Acantopsis choirorhynchosและปีเตอร์ เบลเกอร์
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง Acantopsis choirorhynchosและปีเตอร์ เบลเกอร์
Acantopsis choirorhynchos vs. ปีเตอร์ เบลเกอร์
Acantopsis choirorhynchos เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาหมูแท้ (Cobitidae) มีลำตัวเล็ก ขนาดยาวไม่เกิน 30 เซนติเมตร (แต่ที่พบโดยทั่วไปจะยาวเพียงแค่ 5-14 เซนติเมตร) หัวแหลม ตาเล็ก หางแหลม กลางลำตัวมีเส้นสีเทาจากหัวถึงหางระหว่างเส้นมีจุดสีดำเป็นแนวยาว ครีบหางเว้าตื้น มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ในพื้นท้องน้ำที่มีกรวดทรายและมีกระแสน้ำไหลเชี่ยว สามารถมุดทรายได้อย่างรวดเร็วเมื่อตกใจหรือจะซ่อนตัวจากสัตว์นักล่า A. choirorhynchos เป็นปลาพื้นเมืองในรัฐอัสสัมของอินเดีย, พม่า, ไทย, เวียดนาม, มาเลเซีย (ทั้งตะวันตกและตะวันออก) และเกาะสุมาตราและเกาะชวาของอินโดนีเซีย ตัวอย่างที่นำมาจัดอนุกรมวิธานถูกจับมาจากบริเวณจุดบรรจบระหว่างแม่น้ำเลอมาตังกับแม่น้ำเอนิมในจังหวัดสุมาตราใต้ ส่วนในไทยพบที่แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำแม่กลอง แม่น้ำยม แม่น้ำวัง แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม แม่น้ำปัตตานี เป็นต้น เนื่องจากปลาชนิดนี้เป็นปลาขนาดเล็ก จึงนิยมบริโภคด้วยการรับประทานทั้งตัวและก้าง โดยนำมาทำเป็นอาหารได้หลายอย่างทั้งการปรุงสดและตากแห้ง โดยรายการที่ขึ้นชื่อที่สุด คือ ปลารากกล้วยทอดกระเทียม รับประทานกับข้าวต้ม สำหรับการปรุงสดสามารถทำอาหารได้หลากหลาย เช่น ต้มยำ ต้มโคล้ง ฉู่ฉี่ นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ นิยมเลี้ยงเพราะเป็นปลาที่เก็บเศษอาหารที่ปลาอื่นกินเหลือไว้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังช่วยพรวนทรายให้ร่วนอยู่ตลอดเวลาด้วย จากการที่มันสามารถมุดทรายได้เป็นอย่างดี อนึ่ง A. choirorhynchos มีชื่อสามัญในภาษาไทยว่า "ปลารากกล้วย" หรือ "ปลาซ่อนทราย" ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกร่วมกับปลาชนิดอื่น ๆ ในสกุล Acantopsis ของวงศ์ปลาหมูราชบัณฑิตยสถาน. ปีเตอร์ เบลเกอร์ (Pieter Bleeker; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1819 ที่ซานดัม – 24 มกราคม ค.ศ. 1878 ที่เดอะเฮก) นักมีนวิทยาและวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกชาวดัตช์ มีชื่อเสียงจากผลงานตีพิมพ์ชื่อ Atlas Ichthyologique des Orientales Neerlandaises ซึ่งเป็นบันทึกที่ได้จัดทำขึ้นระหว่างสำรวจพันธุ์ปลาในอินโดนีเซีย ตีพิมพ์ระหว่างปี..
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง Acantopsis choirorhynchosและปีเตอร์ เบลเกอร์
Acantopsis choirorhynchosและปีเตอร์ เบลเกอร์ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สกุล (ชีววิทยา)สปีชีส์
ในทางชีววิทยา สกุล (อังกฤษ genus) เป็นการจัดกลุ่มเอาสิ่งมีชีวิตสปีชีส์ที่มีลักษณะใกล้เคียงเข้ามารวมกัน ในการตั้งชื่อแบบทวินาม ชื่อสิ่งมีชีวิตประกอบขึ้นจากสองส่วน คือ สกุล ซึ่งต้องขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ และ สปีชีส์ ตัวอย่างหนึ่งคือ Homo sapiens เป็นชื่อเรียกมนุษย์ อยู่ในสกุล Homo ชื่อสกุลในอาณาจักรหนึ่งสามารถซ้ำกับชื่อสกุลหรือชื่อในอนุกรมวิธานของอาณาจักรอื่นได้ ตัวอย่างเช่น Anura เป็นชื่อสกุลของพืชในวงศ์ และเป็นชื่ออันดับของกบ Aotus เป็นชื่อสกุลของถั่วและลิง เป็นต้น แต่ชื่อสกุลในอาณาจักรหนึ่ง ๆ ต้องห้ามซ้ำกัน หมวดหมู่:ชีววิทยา หมวดหมู่:การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์.
Acantopsis choirorhynchosและสกุล (ชีววิทยา) · ปีเตอร์ เบลเกอร์และสกุล (ชีววิทยา) · ดูเพิ่มเติม »
ในวิชาชีววิทยา ชนิด หรือทับศัพท์ว่า สปีชีส์ (species, ย่อ: sp., รูปพหูพจน์ย่อ: spp.) เป็นหน่วยการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานและอันดับอนุกรมวิธานหนึ่ง มักนิยามว่า สปีชีส์เป็นกลุ่มอินทรีย์ใหญ่สุดที่สามารถสืบพันธุ์แล้วออกลูกที่สืบพันธุ์ได้ การมีลักษณะปรับตัวเฉพาะบางท้องถิ่นอาจแบ่งสปีชีส์ต่ออีกได้เป็น "ชื่อต่ำกว่าระดับชนิด" (infraspecific taxa) เช่น ชนิดย่อย (ในทางพฤกษศาสตร์ มีใช้คำอื่น เช่น พันธุ์ (variety) พันธุ์ย่อยและแบบ (forma)).
Acantopsis choirorhynchosและสปีชีส์ · ปีเตอร์ เบลเกอร์และสปีชีส์ · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ Acantopsis choirorhynchosและปีเตอร์ เบลเกอร์ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง Acantopsis choirorhynchosและปีเตอร์ เบลเกอร์
การเปรียบเทียบระหว่าง Acantopsis choirorhynchosและปีเตอร์ เบลเกอร์
Acantopsis choirorhynchos มี 37 ความสัมพันธ์ขณะที่ ปีเตอร์ เบลเกอร์ มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 4.44% = 2 / (37 + 8)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Acantopsis choirorhynchosและปีเตอร์ เบลเกอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: