โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กบฏพระยาทรงสุรเดช

ดัชนี กบฏพระยาทรงสุรเดช

ระยาทรงสุรเดช นายทหารใน "4 ทหารเสือ" ผู้มีบทบาทอย่างสูงในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ผู้ที่ถูกต้องข้อหาว่าเป็นตัวการในการกบฏครั้งนี้ กบฏพระยาทรงสุรเดช หรือ กบฏ 18 ศพ หรือ กบฏ..

54 ความสัมพันธ์: ฟุตบอลพ.ศ. 2477พ.ศ. 2481พ.ศ. 2482พ.ศ. 2531พระยาพหลพลพยุหเสนาพระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ)พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)พุทธศักราชกบฏกบฏบวรเดชการลอบสังหารการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475ภาพยนตร์ไทยมังกร พรหมโยธียุทธนา มุกดาสนิทรัฐประหารในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2476วินทร์ เลียววาริณศรัณยู วงษ์กระจ่างศักราช ฤกษ์ธำรงค์สมชาย อาสนจินดาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรสหัสชัย ชุมรุมสันติสุข พรหมศิริสินจัย เปล่งพานิชสงครามแปซิฟิกสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสปัน เสลาคุณหลวงชำนาญยุทธศิลป์ (เชย รมยะนันท์)อดุล อดุลเดชจรัสจรัล มโนเพ็ชรจังหวัดราชบุรีจังหวัดเชียงใหม่จินตหรา สุขพัฒน์ท้องสนามหลวงขจรศักดิ์ รัตนนิสสัยณเณร ตาละลักษณ์ควง อภัยวงศ์ตฤณ เศรษฐโชคฉัตรชัย เปล่งพานิชประชาธิปไตยบนเส้นขนานประเทศกัมพูชานพพล โกมารชุนแปลก พิบูลสงครามโชติ คุ้มพันธ์เกรียงไกร อุณหะนันทน์เรือนจำกลางบางขวางเลียง ไชยกาล16 ธันวาคม...23 กุมภาพันธ์29 มกราคม8 ธันวาคม9 พฤศจิกายน ขยายดัชนี (4 มากกว่า) »

ฟุตบอล

ฟุตบอล หรือ ซอกเกอร์ เป็นกีฬาประเภททีมที่เล่นระหว่างสองทีมโดยแต่ละทีมมีผู้เล่น11คน โดยใช้ลูกบอล เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายว่าเป็นกีฬาที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในโลก โดยจะเล่นในสนามหญ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือ สนามหญ้าเทียม โดยมีประตูอยู่กึ่งกลางที่ปลายสนามทั้งสองฝั่ง เป้าหมายคือทำคะแนนโดยพาลูกฟุตบอลให้เข้าไปยังประตูของฝ่ายตรงข้าม ในการเล่นทั่วไปผู้รักษาประตูจะเป็นผู้เล่นเพียงคนเดียวที่สามารถใช้มือหรือแขนกับลูกฟุตบอลได้ ส่วนผู้เล่นอื่นๆจะใช้เท้าในการเตะลูกฟุตบอลไปยังตำแหน่งที่ต้องการ บางครั้งอาจใช้ลำตัว หรือ ศีรษะ เพื่อสกัดลูกฟุตบอลที่ลอยอยู่กลางอากาศ โดยทีมที่พาลูกฟุตบอลเข้าประตูฝ่ายตรงข้ามได้มากกว่าจะเป็นผู้ชนะ ถ้าคะแนนเท่ากันให้ถือว่าเสมอ แต่ในบางเกมที่เสมอกันในช่วงเวลาปกติแล้วต้องการหาผู้ชนะจึงต้องมีการต่อเวลาพิเศษ และ/หรือยิงลูกโทษขึ้นอยู่กับกฎระเบียบของรายการแข่งขันนั้นๆ โดยกฎกติกาการเล่นสมัยใหม่จะถูกรวบรวมขึ้นในประเทศอังกฤษ โดย สมาคมฟุตบอลอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2406 ได้กำเนิดกติกาฟุตบอลขึ้นเพื่อเป็นแนวทางกติกาการเล่นในปัจจุบัน ฟุตบอลในระดับนานาชาติจะถูกวางระเบียบโดยฟีฟ่า ซึ่งรายการแข่งขันที่มีเกียรติสูงสุดในระดับนานาชาติคือการแข่งขันฟุตบอลโลกซึ่งจะจัดขึ้นทุกๆ 4 ปี.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและฟุตบอล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและพ.ศ. 2477 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพหลพลพยุหเสนา

ระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นราชทินนามบรรดาศักดิ์ทหาร อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและพระยาพหลพลพยุหเสนา · ดูเพิ่มเติม »

พระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ)

ันเอก พระยาฤทธิอัคเนย์ สมาชิกคณะราษฎรผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ พ.ศ. 2475 จัดเป็น 1 ใน "4 ทหารเสือ" คือ ทหารบกชั้นผู้ใหญ่ เป็นระดับผู้บังคับบัญชาและคุมกำลังพล ซึ่งประกอบด้วย พระยาพหลพลพยุหเสนา, พระยาทรงสุรเดช, พระยาฤทธิอัคเนย์ และพระประศาสน์พิทยายุทธ พระยาฤทธิอัคเนย์ มีชื่อเดิมว่า สละ เอมะศิริ เกิดเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2432 เป็นบุตรชายของพระยามนูสารศาสตรบัญชา (ศิริ เอมะศิริ) และคุณหญิง เหลือบ เอมะศิริ พระยาฤทธิอัคเนย์เป็นนายทหารปืนใหญ่ ในช่วงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มีตำแหน่งเป็น ผู้บังคับการกรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์ (ป. 1 รอ.) และถือเป็นผู้เดียวที่มีกองกำลังพลในบังคับบัญชา ในเช้าตรู่ของวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและพระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)

4 ทหารเสือ (จากซ้าย) พ.อ.พระยาทรงสุรเดช, พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา, พ.อ.พระยาฤทธิอัคเนย์ และ พ.ท.พระประศาสน์พิทยายุทธ พันเอก พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2435 - 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516) เป็น 1 ใน 4 ทหารเสือที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นผู้ที่วางแผนการยึดอำนาจทั้งหมด เป็นผู้ได้รับการสนับสนุนให้เป็นนายกรัฐมนตรี แต่ไม่ได้เป็น และถูกกล่าวหาว่าคิดก่อการกบฏล้มล้างรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในกบฏพระยาทรงสุรเดช ถูกเนรเทศไปอยู่ในกรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชาจนเสียชีวิตเมื่อ..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและพระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

ลเอก พระยาเทพหัสดิน (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2420 - 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) หัวหน้าคณะทูตทหารไทยที่เข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 นักโทษประหาร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พลเอกพระยาเทพหัสดินฯ ได้รับพระราชทานยศ บรรดาศักดิ์ และราชทินนามเต็มว่า พลเอก พระยาเทพหัสดิน สยามพิชิตินทร์สวามิภักดิ์ อุดมศักดิ์เสนีย์พิริยะพาหะ เป็นบุตรชายคนโตในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 8 คน ของพันเอก หลวงฤทธิ์นายเวร (พุด เทพหัสดิน ณ อยุธยา พี่ชายต่างมารดาของ เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)) ซึ่งเป็นมหาดเล็กข้าหลวงเดิมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์ เกิดเมื่อวันขึ้น 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันพุธที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2420 ณ บ้านสำเพ็ง หน้าวัดจักรวรรดิราชาวาส จังหวัดพระนคร พระยาเทพหัสดิน มีศักดิ์เป็นหลานอาของเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี แต่มีอายุไล่เลี่ยกัน.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและพระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

พุทธศักราช

ทธศักราช ย่อว.. เป็นศักราชที่เริ่มนับเมื่อพระโคตมพุทธเจ้าปรินิพพาน ในประเทศไทยเริ่มนับเมื่อปรินิพพานแล้ว 1 ปี แต่ในเช่น ในประเทศไทยเป็นปี..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและพุทธศักราช · ดูเพิ่มเติม »

กบฏ

กบฏ, ขบถ หรือ กระบถ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและกบฏ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏบวรเดช

กบฏบวรเดช เกิดขึ้นเมื่อ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 นับเป็นการกบฏครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 สาเหตุมาจากความขัดแย้งระหว่างระบอบเก่ากับระบอบใหม่ จากข้อโต้แย้งในเรื่องเค้าโครงเศรษฐกิจที่นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้เสนอ และถูกมองว่าเป็น "คอมมิวนิสต์" ชนวนสำคัญที่สุดคือข้อโต้แย้งในเรื่องพระเกียรติยศและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบใหม่ เป็นผลนำไปสู่การนำกำลังทหารก่อกบฏโดยพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อันเป็นที่มาของชื่อ "กบฏบวรเดช" โดยในที่สุดฝ่ายรัฐบาลสามารถปราบปรามคณะกบฏลงได้ ส่วนพระองค์เจ้าบวรเดชหัวหน้าคณะกบฏและพระชายาได้หนีไปยังประเทศกัมพูชา อนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่บริเวณหลักสี่ บางเขน กรุงเทพฯ ที่เรียกกันว่า "อนุสาวรีย์หลักสี่" นั้น ชื่อจริงคือ "อนุสาวรีย์ปราบกบฏ" หรือ "อนุสาวรีย์พิทักษ์ธรรมนูญ" ซึ่งรัฐบาลในสมัยนั้น ได้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ผู้ที่เสียชีวิตในเหตุการณ์ปราบกบฏบวร.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและกบฏบวรเดช · ดูเพิ่มเติม »

การลอบสังหาร

การลอบสังหาร (Assassination) การฆาตกรรมบุคคคลที่มีชื่อเสียงด้วยการวางแผนล่วงหน้า การลอบสังหารอาจจะเกิดขึ้นเนื่องด้วยเหตุผลทางอุดมคติ การเมือง หรือการทหารเป็นมูลเหตุชี้นำก็เป็นได้ และนอกจากนี้ ผู้ลอบสังหาร (Assassin) เองก็อาจจะได้รับแรงจูงใจจากค่าจ้าง ความแค้น ความมีชื่อเสียง หรือความพิการทางจิตด้ว.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและการลอบสังหาร · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

การปฏิวัติสยาม..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

มังกร พรหมโยธี

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก มังกร พรหมโยธี หรือ หลวงพรหมโยธี (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2439 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2509) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และอดีตรัฐมนตรี.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและมังกร พรหมโยธี · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนา มุกดาสนิท

ทธนา มุกดาสนิท (25 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 -) ศิลปินแห่งชาติประจำปี..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและยุทธนา มุกดาสนิท · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2476

หตุการณ์ 1 เมษายน..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและรัฐประหารในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

วินทร์ เลียววาริณ

วินทร์ เลียววาริณ (ชื่อเกิด สมชัย เลี้ยววาริณ) เกิดปี พ.ศ. 2499 ที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและวินทร์ เลียววาริณ · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559).

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ศักราช ฤกษ์ธำรงค์

อากาศเอก สำราญ จำรัส เป็นที่รู้จักในชื่อ ศักราช ฤกษ์ธำรงค์ (ชื่อเล่น: เจี๊ยบ; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506) เกิดที่จังหวัดแพร่ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันจากการเป็นนายแบบถ่ายโฆษณาในสินค้าหลายตัว เช่น เบียร์สิงห์, กางเกงยีนส์ฮาร่า, เบียร์ช้าง ก่อนจะเข้าสู่วงการการแสดง โดยมีผลงานเรื่องแรกคือภาพยนตร์เรื่อง พี่เลี้ยง ของไฟว์สตาร์ ที่มี สันติสุข พรหมศิริ และ จินตหรา สุขพัฒน์ แสดงนำ ก่อนจะมีผลงานตามมาอีกหลายเรื่องทั้งละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ เช่น ลอดลายมังกร ในปี พ.ศ. 2535, วันนี้ที่รอคอย ในปี พ.ศ. 2536 สารวัตรใหญ่ ในปี พ.ศ. 2537, เลือดเข้าตา ในปี พ.ศ. 2538, หัวใจศิลา ในปี พ.ศ. 2550, อยากหยุดตะวันไว้ที่ปลายฟ้า ในปี พ.ศ. 2553, พระจันทร์ลายพยัคฆ์ ในปี พ.ศ. 2553, รักไม่มีวันตาย ในปี พ.ศ. 2554 และเคยมีบทบาทเป็นนักแสดงนำครั้งหนึ่งในภาพยนตร์เรื่อง เชอรี่ แอน ในปี พ.ศ. 2544 โดยแสดงคู่กับ แอนนี่ บรู๊ค และ ชฎาพร รัตนากร โดยถือเป็นนักแสดงประจำในภาพยนตร์จากการกำกับของ หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล (หม่อมน้อย) ชีวิตส่วนตัว จบการศึกษาจากโรงเรียนจ่าอากาศ และเป็นนักกีฬาบาสเก็ตบอลของทีมทหารอากาศ โดยเล่นในประเภทถ้ว.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและศักราช ฤกษ์ธำรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย อาสนจินดา

มชาย อาสนจินดา หรือ.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและสมชาย อาสนจินดา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

ลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร พระนามเดิม พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2494) พระราชโอรสองค์ที่ 52 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ดำรงพระชนม์ชีพอยู่เป็นพระองค์สุดท้.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร · ดูเพิ่มเติม »

สหัสชัย ชุมรุม

หัสชัย ชุมรุม (ชื่อเล่น: ต๊อบ) เป็นนักแสดงชายชาวไทย เริ่มเข้าวงการบันเทิงด้วยการเป็นพระเอกในหนังของหม่อมน้อย (มล.พันธุ์ เทวนพ เทวกุล) ในเรื่องช่างมันฉันไม่แคร์ในปี..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและสหัสชัย ชุมรุม · ดูเพิ่มเติม »

สันติสุข พรหมศิริ

มื่อครั้งรับบท "จะเด็ด" ใน ''ผู้ชนะสิบทิศ'' ทางช่อง 3 สันติสุข พรหมศิริ (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2506) ชื่อเล่น หนุ่ม เป็นนักแสดง นักพากย์ และพิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและสันติสุข พรหมศิริ · ดูเพิ่มเติม »

สินจัย เปล่งพานิช

นจัย เปล่งพานิช (นก) นามสกุลเดิม หงษ์ไทย เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2508 เป็นนักแสดงที่มีผลงานการแสดงภาพยนตร์และละครมากมาย ทั้งยังเคยออกผลงานอัลบั้มเพลงชุด ทอฝัน (2533) กับค่ายจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและสินจัย เปล่งพานิช · ดูเพิ่มเติม »

สงครามแปซิฟิก

งครามแปซิฟิก (Pacific War) หรือ สงครามมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia War; 大東亜戦争, Dai Tō-A Sensō) เป็นเขตสงครามหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง สู้รบกันในมหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเป็นหลัก มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าสงครามแปซิฟิกเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 หรือ 8 ธันวาคม 1941 เมื่อญี่ปุ่นบุกครองประเทศไทยและโจมตีอาณานิคมของบริติช ได้แก่ มาลายา สิงคโปร์และฮ่องกง ตลอดจนฐานทัพสหรัฐในหมู่เกาะฮาวาย หมู่เกาะเวก เกาะกวมและฟิลิปปินส์ ทว่า สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีนมีมาต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 1937 โดยมีความเป็นปรปักษ์ย้อนหลังไปถึงวันที่ 19 กันยายน 1931 เมื่อประเทศญี่ปุ่นบุกครองแมนจูเรีย จักรวรรดิญี่ปุ่นเริ่มนโยบายชาตินิยมโดยใช้คำขวัญที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asiatics) วันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและสงครามแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สปัน เสลาคุณ

ปัน เสลาคุณ เป็นนางแบบ ชาวไท.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและสปัน เสลาคุณ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงชำนาญยุทธศิลป์ (เชย รมยะนันท์)

ณะราษฎรสายทหารบก ที่สนามหญ้าหน้าวังปารุสกวัน ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 (หลวงชำนาญยุทธศิลป์ คือ คนที่ 9 จากซ้าย แถวหลัง) พลตรี หลวงชำนาญยุทธศิลป์ อดีตนายทหารบกผู้เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเศรษฐการ และผู้ต้องหาในคดีกบฏพระยาทรงสุรเดช หลวงชำนาญยุทธศิลป์ มีชื่อจริงว่า เชย รมยะนันทน์ เกิดเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและหลวงชำนาญยุทธศิลป์ (เชย รมยะนันท์) · ดูเพิ่มเติม »

อดุล อดุลเดชจรัส

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส หรือ หลวงอดุลเดชจรัส (28 มิถุนายน พ.ศ. 2437 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2512) นามเดิม บัตร พึ่งพระคุณ อดีตองคมนตรี รองนายกรัฐมนตรี อธิบดีกรมตำรวจ ผู้บัญชาการทหารบก มีสมญานามว่า "นายพลตาดุ" เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โดยขณะนั้นหลวงอดุลเดชจรัส มียศเป็น ร้อยโท (ร.ท.) ประจำกรมทหารปืนใหญ่ นครราชสีมา และได้หนีราชการมาพระนครด้วยรถไฟเพื่อร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จนถูกหมายจับจากทางต้นสังกัด ซึ่งตัวของหลวงอดุลเดชจรัสก็ได้อาศัยบ้านของพรรคพวกหลบซ่อนสลับกันไป โดยเฉพาะบ้านของหลวงพิบูลสงคราม ซึ่งเป็นเพื่อนสนิท หรือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในเวลาต่อมา เป็นรองนายกรัฐมนตรีและผู้สั่งราชการแทนนายกรัฐมนตรี จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นรองหัวหน้าขบวนการเสรีไทยในประเทศไทย ในช่วงปลายสงคราม หลังจากมีการผลัดเปลี่ยนรัฐบาล ซึ่งมีส่วนอย่างมากที่ทำให้การดำเนินงานเสรีไทยเป็นไปโดยราบรื่น ทั้งที่เป็นอธิบดีกรมตำรวจภายใต้รัฐบาลที่เป็นพันธมิตรกับกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในอภิรัฐมนตรีทำหน้าที่ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และองคมนตรี หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองแล้ว หลวงอดุลเดชจรัส ยังได้ร่วมกับนักการเมืองกลุ่มหนึ่ง ก่อตั้งพรรคสหชีพขึ้น โดยมีแนวทางสนับสนุนนายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และหัวหน้าขบวนการเสรีไทย โดยหลวงอดุลเดชจรัส เป็นหัวหน้าพรรค และ นายเดือน บุนนาค เป็นเลขาธิการพรร.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและอดุล อดุลเดชจรัส · ดูเพิ่มเติม »

จรัล มโนเพ็ชร

รัล มโนเพ็ชร (1 มกราคม พ.ศ. 2494 — 3 กันยายน พ.ศ. 2544) เป็นศิลปินชาวไทย ผู้เป็นทั้งนักร้อง นักดนตรี นักแต่งเพลง และนักแสดง ที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นศิลปินผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุคสมัย งานดนตรีของจรัลมีเอกลักษณ์จากการสร้างสรรค์ภาษาถิ่นเหนือ คำเมือง ของเขาซึ่งเรียกว่า “โฟล์คซองคำเมือง” ที่ก่อเกิดขึ้นนับแต่ปี..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและจรัล มโนเพ็ชร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดราชบุรี

ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศในปัจจุบัน โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมในภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและจังหวัดราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

จินตหรา สุขพัฒน์

นตหรา สุขพัฒน์ หรือ แหม่ม มีชื่อเดิมว่า จิตติมาฆ์ สุขพัฒน์ และชื่อจริงว่า จิตติ์ธนิษา สุขขะพัฒน์ เป็นนางเอกและนักแสดงชาวไทยที่ได้รับความนิยมสูงสุดระหว่าง..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและจินตหรา สุขพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ท้องสนามหลวง

ท้องสนามหลวง ท้องสนามหลวง หรือ สนามหลวง เป็นสนามขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ด้านหน้าวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 74 ไร่ 63 ตารางวา ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 94 ตอนที่ 126 ลงวันที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและท้องสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย

รศักดิ์ รัตนนิสสัย มีชื่อเสียงจากการแสดงนำในภาพยนตร์เรื่อง "รักแรกอุ้ม" ในปี พ.ศ. 2531 และ "พริกขี้หนูกับหมูแฮม" ในปี พ.ศ. 2532 จากนั้นในปี พ.ศ. 2534 ได้แสดงในบท ตวง ในภาพยนตร์ฟิล์มนัวร์เรื่องแรกของวงการภาพยนตร์ไทย คือ กะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อน ประกบคู่กับ สุรศักดิ์ วงษ์ไทย และ อังคณา ทิมดี จากนั้นในปี พ.ศ. 2536 ด้วยท่าทีที่ยียวน ชอบหลิ่วตาและทำปากเบ้เหมือนโรเบิร์ต มิตชั่ม ดาราฮอลลีวู้ด ขจรศักดิ์จึงได้ออกอัลบั้มเพลงในสังกัดแกรมมี่ในมาดกวน ๆ ในชื่อชุด "สงวนลิขสิทธิ์" มีเพลงที่ฮิตและได้รับความนิยมมาจนปัจจุบัน คือ "อย่าคิดมาก", "ใครไม่เกี่ยวก็ถอยไป", "พ่อ" เป็นต้น หลังจากนั้น บทบาทในวงการบันเทิงของขจรศักดิ์ก็ได้ห่างหายไป จนปัจจุบัน ได้รับบทเป็นตัวประกอบในภาพยนตร์บางเรื่องบ้าง เช่น เสือ โจรพันธุ์เสือ ในปี พ.ศ. 2541, 102 ปิดกรุงเทพปล้น ในปี พ.ศ. 2547, รักสยามเท่าฟ้า ในปี พ.ศ. 2551 เป็นต้น.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย · ดูเพิ่มเติม »

ณเณร ตาละลักษณ์

ร้อยโท ณเณร ตาละลักษมณ์ เป็นบุตรชายของพระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษมณ์) อดีตนายทหาร, นักการเมือง และนักหนังสือพิมพ์ชาวไทย ผู้ถูกตัดสินประหารชีวิตในปี พ.ศ. 2482 ร.ท. ณเณร เป็นนายทหารกองหนุน ที่ลาออกราชการเพื่อเป็นผู้ลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่หนึ่ง ในเขต 2 จังหวัดพระนคร จากการเลือกตั้งเมื่อ ปี พ.ศ. 2476 ไม่ได้รับการเลือกตั้ง แต่ได้คะแนนเสียงมาเป็นลำดับที่สี่ จากทั้งหมดสามอันดับ และการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2481 ได้รับคะแนนเสียงมาเป็นลำดับแรก อีกทั้งยังเป็นบรรณาธิการและเจ้าของหนังสือพิมพ์ "ชุมชน" ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ที่ลงบทความวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลในขณะนั้นในเรื่อง พิจารณาพระราชบัญญัติงบประมาณ ที่มี พระยาพหลพลหยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรีอย่างรุนแรง ซึ่งต่อมาพระยาพหลฯได้ตัดสินใจยุบสภาฯ และลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พร้อมกับยุติทุกบทบาททางการเมือง ร.ท. ณเณร ถูกจับในข้อหากบฏร่วมกับผู้ต้องหาอีกหลายคนในกรณีกบฏพระยาทรงสุรเดช เมื่อ พันเอก หลวงพิบูลสงคราม ขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีสืบต่อ ด้วยข้อหาว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจได้รื้อค้นบ้านพักแล้วพบขวดหมึกสีแดง 3 ขวด สันนิษฐานว่าเป็นยาพิษที่ใช้ลอบวางยาสังหาร.อ.หลวงพิบูลฯ ซึ่งผู้ต้องหาหลายคนถูกพยานอ้างว่า ได้วางแผนกันเพื่อลอบสังหารตัว.อ.หลวงพิบูลฯ และบุคคลชั้นสูง ทั้ง ๆ ที่ในบรรดาผู้ต้องหานั้นหลายคนไม่ได้รู้จักหรือเคยพบปะกันมาก่อนเลย ซึ่งตัวของ ร.ท. ณเณรได้ถูกศาลพิเศษที่ถูกจัดตั้งขึ้นพิพากษาให้ประหารชีวิตในวันที่ 20 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและณเณร ตาละลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและควง อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ตฤณ เศรษฐโชค

ตฤณ เศรษฐโชค มีชื่อจริงว่า โชคชัย ตันประเสริฐ เป็นนักแสดงชาวไทย เป็นลูกชายคนเดียวของครอบครัว เข้าเรียนระดับชั้นอนุบาลที่โรงเรียนบ้านเด็ก จากนั้นศึกษาที่โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย เข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาที่ที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ก่อนจะเปลี่ยนมาเรียนมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เข้าสู่วงการจากการถ่ายแบบในนิตยสาร เรา โดยเริ่มต้นอาชีพนายแบบตั้งแต่ชั้น ม. 5 จากนั้นก้าวสู่วงการแสดง จากภาพยนตร์เรื่อง เธอกับเขาและรักของเรา ที่ได้ร่วมแสดงกับอรพรรณ พานทอง และ อรุณ ภาวิไล หลังจากนั้นได้เล่นหนังฟอร์มใหญ่ของฉลอง ภักดีวิจิตรเรื่อง เพชรเสี้ยนทอง ซึ่งแสดงนำร่วมกับ พิม วัฒนพานิช, ฉัตรชัย เปล่งพานิช, อลิศ คริสตันและ สุรศักดิ์ วงศ์ไทย หลังจากนั้นได้เซ็นสัญญาเป็นนักแสดงกับทางช่อง 3 มีผลงานละครอย่างเช่น วัยอลวน และมีผลงานตามมาอย่าง แก้วตาพี่, นกน้อยในไร่ส้ม, แรงหึง, รอยมาร และ สี่แผ่นดิน และผลงานภาพยนตร์ตามมาอีก เขาโด่งดังจากการเป็นพระเอกในภาพยนตร์โฆษณา มัมโรลออน มีนางแบบคือ จิ๋ม สุขุมาภรณ์ สุทธิศรีศิลป์ ปัจจุบันตฤณ เศรษฐโชคยังคงทำงานในวงการบันเทิงไทย มีผลงานทั้งภาพยนตร์และละคร เช่นภาพยนตร์เรื่อง คนเล่นของ และละครโทรทัศน์เช่น ไฟโชนแสง, แจ๋วใจร้ายกับคุณชายเทวดา รวมทั้งเป็นผู้จัดละครในฐานะค่ายนวประทานพร โดยเริ่มจากละครเรื่องแรก คือ ยมบาลเจ้าขา ทางช่อง 7.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและตฤณ เศรษฐโชค · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย เปล่งพานิช

ฉัตรชัย เปล่งพานิช นักแสดงชาวไทย มีชื่อเล่นว่า นก เกิดวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2503 ที่จังหวัดกาญจนบุรี เป็นบุตรชายของ พล.ต.อ.ถวิล เปล่งพานิช ชีวิตวัยเด็กต้องย้ายที่อยู่ตามอาชีพราชการของบิดา เข้าเรียนหนังสือในชั้นอนุบาลที่โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี ชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนสตรีวรนารถ แล้วไปต่อที่โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ฯ จนจบมัธยมศึกษาตอนปลายและระดับปริญญาตรี ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและฉัตรชัย เปล่งพานิช · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน

right หน้าปกนวนิยาย "ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน" ฉบับจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ดอกหญ้า ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน เป็นหนังสือของ วินทร์ เลียววาริณ วางจำหน่ายใน พ.ศ. 2537 และได้รางวัลซีไรต์ใน พ.ศ. 2540 ฉบับภาษาอังกฤษให้ชื่อว่า (Democracy, Shaken & Stirred) วางจำหน่าย พ.ศ. 2546 เป็นนิยายเชิงการเมืองไทย โดยดำเนินเรื่องตามการปฏิวัติในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2475 จนถึงเหตุการณ์พฤษภาทมิฬใน พ.ศ. 2535 ตัวละครหลักในเรื่องเป็นตัวละครสมมติ แต่มีการใช้บุคคลในประวัติศาสตร์มากมาย วินทร์ได้ใช้ลักษณะการเขียนแบบเดียวกันนี้ในนิยายอีกเรื่องของเขา คือ ปีกแดง (พ.ศ. 2545) เพียงแต่เป็นเรื่องของลัทธิคอมมิวนิสต์ทั้งในประเทศไทยและต่างประเท.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและประชาธิปไตยบนเส้นขนาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

นพพล โกมารชุน

นพพล โกมารชุน (ชื่อเล่น: ตู่) เป็นบุตรชายของนักแสดงอาวุโส เสนอ โกมารชุน (พี่ชายของ เสน่ห์ โกมารชุน) และ จุรี โอศิริ มีพี่ชายหนึ่งคนคือ นายจามร โกมารชุน (ถึงแก่กรรม) แสดงภาพยนตร์โดยเป็นตัวเอกในหลายเรื่อง แต่ที่สร้างชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่กล่าวถึงอย่างแท้จริงด้วยกันสามบทบาท คือ การรับบท อินทร ชายหนุ่มผู้เย็นชาทนงตัวแต่แฝงด้วยความอบอุ่นอ่อนโยนและแอบรัก ละเวง มัณฑนากรสาวนางเอกของเรื่อง ในละคร เก้าอี้ขาวในห้องแดง ทางช่อง 3 (พ.ศ. 2527) ประกบคู่กับ มยุรา เศวตศิลา ซูหลิน หนุ่มจีนแผ่นดินใหญ่ผู้แสนดีและมีอุดมการณ์ ในละคร กนกลายโบตั๋น ทางช่อง 7 (พ.ศ. 2533) คู่กับ ปรียานุช ปานประดับ และเกิดเป็นความรักจนกลายเป็นคู่ชีวิตกันในเวลาต่อมา หลังจากนั้นก็สร้างความประทับใจให้ผู้ชมอีกครั้งกับบท อาเหลียง ในละครโทรทัศน์เรื่อง ลอดลายมังกร ในปี พ.ศ. 2535 ทางช่อง 7 ประกบคู่กับปรียานุช ปานประดับ และ อภิรดี ภวภูตานนท์ ประสบความสำเร็จอย่างงดงาม ต่อมา นพพลจึงเปลี่ยนบทบาทไปรับบทรองในภาพยนตร์และละครโทรทัศน์อีกหลายเรื่อง เช่น มือปืน 2 สาละวิน ในปี พ.ศ. 2536 เป็นต้น และในยุคอดีตนั้น ช่วงปลายปี พ.ศ. 2532 ถึงปลายปี พ.ศ. 2536 นพพลเคยเป็นพิธีกรรายการ จุดเดือด ของ เจเอสแอล คู่กับ กาญจนาพร ปลอดภัย และ จรียา ทิพยะวัฒน์ และเคยเป็นพิธีกรรายการ เจาะโลกมหัศจรรย์ ด้วย ช่วงเวลาดังกล่าว นอกจากนี้แล้ว นพพล ยังผันตัวเองไปทำงานเบื้องหลัง โดยเฉพาะในฐานะผู้กำกับละคร ป้อนงานผลิตให้ช่อง 3 กับบริษัท ยูม่า จำกัด เช่น กตัญญูประกาศิต (พ.ศ. 2533), น้ำตาหยดสุดท้าย (พ.ศ. 2536), โสมส่องแสง (พ.ศ. 2537) เป็นต้น โดยมีนักแสดงคู่ใจอย่าง ฉัตรชัย เปล่งพานิช รับบทเป็นพระเอกให้แทบทั้งหมด ชีวิตส่วนตัว นพพล สมรสกับ ปรียานุช ปานประดับ ภรรยานักแสดงที่พบรักกันจากการร่วมแสดงในเรื่องกนกลายโบตั๋น แต่ทั้งคู่ไม่มีบุตรด้วยกัน เนื่องจากปรียานุชร่างกายไม่แข็งแรง ปัจจุบัน ได้ผันตัวเองเป็นผู้กำกับละครและผู้จัดละคร โดยเปิดกิจการของตนเอง ชื่อ บริษัท เป่าจินจง เมื่อปี 2541.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและนพพล โกมารชุน · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โชติ คุ้มพันธ์

ร.โชติ คุ้มพันธ์ ดร.โชติ คุ้มพันธ์ เป็นชาวจังหวัดปทุมธานี เรียนจบระดับชั้นมัธยมศึกษา เข้าสมัครเป็นเสมียนกรมศุลกากร ต่อมาเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้อาสาสมัครเข้าเป็นพลทหาร ตำแหน่งพลขับ เมื่อกลับมาแล้วรับจ้างเป็นกะลาสีในเรือ แล้วจึงไปเรียนต่อที่ประเทศเยอรมนี สถานที่เคยอาสาไปรบ จนกระทั่งเรียนจนได้ปริญญาเอกทางเศรษฐศาสตร์ เมื่อกลับมาแล้วเข้าทำงานธนาคาร โดยเป็นผู้หนึ่งที่ริเริ่มตั้งธนาคารแห่งประเทศไทยขึ้น ในทางการเมือง ดร.โชติ คุ้มพันธ์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฏรประเภทที่ 1 ตามรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2475 อันเป็นรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกของไทย และเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปไตย โดยมีสมาชิกคนสำคัญเช่น นายสอ เสถบุตร, ร้อยโทจงกล ไกรฤกษ์ เป็นต้น เคยถูกจับกุมในข้อหากบฏคิดล้มล้างรัฐบาลในกรณีกบฏพระยาทรงสุรเดช ได้ถูกพิพากษาให้จำคุกตลอดชีวิต หลังจากนั้นไม่กี่ปีก็ถูกเนรเทศไปจำที่ทัณฑนิคมเกาะเต่า สุราษฎร์ธานี พร้อมกับหม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน นักโทษการเมืองคดีเดียวกันอีกคนที่หนึ่งด้วย เมื่อพ้นโทษออกมา ได้กลับมาสู่เส้นทางทางการเมืองใหม่ ได้รับฉายาว่า "ผู้แทนคนยาก" เนื่องจากเป็นผู้ที่ริเริ่มการหาเสียงด้วยโทรโข่ง ไปพบปะกับชาวบ้านด้วยการเดินหาเสียงตามบ้านเรือน ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2489 เนื่องจากไม่มีทุนรอนในการหาเสียง จึงใช้วิธีตะโกนพูดผ่านโทรโข่งบนอานรถสามล้อถีบ พูดท่ามกลางชุมชนตามตลาดบ้าง ตามลานวัดเก่า ๆ บ้าง มีคนถีบสามล้อเป็นขบวนนำ หยุดพูดที่ไหนก็ให้ ดร.โชติ ยืนสองเท้าเหยียบบนอานรถสองคันตะโกนใส่ลำโพง โดยหาเสียงไปพร้อมกับ นายควง อภัยวงศ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ซึ่งต่างก็ใช้วิธีด้วยเช่นกัน ต่อมา เมื่อมีการก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ขึ้น ดร.โชติ คุ้มพันธ์ ได้เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งพรรคด้วย โดยยุบพรรคประชาธิปไตยของตนเข้าร่วมกับพรรคประชาธิปัตย์ ก่อนจะเกิดเหตุการณ์รัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 พรรคประชาธิปัตย์ ได้จัดให้มีงานการกุศลที่สวนอัมพร ดร.โชติ ได้เป็นผู้ถีบรถสามล้อ โดยมี พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีเป็นผู้นั่ง เพื่อเก็บเงินเพื่อการกุศลด้วย หลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 ที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน นายควง อภัยวงศ์ สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์หลายคนได้ลาออกจากพรรคไป ดร.โชติ เป็นหนึ่งในสมาชิกพรรคที่ลาออกไปด้วย และถึงแก่กรรมลงอย่างเงียบ ๆ ในปี 2514.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและโชติ คุ้มพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงไกร อุณหะนันทน์

กรียงไกร อุณหะนันทน์ เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากบทบาท "ท่านชายพจน์" ในภาพยนตร์เรื่อง ปริศนา เมื่อปี พ.ศ. 2525.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและเกรียงไกร อุณหะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เรือนจำกลางบางขวาง

รือนจำกลางบางขวาง หรือ เรือนจำมหันตโทษ เป็นเรือนจำที่ใช้คุมขังนักโทษคดีอุกฉกรรจ์ อยู่ในความดูแลของกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม ที่มีอัตราโทษจำคุกตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป จนถึงโทษประหารชีวิต ตั้งอยู่เลขที่ 117 หมู่ 3 ถนนนนทบุรี 1 ตำบลสวนใหญ่ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี อยู่ติดกับวัดบางแพรกใต้.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและเรือนจำกลางบางขวาง · ดูเพิ่มเติม »

เลียง ไชยกาล

นาย เลียง ไชยกาล นักการเมืองไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยและอดีตหัวหน้าพรรคประชาชน เป็นผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 ของจังหวัดอุบลราชธานี นายเลียง เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและเลียง ไชยกาล · ดูเพิ่มเติม »

16 ธันวาคม

วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและ16 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 กุมภาพันธ์

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและ23 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

29 มกราคม

วันที่ 29 มกราคม เป็นวันที่ 29 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 336 วันในปีนั้น (337 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและ29 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

8 ธันวาคม

วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและ8 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กบฏพระยาทรงสุรเดชและ9 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Songsuradet Rebellionกบฏ 18 ศพกบฏ พ.ศ. 2481

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »