โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

7 กรกฎาคมและสะพานมาร์โก โปโล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง 7 กรกฎาคมและสะพานมาร์โก โปโล

7 กรกฎาคม vs. สะพานมาร์โก โปโล

วันที่ 7 กรกฎาคม เป็นวันที่ 188 ของปี (วันที่ 189 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 177 วันในปีนั้น. นมาร์โก โปโลในอดีต สะพานมาร์โก โปโล หรือ สะพานหลูโกว (Marco Polo Bridge, Lugou Bridge; Damian Harper and Daniel McCrohan. Lonely Planet, 2007. ISBN 978-1740599153. p. 176.) สะพานมาร์โก โปโลเป็นสะพานหินโค้งเชื่อมต่อที่เก่าแก่ที่สุดของกรุงปักกิ่ง เป็นสะพานข้ามแม่น้ำหย่งติ้ง (永定河; ปัจจุบันแม่น้ำแห่งนี้ได้เหือดแห้งไปหมดแล้ว) ตั้งในเขตเฟิงไถ (丰台区) ด้านตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงปักกิ่ง ห่างจากใจกลางเมืองประมาณ 15 กิโลเมตร เริ่มสร้างในสมัยจักรพรรดิจินซีจง ในยุคราชวงศ์จิน (ค.ศ. 1189) ได้รับการบูรณะซ่อมแซมในสมัยราชวงศ์หมิง หลังได้รับความเสียหายจากอุทกภัยก็มีการบูรณะใหม่อีกครั้งในสมัยจักรพรรดิคังซี แห่งราชวงศ์ชิง (ค.ศ. 1698) โดยที่มาของชื่อ มาจากมาร์โก โปโล นักเดินทางชาวอิตาเลียนในศตวรรษที่ 13 ที่ได้เดินทางมายังประเทศจีนในขณะนั้น และได้พรรณาถึงความงามของสะพานแห่งนี้จนมีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก สะพานมาร์โก โปโลมีความยาว 266.5 เมตร กว้าง 7.5 เมตร ประกอบด้วยตอม่อหิน 11 ต้น และช่องโค้งใต้สะพาน 11 ช่อง ตัวสะพานทั้งหมดทำด้วยแท่งหิน โดยใช้ตะขอเงินเชื่อมต่อในจุดที่สำคัญ นับว่าเป็นสะพานหินโบราณที่ยาวที่ในพื้นที่ภาคเหนือของจีน บนราวสะพานจะมีการแกะสลักหินเป็นลวดลายที่วิจิตรงดงาม และสิงโตหินแกะสลักที่ขึงขังอยู่เต็มราวสะพาน นับได้ว่าเป็นสิ่งปลูกสร้างโบราณที่ทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์และศิลปะอย่างยิ่ง ในด้านประวัติศาสตร์ สะพานมาร์โก โปโลยังเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2 ที่กินระยะเวลายาวนานกว่า 8 ปี โดยเริ่มต้นจากปืนที่ทหารแห่งกองทัพคณะปฏิวัติแห่งชาติจีนยิงใส่ทหารแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 7 กรกฎาคมและสะพานมาร์โก โปโล

7 กรกฎาคมและสะพานมาร์โก โปโล มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองเหตุการณ์สะพานมาร์โค โปโล

สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง

งครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง (Second Sino-Japanese War;; 日中戦争) ระหว่างวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 ถึงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2488 เป็นสงครามระหว่างจีนกับญี่ปุ่น เกิดขึ้นก่อนสงครามโลกครั้งที่สองต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สองเรียกว่า "สงครามแปซิฟิก" และดำเนินเรื่อยมาจนยุติลงพร้อมกับสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นสงครามที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ย้อนกลับไปใน พ.ศ. 2474 ญี่ปุ่นได้เข้ารุกรานแมนจูเรีย ซึ่งเหตุการณ์นี้เรียกว่ากรณีมุกเดน ทำให้ญี่ปุ่นสามารถเข้าไปมีอิทธิพลในดินแดนจีนแผ่นดินใหญ่ได้ จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์ ณ สะพานมาร์โค โปโล อันเป็นจุดเริ่มต้นอย่างเป็นทางการของสงครามครั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มต้นสงครามจนถึง..

7 กรกฎาคมและสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง · สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและสะพานมาร์โก โปโล · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์สะพานมาร์โค โปโล

ำลองเหตุการณ์การรบในเหตุการณ์สะพานมาร์โค โปโล ในพิพิธภัณฑ์ฮ่องกง เหตุการณ์สะพานมาร์โค โปโล (Marco Polo Bridge Incident) คือการรบระหว่างกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นกับกองทัพคณะปฏิวัติแห่งชาติจีน เป็นจุดแตกหักที่ทำให้เกิดสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง (พ.ศ. 2480-2488) ตัวสะพานหินอ่อนสถานที่เกิดเหตุการณ์ มีชื่อว่า สะพานหลูโกว ที่มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สะพานมาร์โค โปโล โครงสร้างเป็นสถาปัตยกรรมโค้ง 11 โค้งอันสวยงาม ปฏิสังขรณ์โดยจักรพรรดิคังซี (พ.ศ. 2205-2265).

7 กรกฎาคมและเหตุการณ์สะพานมาร์โค โปโล · สะพานมาร์โก โปโลและเหตุการณ์สะพานมาร์โค โปโล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง 7 กรกฎาคมและสะพานมาร์โก โปโล

7 กรกฎาคม มี 95 ความสัมพันธ์ขณะที่ สะพานมาร์โก โปโล มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 1.90% = 2 / (95 + 10)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 7 กรกฎาคมและสะพานมาร์โก โปโล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »