โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

7 กุมภาพันธ์และจอห์น เกล็นน์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง 7 กุมภาพันธ์และจอห์น เกล็นน์

7 กุมภาพันธ์ vs. จอห์น เกล็นน์

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 38 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 327 วันในปีนั้น (328 วันในปีอธิกสุรทิน). อห์น เกล็นน์ในภารกิจเมอร์คิวรี-แอตลาส 6 จอห์น เฮร์เชล เกล็นน์ จูเนียร์ (John Herschel Glenn Jr., 18 กรกฎาคม 1921 – 8 ธันวาคม 2016) นักบินอวกาศชาวอเมริกัน เดินทางไปกับกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี เพื่อศึกษาผลกระทบของการเดินทางในอวกาศที่มีต่อผู้สูงอายุ หลังห่างหายจากภารกิจอวกาศมานานกว่า 3 ทศวรรษ จอห์น เกล็นน์เข้าเป็นนักบินในหน่วยรบของกองทัพเรือ และนาวิกโยธินสหรัฐ เคยร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 2 และ สงครามเกาหลี เคยทำการบินกับเครื่องบินรุ่น R4D (ดักลาส ซี-47 สกายเทรน ดาโกต้า รุ่นของกองทัพเรือ) และ เครื่องบินขับไล่ F4U Corsair และ F9F Panther เขายังเคยเป็นนักบินแลกเปลี่ยนให้กองทัพอากาศสหรัฐ ขึ้นบินกับ F-86 Sabre ก่อนจะย้ายมาเป็นนักบินทดสอบให้กับกองทัพเรือ จอห์น เกล็นน์ เป็นนักบินอวกาศให้กับองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา ในโครงการเมอร์คิวรี โดยเป็นนักบินอวกาศคนที่ 3 ของสหรัฐอเมริกา เป็นชาวอเมริกันคนแรกที่โคจรรอบโลกเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1962 ในการขึ้นบินนาน 5 ชั่วโมงกับ เฟรนด์ชิป 7 จากนั้นเขาได้ลาออกจากองค์การนาซ่า และกลับมาทำงานในกองทัพเรือ จนปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 7 กุมภาพันธ์และจอห์น เกล็นน์

7 กุมภาพันธ์และจอห์น เกล็นน์ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2505นักบินอวกาศนาซา

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

7 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2505 · จอห์น เกล็นน์และพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

นักบินอวกาศ

รูซ แมคแคนด์เลส 2 นักบินอวกาศชาวอเมริกัน ขณะทำงานอยู่นอกกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ เมื่อ พ.ศ. 2527 (ภาพจากองค์การนาซา) นักบินอวกาศ คือ บุคคลที่เดินทางไปกับยานอวกาศ ไม่ว่าจะไปในฐานะใด และไม่ว่าจะไปด้วยยานอวกาศแบบไหน ทั้งที่โคจรรอบโลก (ในระยะสูงจากพื้นราว 80-100 กิโลเมตรขึ้นไป) หรือที่เดินทางออกไปยังตำแหน่งอื่นใดนอกวงโคจรของโลก คำว่า นักบินอวกาศ ในภาษาไทย นั้น ตรงกับคำศัพท์ในภาษาอังกฤษ ว่าแอสโตรนอท (astronaut) ซึ่งมีความหมายอย่างที่กล่าวมา เป็นที่น่าสังเกตว่า คำว่า นักบินอวกาศ ไม่ได้มีความหมายเฉพาะผู้ที่เป็นนักบิน (pilot) เท่านั้น แต่มีความหมายอย่างที่อาจเข้าใจได้ง่ายๆ ว่า ลูกเรืออวกาศ นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ในภาษาไทยยังมีคำศัพท์อีกคำ ที่มีความหมายเช่นนี้ นั่นคือ มนุษย์อวกาศ คำว่า แอสโตรนอท ในภาษาอังกฤษนั้น มีที่มาจากคำศัพท์ในภาษากรีก สองคำ คือ astro หมายถึงดวงดาว และ nautes ซึ่งหมายถึง กะลาสี ปัจจุบันมีนักบินอวกาศหลายชาติ จึงมีการสร้างคำสำหรับเรียกนักบินอวกาศของแต่ละชาติต่างๆ กัน เช่น นักบินในโครงการอวกาศของรัสเซีย เรียกว่า คอสโมนอท (cosmonaut) อันเป็นการสร้างคำจากคำศัพท์จากภาษากรีกเช่นกัน โดยใช้คำว่า kosmo ที่หมายถึง อวกาศ และคำว่า nautes ที่หมายถึง กะลาสี ส่วนในยุโรป มีการสร้างศัพท์ขึ้นใหม่ ว่า สเปชันนอท (spationaut) เป็นคำประสม ระหว่าง space ในภาษาละติน (อวกาศ) และ nautes ในภาษากรีก (กะลาสี) โดยมีความหมายว่านักบินอวกาศ หรือมนุษย์อวกาศ นั่นเอง นอกจากนี้ยังมีคำว่า ไทโคนอท (Taikonaut) เป็นคำศัพท์ที่คิดขึ้นใหม่ เมื่อ เดือนพฤษภาคม ปี..

7 กุมภาพันธ์และนักบินอวกาศ · จอห์น เกล็นน์และนักบินอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all).

7 กุมภาพันธ์และนาซา · จอห์น เกล็นน์และนาซา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง 7 กุมภาพันธ์และจอห์น เกล็นน์

7 กุมภาพันธ์ มี 78 ความสัมพันธ์ขณะที่ จอห์น เกล็นน์ มี 17 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 3.16% = 3 / (78 + 17)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 7 กุมภาพันธ์และจอห์น เกล็นน์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »