ROT13และตำนานพื้นบ้าน
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ROT13และตำนานพื้นบ้าน
ROT13 vs. ตำนานพื้นบ้าน
ROT13 เปลี่ยนแต่ละตัวอักษรให้ไปเป็นอีกอักษรซึ่งอยู่ถัดไป 13 ตำแหน่งในลำดับอักษรภาษาอังกฤษ ยกตัวอย่างเช่น HELLO จะกลายมาเป็น URYYB และเมื่อถอดรหัสออกมา URYYB ก็จะกลับมาเป็น HELLO อีกครั้ง ROT13 หรือ "หมุนไป 13 ตำแหน่ง" (ROT13 ย่อมาจาก "rotate by 13 places" อาจเขียนว่า ROT-13) เป็นรหัสโดยการแทนที่ซึ่งเปลี่ยนตัวอักษรหนึ่งกับตัวอักษรที่ถัดไป 13 ตำแหน่งในลำดับอักษรภาษาอังกฤษ และเป็นตัวอย่างหนึ่งของรหัสซีซาร์ ซึ่งคิดค้นโดยจูเลียส ซีซาร์ในโรมโบราณ ในภาษาอังกฤษใหม่มีอักษรทั้งหมด 26 ตัว จึงทำให้การทำ ROT13 ให้ผลลัพธ์เหมือนกันกับกระบวนการย้อนกลับของ ROT13 กล่าวคือ การถอดรหัส ROT13 ข้อความหนึ่ง ๆ หรือการเข้ารหัส ROT13 ข้อความดังกล่าวจะให้ผลลัพธ์เช่นเดียวกัน ขั้นตอนวิธีทำ ROT13 เป็นการเข้ารหัสที่ไม่มีความปลอดภัยเชิงวิทยาการเข้ารหัสลับเลย และมักจะใช้กล่าวเป็นตัวอย่างของการเข้ารหัสแบบอ่อน ในเว็บบอร์ดมีการใช้ ROT13 ในการซ่อนการสปอยล์ ตอนจบของมุกตลก คำตอบของปริศนา หรือคำหยาบ เพื่อไม่ให้ผู้อ่านเหลือบมองเห็นคำที่ซ่อนอยู่โดยบังเอิญ และอาจกล่าวได้ว่าเป็นเหมือนการที่นิตยสารพิมพ์คำตอบของปัญหาเชาว์จากล่างขึ้นบนในรูปแบบของยูสเน็ต. ตำนานพื้นบ้าน (urban legend, urban myth, urban tale หรือ contemporary legend) เป็นคติชน (folklore) ยุคปัจจุบันรูปแบบหนึ่ง ประกอบด้วยเรื่องที่ผู้เล่าอาจเชื่อว่าจริงหรือไม่จริง เฉกเช่นเดียวกับคติชนและปกรณัม (mythology) ตำนานพื้นบ้านไม่ได้มุ่งหมายที่ความถูกต้องแท้จริงของเนื้อหา เพียงแต่ได้ไขเรื่องราวนั้นให้แพร่หลาย ฉะนั้น เนื้อหาจึงมีลักษณะเปลี่ยนแปลงผกผันได้เป็นระยะ ๆ แต่ก็มีความสำคัญบางประการที่จูงใจให้ชุมชนรักษาและถ่ายทอดเรื่องนั้นต่อ ๆ ไป แม้ในภาษาอังกฤษเรียก "urban" ซึ่งหมายถึง ชุมชนเมือง แต่ก็ไม่จำเป็นว่าเรื่องราวจะต้องเกิดในชุมชนเมืองเสมอไป ที่ใช้คำเช่นนั้นก็เพื่อให้ต่างกับคติชนดั้งเดิม (traditional folklore) ในยุคก่อนอุตสาหกรรมเท่านั้น ด้วยเหตุผลนี้ นักสังคมวิทยากับนักคติชนวิทยาจึงพอใจจะเรียกตำนานพื้นบ้านว่า "ตำนานร่วมสมัย" (contemporary legend) มากกว่า ตำนานพื้นบ้านนั้นบางทีก็เล่าซ้ำ ๆ กันในรูปแบบรายงานข่าว และในช่วงหลัง ๆ มักแพร่หลายในรูปแบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ผู้คนมักอ้างว่าเรื่องราวที่โจษจันกันนั้นเกิดขึ้นแก่เพื่อนของเพื่อน เมื่อเล่าตำนานพื้นบ้านก็จึงมักอ้างถึง "เพื่อนของเพื่อน" (หรือที่ในภาษาไทยแต่โบราณว่า "กิร ดังได้สดับมา") แม้เวลาผ่านไปหลายปี ตำนานพื้นบ้านบางเรื่องเปลี่ยนแปลงไปน้อยมากก็มี เช่น เรื่องหญิงถูกแมงมุมซึ่งทำรังอยู่ในทรงผมของนางฆ่าตาย ตำนานพื้นบ้านในระยะหลัง ๆ มักสะท้อนพฤติการณ์สมัยใหม่ขึ้น เช่น เรื่องปล้นไต (Kidney Heist) ความว่า มีคนถูกดักทำร้าย โปะยาสลบ พอตื่นขึ้นมาก็พบว่าไตหายไปข้างหนึ่ง เพราะถูกลักไปใช้ปลูกถ่ายให้แก่ผู้อื่น เป็นต้น.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ROT13และตำนานพื้นบ้าน
ROT13และตำนานพื้นบ้าน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ROT13และตำนานพื้นบ้าน มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ROT13และตำนานพื้นบ้าน
การเปรียบเทียบระหว่าง ROT13และตำนานพื้นบ้าน
ROT13 มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ ตำนานพื้นบ้าน มี 2 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (8 + 2)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ROT13และตำนานพื้นบ้าน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: