โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กติกาสัญญาวอร์ซอและว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กติกาสัญญาวอร์ซอและว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน

กติกาสัญญาวอร์ซอ vs. ว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน

กติกาสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact) หรือชื่อทางการว่า สนธิสัญญาแห่งไมตรี ความร่วมมือ และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (Treaty of Friendship, Co-operation, and Mutual Assistance; Договор о дружбе, сотрудничестве и взаимной помощи) บางครั้งเรียกขานอย่างไม่เป็นทางการว่า วอร์แพ็ก (WarPac) เป็นกติกาสัญญาด้านความมั่นคงร่วมกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับรัฐบริวารของตนอีกเจ็ดแห่งในยุโรปตอนกลางและตะวันออกระหว่างช่วงสงครามเย็น กติกาสัญญาวอร์ซอเป็นส่วนเพิ่มด้านการทหารของคณะกรรมาธิการเพื่อการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจระหว่างกันหรือ โคเมคอน (Council for Mutual Economic Assistance; CoMEcon) ซึ่งเป็นองค์การทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคสำหรับรัฐคอมมิวนิสต์ในยุโรปตอนกลางและตะวันออก ทั้งนี้กติกาสัญญาวอร์ซอก่อตั้งขึ้นเพื่อตอบโต้การที่เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมกับองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (เนโท)"In reaction to West Germany’s NATO accession, the Soviet Union and its Eastern European client states formed the Warsaw Pact in 1955." Citation from: ในปี.. "ว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน" (On the Cult of Personality and Its Consequences; О культе личности и его последствиях) เป็นรายงานโดย นิกิตา ครุสชอฟ ที่จัดทำต่อการประชุมครั้งที่ 20 ของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2499 สุนทรพจน์ของครุสชอฟวิจารณ์การปกครองของโจเซฟ สตาลิน เลขาธิการและนายกรัฐมนตรีผู้ล่วงลับอย่างแหลมคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกวาดล้างพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตซึ่งส่วนใหญ่เกิดขึ้นในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 ครุสชอฟกล่าวหาสตาลินว่าสนับสนุนการเติบโตของลัทธิบูชาบุคคลของผู้นำแม้ภายนอกแสดงว่ายังสนับสนุนอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ สุนทรพจน์นี้เป็นหลักสำคัญใน "การผ่อนคลายความตึงเครียดครุสชอฟ" (Khrushchev Thaw) โดยผิวเผิน สุนทรพจน์ดังกล่าวเป็นความพยายามดึงพรรคคอมมิวนิสต์โซเวียตให้เข้าใกล้ลัทธิเลนินมากขึ้น ทว่า แรงจูงใจลับของครุสชอฟ คือ สร้างความชอบธรรมและช่วยรวบการควบคุมพรรคคอมมิวนิสต์และรัฐบาลของเขา อำนาจซึ่งได้มาในการแย่งชิงทางการเมืองกับผู้ภักดีต่อสตาลิน วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ และเกออร์กี มาเลนคอฟ รายงานของครุสชอฟถูกเรียกว่า "สุนทรพจน์ลับ" เพราะมีการกล่าวในสมัยประชุมปิดของผู้แทนพรรคอมมิวนิสต์ที่ไม่มีการเผยแพร่ต่อสาธารณะ โดยห้ามแขกและสื่อมวลชน ข้อความของรายงานครุสชอฟมีการอภิปรายกว้างขวางในวงพรรคแล้วในต้นเดือนมีนาคม ซึ่งมักมีผู้ที่มิใช่สมาชิกพรรคร่วมด้วย ทว่า ข้อความภาษารัสเซียอย่างเป็นทางการนั้นมีการจัดพิมพ์อย่างเปิดเผยก็ในปี 2532 ระหว่างการรณรงค์กลัสนอสต์ของมีฮาอิล กอร์บาชอฟ ผู้นำโซเวียต ในเดือนเมษายน 2550 หนังสือพิมพ์ เดอะการ์เดียน ของบริเตน รวมสุนทรพจน์นี้อยู่ในชุด "สุนทรพจน์ยิ่งใหญ่แห่งคริสต์ศตวรษที่ 20".

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กติกาสัญญาวอร์ซอและว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน

กติกาสัญญาวอร์ซอและว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มีฮาอิล กอร์บาชอฟ

มีฮาอิล กอร์บาชอฟ

มีฮาอิล เซียร์เกเยวิช กอร์บาชอฟ (Михаи́л Серге́евич Горбачёв, Mikhail Sergeyevich Gorbachyov) เป็นอดีตประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต ทั้งยังเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตอีกด้วย ความพยายามปฏิรูปสหภาพของกอร์บาชอฟได้นำไปสู่การล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการยุติสงครามเย็น เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพประจำปี..

กติกาสัญญาวอร์ซอและมีฮาอิล กอร์บาชอฟ · มีฮาอิล กอร์บาชอฟและว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กติกาสัญญาวอร์ซอและว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน

กติกาสัญญาวอร์ซอ มี 40 ความสัมพันธ์ขณะที่ ว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.04% = 1 / (40 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กติกาสัญญาวอร์ซอและว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »