โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กฎสัดส่วนพหุคูณและธาตุ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กฎสัดส่วนพหุคูณและธาตุ

กฎสัดส่วนพหุคูณ vs. ธาตุ

ตัวอย่าง กฎสัดส่วนพหุคูณ จากสารประกอบออกไซด์ของไนโตรเจน กำหนดให้ไนโตรเจนมีปริมาณ 1 กรัมในทุกสารประกอบ ในทางเคมี กฎสัดส่วนพหุคูณ (law of multiple proportions) เป็นกฎพื้นฐานของปริมาณสารสัมพันธ์ บางครั้งเรียกว่ากฎของดาลตัน ตามชื่อของจอห์น ดาลตันผู้ตั้งกฎดังกล่าว กฎสัดส่วนพหุคูณกล่าวว่า ถ้าธาตุสองชนิดสามารถรวมกันได้เป็นสารประกอบมากกว่าหนึ่งอย่าง กำหนดให้มวลของธาตุชนิดแรกคงที่ อัตราส่วนระหว่างมวลของธาตุชนิดที่สองในสารประกอบแต่ละชนิดที่ว่านั้นจะเป็นเลขจำนวนเต็มน้อยๆ เช่น สารประกอบออกไซด์ของคาร์บอน สองชนิด CO และ CO2 กำหนดให้คาร์บอนมีปริมาณ 100 กรัม ในสารประกอบทั้งสอง ในคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) มีออกซิเจน 133 กรัม ส่วนในคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีออกซิเจน 266 กรัม อัตราส่วนระหว่างมวลออกซิเจนในสารประกอบทั้งสอง คือ 266:133 ≈ 2:1 เป็นสัดส่วนระหว่างจำนวนเต็มน้อยๆ ตามก. ในทางเคมี ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานเลขอะตอม อันเป็นจำนวนของโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้น ตัวอย่างธาตุที่คุ้นเคยกัน เช่น คาร์บอน ออกซิเจน อะลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง ทองคำ ปรอทและตะกั่ว จนถึงเดือนพฤษภาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กฎสัดส่วนพหุคูณและธาตุ

กฎสัดส่วนพหุคูณและธาตุ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สารประกอบคาร์บอนเคมี

สารประกอบ

น้ำ ถือเป็นสารประกอบทางเคมีอย่างหนึ่ง สารประกอบ เป็นสารเคมีที่เกิดจากธาตุเคมีตั้งแต่สองตัวขึ้นไปมารวมตัวกันโดย พันธะเคมีด้วยอัตราส่วนของส่วนประกอบที่แน่นอน ตัวอย่าง เช่น ไดไฮโรเจนโมน็อกไซด์ หรือ น้ำ มีสูตรเคมีคือ H2Oซึ่งเป็นสารที่ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 2 อะตอม และ ออกซิเจน 1 อะตอม ในสารประกอบอัตราส่วนของส่วนประกอบจะต้องคงที่และตัวชี้วัดความเป็นสารประกอบที่สำคัญคือ คุณสมบัติทางกายภาพ ซึ่งจะแตกต่างจาก ของผสม (mixture) หรือ อัลลอย (alloy) เช่น ทองเหลือง (brass) ซูเปอร์คอนดักเตอร์ YBCO, สารกึ่งตัวนำ อะลูมิเนียม แกลเลียม อาร์เซไนด์ (aluminium gallium arsenide) หรือ ช็อคโกแลต (chocolate) เพราะเราสามารถกำหนดอัตราส่วนของ ของผสมได้ ตัวกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของสารประกอบที่สำคัญคือ สูตรเคมี (chemical formula) ซึ่งจะแสดงอัตราส่วนของอะตอมในสารประกอบนั้น ๆ และจำนวนอะตอมในโมเลกุลเดียว เช่น สูตรเคมีของ อีทีน (ethene) จะเป็นC2H4 ไม่ใช่ CH2) สูตรไม่ได้ระบุว่าสารประกอบประกอบด้วยโมเลกุล เช่น โซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง, NaCl) เป็น สารประกอบไอออนิก (ionic compound).

กฎสัดส่วนพหุคูณและสารประกอบ · ธาตุและสารประกอบ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์บอน

ร์บอน (Carbon) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ C และเลขอะตอม 6 เป็นธาตุอโลหะที่มีอยู่มาก มีวาเลนซ์ 4 และมีหลายอัญรูป.

กฎสัดส่วนพหุคูณและคาร์บอน · คาร์บอนและธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

เคมี

มี (chemistry) เป็นวิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษาในเรื่องของสสาร โดยไม่เพียงแต่ศึกษาเฉพาะในเรื่องของปฏิกิริยาเคมี แต่ยังรวมถึงองค์ประกอบ โครงสร้างและคุณสมบัติของสสารอีกด้วย การศึกษาทางด้านเคมีเน้นไปที่อะตอมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างอะตอมกับอะตอม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณสมบัติของพันธะเคมี บางครั้ง เคมีถูกเรียกว่าเป็นวิทยาศาสตร์ศูนย์กลาง เพราะเป็นวิชาช่วยที่เชื่อมโยงฟิสิกส์เข้ากับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติสาขาอื่น เช่น ธรณีวิทยาหรือชีววิทยา ถึงแม้ว่าเคมีจะถือเป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์กายภาพแต่ก็มีความแตกต่างจากวิชาฟิสิกส์ค่อนข้างมาก มีการถกเถียงกันอย่างมากมายถึงต้นกำเนิดของเคมี สันนิษฐานว่าเคมีน่าจะมีต้นกำเนิดมาจากการเล่นแร่แปรธาตุซึ่งเป็นที่นิยมกันมาอย่างยาวนานหลายสหัสวรรษในหลายส่วนของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตะวันออกกลาง.

กฎสัดส่วนพหุคูณและเคมี · ธาตุและเคมี · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กฎสัดส่วนพหุคูณและธาตุ

กฎสัดส่วนพหุคูณ มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ ธาตุ มี 77 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 3.53% = 3 / (8 + 77)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กฎสัดส่วนพหุคูณและธาตุ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »