เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

7 กันยายนและรายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง 7 กันยายนและรายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี)

7 กันยายน vs. รายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี)

วันที่ 7 กันยายน เป็นวันที่ 250 ของปี (วันที่ 251 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 115 วันในปีนั้น. แชมป์โลกเฮฟวี่เวท 4 สมัย แรนดี ออร์ตัน เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปียนชิพ เป็นเข็มขัดระดับโลกรุ่นเฮฟวี่เวทที่เป็นกรรมสิทธิ์ของเวิลด์ เรสต์ลิง เอ็นเตอร์เทนเมนต์ (WWE) โดยเป็นเข็มขัดระดับโลกเส้นที่ 3 ที่ได้ใช้งานในดับเบิลยูดับเบิลยูอีเมื่อปี ค.ศ. 2002 ภายหลังจากการซื้อกิจการสมาคมที่ล้มละลายอย่าง เวิลด์ แชมเปียนชิพ เรสต์ลิง (WCW) และเอ็กซ์ตรีม แชมเปียนชิพ เรสต์ลิง (ECW) และยกเลิกสถานะดับเบิลยูซีดับเบิลยู เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปียนชิพ (WCW World Heavyweight Championship) โดยนำมารวมกับดับเบิลยูดับเบิลยูเอฟ แชมเปียนชิพ (WWF Championship) กลายเป็นเข็มขัดเดี่ยว ดับเบิลยูดับเบิลยูเอฟ อันดิสพิวเต็ด แชมเปียนชิพ (WWF Undisputed Championship) ซึ่งกลายเป็นกรรมสิทธิ์ของสแมคดาวน์ ภายหลังการขยายค่าย ส่งผลให้รอว์ไม่มีเข็มขัดระดับโลกไว้ในครอบครอง ทำให้ เอริค บิชอฟฟ์ อดีตผู้บริหารและเจ้าของดับเบิลยูซีดับเบิลยู ซึ่งเป็นผู้จัดการทั่วไปของรอว์ในขณะนั้น นำเวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพออกมาใช้งาน ในปัจจุบัน ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของ สแมคดาวน์ การครองเข็มขัดจะถูกตัดสินโดยการปล้ำในการแข่งขันรูปแบบต่างๆ หรือถูกมอบให้โดยมีเหตุจูงใจเป็นต้น โดยนักมวยปล้ำจะมีบทแสดงเป็นฝ่ายธรรมะหรืออธรรม โดยเกิดความขัดแย้งและต่อสู้กันในการแข่งขันรูปแบบต่างๆ เพื่อชิงเข็มขัดดังกล่าว ผู้ครองเข็มขัดนี้เป็นคนแรกคือ ทริปเปิล เอช ซึ่งเอริค บิชอฟฟ์มอบให้ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2002 โดยรวมมีผู้ครองเข็มขัดนี้ทั้งสิ้น 14 คน โดยมีจำนวน 28 สมัย ซึ่งทริปเปิล เอชก็เป็นผู้ครองเข็มขัดดังกล่าวมากสมัยที่สุดอีกด้วย (5 สมัย) ทางดับเบิลยูดับเบิลยูอีได้แถลงอย่างเป็นทางการว่า เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพ ไม่ได้เป็นเข็มขัดเส้นเดียวกับ เอ็นดับเบิลยูเอ เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพ (NWA World Heavyweight Championship) หรือดับเบิลยูซีดับเบิลยู แชมเปี้ยนชิพ (WCW Championship) แม้ว่าจะมีความคล้ายคลึงกันโดยการที่เป็น "เข็มขัดทองขนาดใหญ่" เหมือนกัน จึงทำให้ประวัติความเป็นมาและผู้ครองเข็มขัดนั้นไม่สืบเนื่องหรือเกี่ยวโยงกัน โดยเวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพเป็นเพียงรุ่นถัดมาของดับเบิลยูซีดับเบิลยู แชมเปี้ยนชิพ เหมือนที่มันเป็นรุ่นถัดมาของเอ็นดับเบิลยูเอ เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพนั่นเอง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 7 กันยายนและรายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี)

7 กันยายนและรายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี) มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2552พ.ศ. 255615 กุมภาพันธ์

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

7 กันยายนและพ.ศ. 2552 · พ.ศ. 2552และรายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

7 กันยายนและพ.ศ. 2556 · พ.ศ. 2556และรายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี) · ดูเพิ่มเติม »

15 กุมภาพันธ์

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 46 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 319 วันในปีนั้น (320 วันในปีอธิกสุรทิน).

15 กุมภาพันธ์และ7 กันยายน · 15 กุมภาพันธ์และรายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง 7 กันยายนและรายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี)

7 กันยายน มี 56 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี) มี 146 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 1.49% = 3 / (56 + 146)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 7 กันยายนและรายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: