เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520

กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520 vs. รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520

กบฏ 26 มีนาคม.. รัฐประหาร 20 ตุลาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520

กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520 มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): รัฐประหารรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดินสงัด ชลออยู่ธานินทร์ กรัยวิเชียรเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เหตุการณ์ 6 ตุลา

รัฐประหาร

รัฐประหาร (coup d'état กูเดตา) เป็นการใช้กำลังยึดอำนาจและเปลี่ยนแปลงรัฐบาลอย่างฉับพลันและไม่ชอบด้วยกฎหมาย ปกติเกิดจากสถาบันของรัฐที่มีอยู่เดิมขนาดเล็กเพื่อโค่นรัฐบาลซึ่งเป็นที่ยอมรับแล้วเปลี่ยนเป็นองค์การปกครองใหม่ ไม่ว่าเป็นพลเรือนหรือทหาร รัฐประหารพิจารณาว่าสำเร็จแล้วเมื่อผู้ยึดอำนาจสถาปนาภาวะครอบงำ รัฐประหารไม่จำเป็นต้องเกิดความรุนแรงหรือเสียเลือดเนื้อ ศาลฎีกาตีความว่า รัฐประหารมิได้ขัดต่อกฎหมาย เพราะ "กฎหมายคือคำสั่งคำบัญชาของรัฏฐาธิปัตย์".

กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520และรัฐประหาร · รัฐประหารและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519

รัฐประหาร 6 ตุลาคม..

กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519 · รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520

รัฐประหาร 20 ตุลาคม..

กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520 · รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน

ลอากาศเอก กมล เดชะตุงคะ ประธานสภาคนที่ 1 พลอากาศเอก หะริน หงสกุล ประธานสภาคนที่ 2 สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน เป็นสภาที่พัฒนามาจาก คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ซึ่งทำการยึดอำนาจเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 โดยมีพลอากาศเอก กมล เดชะตุงคะ เป็นประธานสภาคนที่ 1 และ พลอากาศเอก หะริน หงสกุล เป็นประธานสภาคนที่ 2 โดยสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดินมีสมาชิกทั้งสิ้น 340 คนทำหน้าที่เป็นรัฐสภาและฝ่ายนิติบัญญัติ และให้การสนับสนุน รัฐบาล นาย ธานินทร์ กรัยวิเชียร หลังจากบริหารประเทศมาได้ 1 ปี 12 วัน สภาปฏิรูปก็ทำการยึดอำนาจจากรัฐบาลนายธานินทร์ ในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 จึงได้สลายตัวไป.

กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520และสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน · รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520และสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

สงัด ชลออยู่

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สงัด ชลออยู่ (4 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523) เกิดที่บ้านเขาพระ หมู่ที่ 2 ตำบลเขาพระ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรนายแปลก และนางส้มลิ้ม ชลออยู่ สมรสกับคุณหญิงสุคนธ์ ชลออยู่ (สหัสสานนท์) ในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน-30 มิถุนายน พ.ศ. 2494 พล.ร.อ.สงัดในขณะนั้นยังมียศ นาวาโท (น.ท.) เป็นผู้บังคับบัญชาเรือรบหลวงสุราษฎร์ธานี เป็นผู้ยิงปืนจากเรือไปยังรถถังของฝ่ายรัฐบาลจนเสียหาย หลังเหตุการณ์ได้ถูกควบคุมตัวและถูกคุมขังเช่นเดียวกับผู้ต้องหาคนอื่น ๆ ที่สนามกีฬาแห่งชาติด้วย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ เป็นนายทหารที่มีบทบาทอย่างสูงในทางการเมือง โดยเฉพาะหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ด้วยการเป็นทั้งผู้บัญชาการทหารเรือและผู้บัญชาการทหารสูงสุด และเป็นผู้นำในการรัฐประหารถึง 2 ครั้ง คือในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 และ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 จนได้รับฉายาว่า "บิ๊กจอวส์" หรือ "จอวส์ใหญ่" ถึงแก่อนิจกรรมด้วยอาการหัวใจวาย เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน..

กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520และสงัด ชลออยู่ · รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520และสงัด ชลออยู่ · ดูเพิ่มเติม »

ธานินทร์ กรัยวิเชียร

ตราจารย์ (พิเศษ) ธานินทร์ กรัยวิเชียร (5 เมษายน พ.ศ. 2470 —) อดีตองคมนตรี อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานองคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 14 ของไท.

กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520และธานินทร์ กรัยวิเชียร · ธานินทร์ กรัยวิเชียรและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้บัญชาการทหารสูง.

กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520และเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ · รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520และเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 6 ตุลา

หตุการณ์ 6 ตุลา เป็นเหตุการณ์จลาจลและปราบปรามนักศึกษาและผู้ประท้วงในและบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสนามหลวง ขณะที่นักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยกำลังชุมนุมประท้วงการเดินทางกลับประเทศของจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่สนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถิติอย่างเป็นทางการระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 46 คน ซึ่งมีทั้งถูกยิงด้วยอาวุธปืน ถูกทุบตี หรือถูกทำให้พิการHandley, Paul M. The King Never Smiles: A Biography of Thailand's Bhumibol Adulyadej.

กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520และเหตุการณ์ 6 ตุลา · รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520และเหตุการณ์ 6 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520

กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520 มี 42 ความสัมพันธ์ขณะที่ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520 มี 31 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 10.96% = 8 / (42 + 31)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: