โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

Streaming SIMD Extensionsและดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง Streaming SIMD Extensionsและดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก

Streaming SIMD Extensions vs. ดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก

Streaming SIMD Extensions (SSE) หรือชื่อเดิมคือ Intel Streaming SIMD Extensions (ISSE) เป็นชุดของคำสั่งเครื่องแบบ SIMD (Single Instruction, Multiple Data) ซึ่งเป็นส่วนขยายสถาปัตยกรรม x86 ที่ออกแบบโดยบริษัทอินเทล เริ่มใช้ครั้งแรกในเพนเทียม III เมื่อปี ค.ศ. 1999 โดยเป็นคู่แข่งของเทคโนโลยี 3DNow! ของบริษัทเอเอ็มดี ประกอบด้วยชุดคำสั่งจำนวน 70 คำสั่ง ชื่อในการพัฒนาของ SSE คือ KNI ย่อมาจาก Katmai New Instructions (Katmai เป็นรหัสของเพนเทียม III) ในภายหลังบริษัท AMD ได้นำชุดคำสั่ง SSE ไปใช้ในซีพียูตั้งแต่รุ่น Athlon XP และ Duron เป็นต้นมา ก่อนหน้าที่จะมี SSE ทางอินเทลได้คิดค้นชุดคำสั่งแบบ SIMD สำหรับสถาปัตยกรรม IA-32 ในชื่อว่า MMX ซึ่งมีปัญหา 2 ประการ คือ ใช้เรจิสเตอร์สำหรับคำนวณทศนิยม (Floating point) ตัวเดียวกับของซีพียู ทำให้ซีพียูไม่สามารถประมวลผลทศนิยมพร้อมกับ MMX ได้ และ MMX สามารถทำงานได้กับจำนวนเต็ม (integer) เท่านั้น SSE แก้ปัญหาโดยการเพิ่มเรจิสเตอร์ขนาด 128 บิตเข้าไปอีก 8 ตัว ในตำแหน่ง XMM0-XMM7 ในช่วงหลังเมื่อทั้ง AMD และอินเทลปรับขนาดสถาปัตยกรรมเป็น 64 บิต ก็ได้เพิ่มเรจิสเตอร์เข้าไปอีก 8 ตัว (XMM8-XMM15) และยังมีเรจิสเตอร์ควบคุมขนาด 32 บิตอีก 1 ตัวชื่อ MXCSR ภายหลังอินเทลได้ปรับปรุงรุ่นของ SSE เป็น SSE2, SSE3, SSSE3 และ SSE4 ทั้งนี้ การสนับสนุนนการคำนวณเลขทศนิยม ทำให้สามารถรองรับแอปพลิเคชันได้มากกว่า MMX และกลายเป็นที่นิยมมากขึ้น รวมทั้งการเพิ่มคำสั่งดำเนินการกับจำนวนเต็มใน SSE2 ยิ่งทำให้ MMX บางส่วนกลายเป็นส่วนเกิน แต่อย่างไรก็ดี ในบางสถานการณ์อาจเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานได้โดยใช้ MMX และ SSE ในแบบคู่ขนานกันก็ได้. ปัตยกรรมของดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก 3.0 ดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก (.NET Framework) คือแพลตฟอร์มสำหรับพัฒนาซอฟต์แวร์สร้างขึ้นโดยไมโครซอฟท์ โดยรองรับภาษาดอตเน็ตมากกว่า 40 ภาษา ซึ่งมีไลบรารีเป็นจำนวนมากสำหรับการเขียนโปรแกรม รวมถึงบริหารการดำเนินการของโปรแกรมบนดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก โดยไลบรารีนั้นได้รวมถึงส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ การเชื่อมต่อฐานข้อมูล วิทยาการเข้ารหัสลับ ขั้นตอนวิธี การเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน โปรแกรมที่เขียนบนดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก จะทำงานบนสภาพแวดล้อมที่บริหารโดย Common Language Runtime (CLR) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก โดย CLR นั้นเตรียมสภาพแวดล้อมเสมือน ทำให้ผู้พัฒนาไม่ต้องคำนึงถึงความสามารถที่แตกต่างระหว่างหน่วยประมวลผลต่างๆ และ CLR ยังให้บริการด้านกลไกระบบความปลอดภัย การบริหารหน่วยความจำ และException handling ดอตเน็ตเฟรมเวิร์กนั้นออกแบบมาเพื่อให้การพัฒนาซอฟต์แวร์ง่ายขึ้น รวดเร็วขึ้น และปลอดภัยขึ้นกว่าเดิม ดอตเน็ตเฟรมเวิร์กนั้นยังได้เป็นส่วนประกอบในระบบปฏิบัติการวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 และวินโดวส์วิสตา ซึ่งรุ่นแรกได้ออกในปีพ.ศ. 2545 รุ่นที่สองได้ออกในปีพ.ศ. 2548 ซึ่งตั้งแต่รุ่นแรกถึงรุ่นสองนั้นได้รองรับระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์เกือบทุกรุ่น และรุ่นที่สาม ซึ่งเป็นรุ่นปัจจุบันได้ออกวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 โดยได้รองรับวินโดวส์เอกซ์พี SP2 วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 SP1 และวินโดวส์วิสต.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง Streaming SIMD Extensionsและดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก

Streaming SIMD Extensionsและดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง Streaming SIMD Extensionsและดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก

Streaming SIMD Extensions มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ ดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก มี 26 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (8 + 26)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Streaming SIMD Extensionsและดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »