหล่งน้ำมันนั่นเอง ส้มหลายชนิดรับประทานได้ ผลมีรสเปรี้ยวหรือหวาน มักจะมีแคลเซียม โปแทสเซียม วิตามินเอ และ วิตามินซี มากเป็นพิเศษ ถ้าผลไม้จำพวกนี้มี มะ อยู่หน้า ต้องตัดคำ ส้ม ออก เช่น ส้มมะนาว ส้มมะกรูด เป็น อนุกรมวิธานของส้มนั้น มีความยุ่งยากและสับสนมาช้านาน และเป็นที่ถกเถียงในการจำแนกและตั้งชื่อชนิด (สปีชีส์) ของส้มอยู่เสมอ และการจำแนกกลุ่มยังขึ้นกับนักอนุกรมวิธานด้วย เช่น สวิงเกิล (Swingle) จำแนกได้ 16 ชนิด, ทานาคา (Tanaka) จำแนกได้ 162 ชนิด และฮอจสัน (Hodgson) จำแนก 36 ชนิด ขณะที่บางท่านเสนอว่าส้มทั้งหลายจัดเป็นพืชชนิดเดียวกัน ที่สามารถผสมพันธุ์ระหว่างกันได้ ขณะเดียวกัน การจำแนกอย่างละเอียดของทานาคา ก็สร้างความสำเร็จได้ เนื่องจากพบในภายหลังว่า บางชนิดเป็นเพียงการผสมข้ามสายพันธุ์เท่านั้น ด้วยเหตุนี้จึงไม่แปลกหากเราจะพบชื่อวิทยาศาสตร์ของส้มหลายชนิดที่แตกต่างกัน ดังนั้นเพื่อความแน่นอน จึงมักจะระบุถึงนักอนุกรมวิธานผู้จำแนกเอาไว้ด้วยพืชตระกูลส้ม ปัจจุบันนี้ มีการใช้เทคนิคในการระบุเอกลักษณ์ด้วยดีเอ็นเอ (DNA) และมีการเสนอว่าอาจจะมีชนิดพื้นฐานของส้มอย่างกว้างๆ 4 ชนิด ด้วยกัน คือ.
ดู กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและส้ม
ส้มเช้ง
้มเช้ง (Citrus sinensis) หรือส้มตรา หมากหวาน เป็นพืชพื้นเมืองของจีน เป็นส้มในกลุ่มส้มเกลี้ยง ทรงพุ่มขนาดเล็ก ดอกสีขาวครีม ผลกลม เว้าบริเวณขั้วเล็กน้อย ก้นผลเป็นวงคล้ายมีตราติด เปลือกหนา ขรุขระ มีต่อมน้ำมันทั่วผล เมื่ออ่อนเปลือกสีเขียวเข้ม พอสุกเป็นสีเขียวอ่อนอมเหลือง ก้านผลใหญ่ เนื้อในสีเหลือง ชาวจีนใช้เป็นผลไม้มงคลในเทศกาลสารทจีน,เทศกาลไหว้พระจันทร์ และ พิธีมงคลสมรสของชาวจีน วิธีกินสดหรือทำน้ำผลไม้.
ดู กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและส้มเช้ง
ส้มเกลี้ยง
้มเกลี้ยง เป็นไม้เมืองร้อนตระกูลส้มชนิดหนึ่ง มีชื่อสามัญว่า Sweet Orange มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Citrus senesis L. Osbeck เป็นผลไม้ที่ขึ้นได้ดีบริเวณพื้นที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเลไม่มากนัก ถิ่นกำเนิดเข้าใจว่าอยู่บริเวณทางตอนใต้ของประเทศจีนต่อมาได้แพร่กระจายไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา เม็กซิโก ทวีปยุโรปและหมู่เกาะอินเดียตะวันตก สำหรับในประเทศไทยเชื่อกันว่าเริ่มนำเข้ามาปลูกในสมัยกรุงศรีอยุธยาหรือสมัยกรุงธนบุรีเพราะประเทศไทยขณะนั้นมีการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศจีน โดยเฉพาะทางด้านการค้า ทำให้ คนจีนเข้ามาในประเทศไทยจำนวนมากและได้ตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยเมื่ออาศัยอยู่ในประเทศไทยในฐานะประชาชนไทยคนหนึ่งที่ไม่ได้ละเลยประเพณีความเชื่อในศาสนาที่ตนเอง นับถือ สืบทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษ โดยสิ่งของที่ใช้ประกอบในพิธีกรรมอย่างหนึ่ง คือ ส้ม ไม่ว่าจะเป็นเทศกาลตรุษจีนหรือสารทจีน เป็นต้น จึงได้มีการนำต้นพันธ์เข้ามาปลูกในประเทศไทย ซึ่งประเทศจีนทางตอนล่างโดยเฉพาะในเขต มณฑลกวางตุ้ง มีลักษณะภูมิอากาศใกล้เคียงกับประเทศไทย สามารถปลูกส้มได้ดีเช่นกัน การนำส้มเกลี้ยงมาปลูกในอำเภอเถินในระยะแรกเป็นพวกชาวจีนที่ประกอบอาชีพค้าขายแต่ดั้งเดิม ต่อมาประกอบอาชีพทำสวนควบคู่ด้วย ซึ่งส้มเกลี้ยงเป็นผลไม้ประเภทหนึ่งที่นิยมปลูก โดยการนำเอาเมล็ด หรือกิ่งตอนมาจากจังหวัดนครสวรรค์โดยทางเรือ อำเภอเถินในอดีต การติดต่อคมนาคมค่อนข้างลำบากเพราะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบแคบๆ ติดต่อกับภายนอกค่อนข้างลำบากไม่เหมือนปัจจุบัน ผลไม้ต่างถิ่นที่นำมาบริโภคและใช้ในการทำบุญมีน้อย กอปรกับส้มเกลี้ยงเป็นไม้ผลที่ออกดอก ออกผล แต่ละครั้งบ่อยมาก เก็บรักษาไว้ได้นานและให้ผลผลิตช่วงเทศกาลเข้าพรรษา ทำบุญสลากภัต ในแต่ละหมู่บ้านหรือต่างตำบลในเขตอำเภอเดียวกันมีประเพณีทานสลากภัตไม่พร้อมกัน เมื่อหมู่บ้านใดมีงานบุญดังกล่าว ญาติพี่น้องหรือคนรู้จักคุ้นเคยกันจะช่วยเตรียมข้าวปลาอาหาร เครื่องไทยทานต่างๆ และผลไม้ที่นิยมนำไปร่วมทำบุญคือ ส้มเกลี้ยง เพื่อใส่ในก๋วยสลากที่จะต้องนำไปทำบุญที่วัด ด้วยเหตุผลที่ส้มเกลี้ยงมีขนาดพอดีไม่ใหญ่หรือไม่เล็กเกินไป ไม่ช้ำเสียง่าย จึงเป็นที่นิยมใช้ทำบุญในงานพิธีดังกล่าว จากสาเหตุนี้จึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ผู้คนอำเภอเถินในอดีตนิยมปลูกส้มเกลี้ยงกันเกือบแทบทุกบ้าน 4 พื้นที่ที่นิยมปลูกเป็นบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำวังอันอุดมสมบูรณ์ อำเภอเถินปรากฏแหล่งที่เคยปลูกและปัจจุบันยังคงปลูก โดยส่วนใหญ่จะเป็นเขตพื้นที่ตำบลที่มีแม่น้ำวังไหลผ่าน ได้แก่ ตำบลเถินบุรี ตำบลล้อมแรด ตำบลแม่ปะ และตำบลแม่ถอ.
ดู กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและส้มเกลี้ยง
ออกซิน
ออกซิน (Auxin) เป็นกลุ่มของฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ทำให้มีการแบ่งเซลล์และยืดตัวของเซลล์ การขนส่งออกซินภายในพืชเป็นการขนส่งอย่างมีทิศทาง.
ดู กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและออกซิน
จิบเบอเรลลิน
อเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ ควบคุมการเจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออกดอก การแสดงเพศ การชักนำการสร้างเอนไซม์ รวมทั้งการชราของดอกและผล, from http://www.plant-hormones.info, the home since 2003 of a website developed by the now-closed Long Ashton Research Station จิบเบอเรลลินถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อ..
ดู กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและจิบเบอเรลลิน
แอลกอฮอล์
รงสร้างของแอลกอฮอล์ ในทางเคมี แอลกอฮอล์ (alcohol) คือสารประกอบอินทรีย์ ที่มีหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) ต่อกับอะตอมคาร์บอนของหมู่แอลคิลหรือหมู่ที่แทนแอลคิล สูตรทั่วไปของแอลกอฮอล์แบบอะลิฟาติกไฮโดรคาร์บอน (สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เป็นสายตรง) คือ CnH2n+1OH โดยทั่วไป แอลกอฮอล์ มักจะอ้างถึงเอทานอลเกือบจะเพียงอย่างเดียว หรือเรียกอีกอย่างว่า grain alcohol ซึ่งเป็นของเหลวที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และสามารถระเหยได้ ซึ่งเกิดจากการหมักน้ำตาล นอกจากนี้ยังสามารถใช้อ้างถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นที่มาของคำว่าโรคพิษสุรา (alcoholism) เอทานอลเป็นยาเสพติดที่มีฤทธิ์กดประสาท ที่ลดการตอบสนองของระบบประสาทส่วนกลาง แอลกอฮอล์ชนิดอื่น ๆ จะอธิบายด้วยคำวิเศษณ์เพิ่มเติม เช่น isopropyl alcohol (ไอโซโพรพิล แอลกอฮอล์) หรือด้วยคำอุปสรรคว่า -ol เช่น isopropanol (ไอโซโพรพานอล).
ดู กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและแอลกอฮอล์
โซเดียม
ซเดียม (Sodium) เป็นธาตุในตารางธาตุซึ่งมีสัญลักษณ์ Na (จากคำว่า Natrium ในภาษาละติน) และหมายเลขอะตอม 11 โซเดียมเป็นโลหะอ่อน มีลักษณะเป็นไข มีสีเงิน และอยู่ในกลุ่มโลหะแอลคาไล โซเดียมมีมากในสารประกอบทางธรรมชาติ (โดยเฉพาะแฮไลต์) โซเดียมทำปฏิกิริยาได้ว่องไวมาก ให้เปลวไฟสีเหลือง ออกซิไดส์ในอากาศและทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับน้ำมากจนเกิดเปลวไฟได้ จึงจำเป็นต้องเก็บอยู่ในน้ำมัน.
ดู กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกและโซเดียม
ดูเพิ่มเติม
กรดน้ำส้ม
- กรด 1-แนฟทาลีนแอซีติก
- กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติก
- กรด 3-เมทอกซี-4-ไฮดรอกซีฮิปปูริก
- กรดจัสโมนิก
- กรดน้ำส้ม
- กรดอินโดล-3-แอซีติก
- เซทิริซีน
- เซโฟดิกซิม
- เมอร์ซาลิล
- เลโวเซทิริซีน
- ไกลโฟเสต
- ไดโคลฟีแนค
คลอโรเอรีน
- กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติก
- คลอกซาซิลลิน
- คลอฟอคตอล
- คลอร์เตตราไซคลีน
- คลอไตรมาโซล
- คลอไฟเบรต
- คลีมาสทีน
- คีโตโคนาโซล
- ปิร์โรบิวตามีน
- ฟูโรซีไมด์
- รูปาตาดีน
- ลอราตาดีน
- ลอราเซแพม
- อะลูมิเนียม คลอไฟเบรต
- อินโดเมตทาซิน
- อีฟาวิเรนซ์
- อีโทไฟเบรต
- เคตามีน
- เคลนบิวเทรอล
- เดกซ์คลอเฟนิรามีน
- เดสลอร์อาตาดีน
- เดเมโคลไซคลีน
- เบซาไฟเบรต
- เมโคลไซคลีน
- แอมโลดิพีน
- โคลโมไซคลีน
- โลเพราไมด์
- ไดแคมบา
- ไดแอซิแพม
- ไดโคลฟีแนค
สารก่อมะเร็งกลุ่ม 2บี โดย IARC
- กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติก
- คลอริเนเตท พาราฟิน แวกซ์
- คาร์บอนเตตระคลอไรด์
- ซัลซิตาบีน
- ซิโดวูดีน
- ดิช็อกซิน
- ตะกั่ว
- นิกเกิล
- น้ำมันดีเซล
- น้ำมันเตา
- น้ำมันเบนซิน
- ฟีนอล์ฟทาลีน
- ยางมะตอย
- เขม่าดำ
- เฟนิโทอิน
- เอชไอวี
- เฮปตาคลอร์
- แนฟทาลีน
- แอนติโมนีไตรออกไซด์
- แอสปาร์แตม
- โคบอลต์
- โทลูอีนไดไอโซไซยาเนต
- ไครซีน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ 2,4-D2,4-Dichlorophenoxyacetic acid