ทรงลิ่มและแรง
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ทรงลิ่มและแรง
ทรงลิ่ม vs. แรง
ทรงลิ่ม ปริซึมสามเหลี่ยม ทรงลิ่ม (wedge) เป็นทรงหลายหน้า (polyhedron) ชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยหน้ารูปสามเหลี่ยม 2 หน้า และหน้ารูปสี่เหลี่ยมคางหมู 3 หน้า มี 6 จุดยอดและ 12 ขอบ ทรงลิ่มเป็นหนึ่งในพริสมาทอยด์ (prismatoid) ที่มีจุดยอดที่ฐานด้านหนึ่งเพียง 2 จุด หรืออาจจัดได้เป็นคิวโพลาสองเหลี่ยมก็ได้ ปริซึมสามเหลี่ยม (triangular prism) เป็นกรณีพิเศษของทรงลิ่มที่มีหน้าด้านข้างเป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าที่ขนานกันทั้งสองหน้. ในทางฟิสิกส์ แรง คือ อันตรกิริยาใด ๆ เมื่อไม่มีการขัดขวางแล้วจะเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุไป แรงที่สามารถทำให้วัตถุซึ่งมีมวลเปลี่ยนแปลงความเร็ว (ซึ่งรวมทั้งการเคลื่อนที่จากภาวะหยุดนิ่ง) กล่าวคือ ความเร่ง ซึ่งเป็นผลมาจากการใช้พลังงาน แรงยังอาจหมายถึงการผลักหรือการดึง แรงเป็นปริมาณที่มีทั้งขนาดหรือทิศทาง วัดได้ในหน่วยของนิวตัน โดยใช้สัญลักษณ์ทั่วไปเป็น F ตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน กล่าวว่าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเท่ากับอัตราของโมเมนตัมที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา ถ้ามวลของวัตถุเป็นค่าคงตัว จากกฎข้อนี้จึงอนุมานได้ว่าความเร่งเป็นสัดส่วนโดยตรงกับแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุในทิศทางของแรงลัพธ์และเป็นสัดส่วนผกผันกับมวลของวัตถุ แนวคิดเกี่ยวกับแรง ได้แก่ แรงขับซึ่งเพิ่มความเร็วของวัตถุให้มากขึ้น แรงฉุดซึ่งลดความเร็วของวัตถุ และทอร์กซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็วในการหมุนของวัตถุ ในวัตถุที่มีส่วนขยาย แรงที่ทำกระทำคือแรงที่กระทำต่อส่วนของวัตถุที่อยู่ติดกัน การกระจายตัวของแรงดังกล่าวเป็นความเครียดเชิงกล ซึ่งไม่ทำให้เกิดความเร่งของวัตถุมื่อแรงสมดุลกัน แรงที่กระจายตัวกระทำบนส่วนเล็ก ๆ ของวัตถุอาจเรียกได้ว่าเป็นความดัน ซึ่งเป็นความเคลียดอย่างหนึ่งและถ้าไม่สมดุลอาจทำให้วัตถุมีความเร่งได้ ความเครียดมักจะทำให้วัตถุเกิดการเสียรูปของวัตถุที่เป็นของแข็งหรือการไหลของของไหล.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทรงลิ่มและแรง
ทรงลิ่มและแรง มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ทรงลิ่มและแรง มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทรงลิ่มและแรง
การเปรียบเทียบระหว่าง ทรงลิ่มและแรง
ทรงลิ่ม มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ แรง มี 46 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (8 + 46)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทรงลิ่มและแรง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: