โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ICD-10 บทที่ 16: ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิดและโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ICD-10 บทที่ 16: ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิดและโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ

ICD-10 บทที่ 16: ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิด vs. โพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี.. วะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ (pneumothorax, pneumothoraces) เป็นภาวะซึ่งมีอากาศอยู่ในโพรงเยื่อหุ้มปอดในช่องอก ระหว่างปอดกับผนังทรวงอก อาจเกิดขึ้นเองในผู้ป่วยที่ไม่มีโรคปอดเรื้อรังมาก่อน (แบบปฐมภูมิ) หรือในผู้ป่วยที่มีโรคปอดเรื้อรังมาก่อน (แบบทุติยภูมิ) นอกจากนี้บ่อยครั้งยังเกิดตามหลังการบาดเจ็บต่อทรวงอก การระเบิด หรือพบเป็นภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาทางการแพทย์ได้ อาการของโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศขึ้นอยู่กับขนาดของอากาศที่ปรากฏในโพรงเยื่อหุ้มปอดและความเร็วของการรั่วของอากาศ อาจมีอาการเจ็บหน้าอก หายใจลำบาก อาจวินิจฉัยได้จากการตรวจร่างกายในกรณีเป็นมากๆ แต่ส่วนใหญ่จำเป็นต้องใช้การตรวจภาพถ่ายรังสีเช่นเอกซเรย์หรือซีทีในการวินิจฉัยกรณีเป็นไม่มาก บางครั้งภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศอาจทำให้เกิดร่างกายขาดออกซิเจน ความดันเลือดลดต่ำ และหัวใจหยุดได้หากไม่ได้รับการรักษา ภาวะเช่นนี้เรียกว่าโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศชนิดเกิดแรงดัน (tension pneumothorax) ภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศชนิดที่เป็นไม่มากนั้นส่วนใหญ่หายได้เองโดยไม่จำเป็นต้องได้รับการรักษาจำเพาะ โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่ไม่ได้มีโรคปอดเรื้อรังมาก่อน ในกรณีที่โพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศอยู่มากหรือมีอาการมากอาจจำเป็นต้องใช้เข็มฉีดเจาะดูดลมออก หรือใส่สายระบายทรวงอกเพื่อให้ลมได้ระบายออก บางครั้งอาจจำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด โดยเฉพาะในกรณีที่เมื่อใส่สายระบายทรวงอกแล้วยังไม่หาย หรือผู้ป่วยรายนั้นๆ เกิดมีโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศอีกหลายครั้ง ในกรณีที่ผู้ป่วยรายใดมีโอกาสเกิดเป็นซ้ำได้มาก อาจจำเป็นต้องมีการรักษาเพิ่มเติม เช่น การทำการผนึกเยื่อหุ้มปอดเพื่อยึดเยื่อหุ้มตัวปอดกับเยื่อหุ้มปอดส่วนผนังอกเข้าด้วยกัน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ICD-10 บทที่ 16: ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิดและโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ

ICD-10 บทที่ 16: ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิดและโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อาการโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

อาการ

ในทางการแพทย์ อาการ มีความหมายสองอย่างที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพกายและสุขภาพใจดังนี้.

ICD-10 บทที่ 16: ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิดและอาการ · อาการและโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ · ดูเพิ่มเติม »

โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

รคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (chronic obstructive pulmonary disease, COPD, chronic obstructive lung disease, COLD, chronic obstructive airway disease, COAD) เป็นโรคปอดอุดกั้นที่มีลักษณะเฉพาะคือความบกพร่องอย่างเรื้อรังในการไหลผ่านของอากาศของระบบทางเดินหายใจ --> และมักจะแย่ลงเมื่อเวลาผ่านไป --> อาการที่พบบ่อยได้แก่ เหนื่อย ไอ และ มีเสมหะ ผู้ป่วยหลอดลมอักเสบเรื้อรังส่วนใหญ่จะมี COPD ด้วย สาเหตุพบบ่อยที่สุดของ COPD คือการสูบบุหรี่ สาเหตุอื่นๆ ที่มีบทบาทบ้างแต่น้อยกว่าการสูบบุหรี่ได้แก่ มลพิษทางอากาศ และ พันธุกรรม เป็นต้น สาเหตุของมลพิษทางอากาศที่พบบ่อยในประเทศที่กำลังพัฒนาอีกอย่างหนึ่งได้แก่ อากาศเสียจากการทำอาหารหรือควันไฟ การสัมผัสสิ่งระคายเคืองเหล่านี้ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานจะกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาการอักเสบขึ้นในเนื้อปอด ทำให้หลอดลมฝอยตีบลงและการแตกตัวของเนื้อเยื้อปอด เรียกว่า ถุงลมโป่งพอง อังกฤษ:emphysema การวินิจฉัยนั้นใช้พื้นฐานของความสามารถในการไหลผ่านของอากาศด้วยการตรวจวัดโดย การทดสอบการทำงานของปอด โดยมีความแตกต่างจากโรคหอบหืด คือ การลดลงของปริมาณอากาศที่ไหลผ่านด้วยการให้ยานั้นไม่ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ COPD สามารถป้องกันได้โดยการลดปัจจัยเสี่ยงของสาเหตุของโรคที่ทราบ ซึ่งรวมถึงการลดปริมาณการสูบบุหรี่และการปรับปรุงคุณภาพของอากาศทั้งภายในและภายนอก การรักษา COPD ได้แก่: การเลิกสูบบุหรี่ การฉีดวัคซีน การฟื้นฟูสภาพ และการพ่นสูดยาขยายหลอดลมบ่อยๆ และการใช้ยาสเตียรอยด์ บางคนอาจได้รับประโยชน์จากการบำบัดด้วยออกซิเจนระยะยาวหรือการปลูกถ่ายปอด ในกลุ่มผู้ที่มีการทรุดลงอย่างเฉียบพลันช่วงหนึ่ง การเพิ่มยาที่ใช้รักษาและการเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาลอาจเป็นสิ่งจำเป็น ในทั่วโลกมีผู้ที่ป่วยด้วย COPD จำนวน 329 ล้านคนหรือเกือบ 5% ของจำนวนประชากร ในปี..

ICD-10 บทที่ 16: ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง · โพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ICD-10 บทที่ 16: ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิดและโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ

ICD-10 บทที่ 16: ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิด มี 70 ความสัมพันธ์ขณะที่ โพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ มี 20 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 2.22% = 2 / (70 + 20)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ICD-10 บทที่ 16: ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิดและโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »