โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

7 กรกฎาคม

ดัชนี 7 กรกฎาคม

วันที่ 7 กรกฎาคม เป็นวันที่ 188 ของปี (วันที่ 189 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 177 วันในปีนั้น.

95 ความสัมพันธ์: ชุติมา เอเวอรี่พ.ศ. 1999พ.ศ. 2086พ.ศ. 2208พ.ศ. 2402พ.ศ. 2403พ.ศ. 2406พ.ศ. 2415พ.ศ. 2428พ.ศ. 2441พ.ศ. 2444พ.ศ. 2450พ.ศ. 2453พ.ศ. 2454พ.ศ. 2456พ.ศ. 2469พ.ศ. 2473พ.ศ. 2476พ.ศ. 2480พ.ศ. 2483พ.ศ. 2487พ.ศ. 2498พ.ศ. 2504พ.ศ. 2508พ.ศ. 2510พ.ศ. 2514พ.ศ. 2517พ.ศ. 2521พ.ศ. 2528พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2535พ.ศ. 2540พ.ศ. 2543พ.ศ. 2548พ.ศ. 2557พ.ศ. 2560พระธรรมกวี (ลือชัย คุณวุฑฺโฒ)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญาพิชยดนย์ พึ่งพันธ์กวินนา สุวรรณประทีปการก่อการร้ายการเกณฑ์ทหารกุสตาฟ มาห์เลอร์ฐิติมา สุตสุนทรภาษีมอริส เครัฐฮาวาย...ริงโก สตาร์ลอนดอนวสันต์ อุตตมะโยธินวันเอกราชวิตตอรีโอ เด ซีกาวิเวียน ลีห์ศรัณย์รัชต์ ดีนสศิรา ทวียนต์ชัยสหรัฐสหราชอาณาจักรสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองหมู่เกาะโซโลมอนอัลเฟรโด ดิ เอสเตฟาโนอาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์ฌาน ดาร์กจ้าวสิงห์ทอง นครหลวงโปรโมชั่นทะนะบะตะดอลลาร์สหรัฐคริสตอฟ ดินเซนฮอฟเฟอร์ปฏิทินสุริยคติปฏิทินเกรโกเรียนประเทศญี่ปุ่นประเทศฝรั่งเศสประเทศลักเซมเบิร์กประเทศสเปนประเทศอาร์เจนตินาปัมโปลนาปีอธิกสุรทินนุศรา ต้อมคำโรเบิร์ต เอ. ไฮน์ไลน์โตนนท์ วงศ์บุญเกาะไซปันเหตุการณ์สะพานมาร์โค โปโลเหตุระเบิดในลอนดอน 7 กรกฎาคม 2548เอะรินะ อิกุตะเจ้าหญิงปูรณิกาแห่งเนปาล13 พฤศจิกายน15 พฤศจิกายน18 พฤษภาคม22 พฤษภาคม25 พฤษภาคม4 กรกฎาคม4 กันยายน5 พฤศจิกายน8 พฤษภาคม ขยายดัชนี (45 มากกว่า) »

ชุติมา เอเวอรี่

ติมา เอเวอรี่ หรือ แคนดี้ (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2521 —) เป็นนักแสดงและนางแบบลูกครึ่งไทย-จีน-เยอรมัน สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ชุติมาเริ่มงานการแสดงครั้งแรกจากภาพยนตร์ ไกรทอง รับบทเลื่อมลาวรรณ ซึ่งในภาพยนตร์ดังกล่าว มีฉากเลิฟซีนร้อนแรงกับนักแสดงชายในเรื่อง โดยเฉพาะ วินัย ไกรบุตร พระเอกของเรื่อง จนทำให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์เป็นอย่างมาก และต่อมาในปี..

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและชุติมา เอเวอรี่ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1999

ทธศักราช 1999 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 1999 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2086

ทธศักราช 2086 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2086 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2208

ทธศักราช 2208 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2208 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2402

ทธศักราช 2402 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1859.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2402 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2403

ทธศักราช 2403 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1860.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2403 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2406

ทธศักราช 2406 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1863.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2406 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2415

ทธศักราช 2415 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1872 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2415 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2428

ทธศักราช 2428 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1885 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2428 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2441

ทธศักราช 2441 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1898 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2441 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2444 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2450

ทธศักราช 2450 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1907 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2450 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2453

ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2453 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2454

ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2454 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2456 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2469

ทธศักราช 2469 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1926 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2469 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2473 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมกวี (ลือชัย คุณวุฑฺโฒ)

ระธรรมกวี นามเดิม ลือชัย ไสยวรรณโณ ฉายา คุณวุฑฺโฒ เจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพระธรรมกวี (ลือชัย คุณวุฑฺโฒ) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ

ระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ (ขวา) และ พระองค์เจ้าอดิสัยสุริยาภา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ ประสูติวันอังคารที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 เป็นพระราชธิดาใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาอ่อน บุนนาค มีพระน้องนางคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิสัยสุริยาภา ทรงเป็นราชนารีที่โปรดการผจญป่าดงพงไพรและทรงม้าได้ดีเยี่ยม ปัจจุบัน ตำหนักของพระองค์ได้รื้อไปแล้ว กำลังก่อสร้างเป็นอาคารใหม่ของคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา พระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 พระชันษา 48 ปีราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๕๐, ตอน ๐ ง, ๔ มิถุนายน..

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2415 - 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้าจอมมารดาตลับ มีพระอนุชาร่วมพระมารดา คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2415 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 เวลา 2 นาฬิกา พระชันษา 38 ปี.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา · ดูเพิ่มเติม »

พิชยดนย์ พึ่งพันธ์

นย์ พึ่งพันธ์ เดิมมีชื่อว่า ชินภัทร เกิดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงาน ทั้งโฆษณาและละคร อาทิ เรื่อง เมียหลวง, เจ้าบ่าวโค้งสุดท้าย และ คุณหนูเทวดา เข้าสู่วงการบันเทิงจากเวทีประกวดค้นหานักแสดงหน้าใหม่ของช่อง7 สู่ฝันปั้นดาว ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 และได้เซ็นสัญญาเป็นนักแสดงของช่อง 7.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและพิชยดนย์ พึ่งพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

กวินนา สุวรรณประทีป

กวินนา สุวรรณประทีป (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2514 -) อดีตนักแสดงวัยรุ่น เกิดที่จังหวัดสุพรรณบุรี จบนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เข้าสู่วงการด้วยการเป็นนักเรียนการแสดงช่อง 3 มีผลงานภาพยนตร์เรื่องแรกคือ ฝากฝันไว้เดี๋ยวจะเลี้ยวมาเอา ร่วมกับ นฤเบศร์ จินปิ่นเพชร,ศิตา เมธาวี, อนิรุทธิ์ เถรว่อง และ วิทิต แลต ต่อมาจึงได้เล่นละครในปี..

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและกวินนา สุวรรณประทีป · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการร้าย

ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 175 ที่ถูกจี้ พุ่งเข้าชนอาคารเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ ในนครนิวยอร์ก ระหว่างเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 คำว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นคำที่ยังไม่มีการจำกัดความในกฎหมายอาญาที่มีผลผูกมัดตามกฎหมายและได้รับการยอมรับอย่างสากลAngus Martyn,, Australian Law and Bills Digest Group, Parliament of Australia Web Site, 12 February 2002.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและการก่อการร้าย · ดูเพิ่มเติม »

การเกณฑ์ทหาร

ม่มีข้อมูล การเกณฑ์ (conscription) เป็นการรับสมัครบุคคลโดยบังคับในราชการบางอย่างของชาติ ซึ่งเป็นราชการทหารมากที่สุด การเกณฑ์มีมาแต่โบราณ และปัจจุบันยังคงอยู่ในบางประเทศโดยมีชื่อหลากหลาย ระบบการเกณฑ์ชายหนุ่มแทบทุกคน (near-universal) ทั่วประเทศสมัยใหม่มีมาแต่การปฏิวัติฝรั่งเศสในคริสต์ทศวรรษ 1790 ซึ่งการเกณฑ์ทหารได้กลายมาเป็นพื้นฐานของกองทัพขนาดใหญ่และทรงพลัง ภายหลังชาติยุโรปส่วนมากลอกระบบดังกล่าวในยามสงบ ฉะนั้นชายที่มีอายุตามกำหนดต้องรับราชการ 1–8 ปีในกองประจำการ แล้วจึงโอนไปกองเกิน การเกณฑ์ทหารเป็นที่ถกเถียงกันด้วยหลายเหตุผล รวมทั้งการคัดค้านการสู้รบโดยอ้างมโนธรรมบนเหตุผลด้านศาสนาหรือปรัชญา การคัดค้านทางการเมือง ตัวอย่างเช่น การรับราชการรัฐบาลหรือสงครามซึ่งไม่เป็นที่นิยม และการคัดค้านทางอุดมการณ์ ตัวอย่างเช่น เป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลที่รับรู้ บางครั้งผู้ถูกเกณฑ์ทหารอาจหลบเลี่ยงราชการโดยการออกนอกประเทศ ระบบการคัดเลือกบางระบบปรับให้เข้ากับทัศนคติเหล่านี้โดยการจัดราชการทางเลือกที่ไม่ใช่บทบาทปฏิบัติการรบหรือไม่ใช่ทหารอย่างสิ้นเชิง เช่น ซีวิลดีนสท์ (ราชการพลเรือน) ในประเทศออสเตรียและสวิสเซอร์แลนด์ ประเทศที่แยกออกจากสหภาพโซเวียตส่วนมากเกณฑ์ทหารไม่เพียงเข้ากองทัพเท่านั้น แต่รวมถึงองค์การกึ่งทหารซึ่งมีหน้าที่ในราชการเฉพาะในประเทศคล้ายตำรวจ (หน่วยทหารภายใน) หรือหน้าที่กู้ภัย (หน่วยป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน) ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวมานี้ไม่ถือว่าเป็นทางเลือกของการเกณฑ์ทหาร ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 หลายประเทศไม่เกณฑ์ทหารอีกต่อไป แต่อาศัยทหารอาชีพที่มาจากอาสาสมัครที่ได้รับสมัครตามความต้องการกำลังพล อย่างไรก็ดี หลายรัฐที่ได้ยกเลิกการเกณฑ์ทหารไปแล้วยังสงวนอำนาจที่จะรื้อฟื้นการเกณฑ์ทหารในยามสงครามหรือเกิดวิกฤตการณ.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและการเกณฑ์ทหาร · ดูเพิ่มเติม »

กุสตาฟ มาห์เลอร์

กุสตาฟ มาห์เลอร์ ในวัยเด็ก กุสตาฟ มาห์เลอร์ (เกิด 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1860 - เสียชีวิต 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1911) เป็นคีตกวีและวาทยกรชาวโบฮีเมียน-ออสเตรียน มาห์เลอร์เป็นที่รู้จักในยุคของเขา ในฐานะวาทยากรชื่อดังแห่งยุค แต่ในปัจจุบัน เขากลับเป็นที่ยอมรับในฐานะคีตกวีแห่งยุคนีโอโรแมนติก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากซิมโฟนี และบทเพลงในลักษณะซิมโฟนี เช่น เพลง Das Lied von der Erde (บทเพลงแห่งโลก) ที่เป็นจุดสุดยอดของบทเพลงขับร้องที่เขาประพันธ์ ส่วนซิมโฟนีหมายเลข 3 ความยาว 95 นาที นับเป็นซิมโฟนีที่ยาวที่สุดที่เคยมีการเปิดแสดง และยังชื่อได้ว่าเป็นซิมโฟนีที่ยาวที่สุดในบรรดาซิมโฟนีทั้งหลายอีกด้ว.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและกุสตาฟ มาห์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฐิติมา สุตสุนทร

ติมา สุตสุนทร (4 กันยายน พ.ศ. 2504 − 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) ชื่อเล่น แหวน เป็นนักร้องและนักแสดงหญิงชาวไท.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและฐิติมา สุตสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษี

ษี (tax, มาจากภาษาละติน taxo, "ข้าประเมิน") เป็นเงินหรือสิ่งของอื่นที่รัฐหรือสถาบันปฏิบัติหน้าที่เทียบเท่ารัฐเรียกเก็บจากผู้เสียภาษี ซึ่งอาจเป็นปัจเจกบุคคลหรือนิติบุคคลก็ได้ กฎหมายมีบทลงโทษผู้ที่ไม่เสียภาษี ระบอบต่ำกว่ารัฐ (subnational entity) จำนวนมากยังมีการเรียกเก็บภาษีเช่นกัน ภาษีประกอบด้วยภาษีทางตรงและภาษีทางอ้อม และอาจจ่ายเป็นรูปตัวเงินหรือการใช้แรงงานที่เทียบเท่า (มักเป็นการใช้แรงงานที่ไม่มีค่าตอบแทน แต่ไม่เสมอไป) ภาษีอาจนิยามได้ว่า "ภาระที่เป็นตัวเงินซึ่งตกแก่ปัจเจกบุคคลหรือเจ้าของทรัพย์สินเพื่อสนับสนุนรัฐบาล เป็นการชำระซึ่งเรียกเอาจากองค์การใช้อำนาจนิติบัญญัติ"Black's Law Dictionary, p. 1307 (5th ed. 1979).

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและภาษี · ดูเพิ่มเติม »

มอริส เค

มอร์ริส เค หรือชื่อจริงว่า มอร์ริสเค คริสตชน (ชื่อเดิม: พนมชัย สมัครพันธ์; เกิด: 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2508) เป็นนักแสดง นายแบบ และพิธีกรลูกครึ่งไทย-อเมริกัน เข้าสู่วงการจากการประกวดโดมอนแมนเมื่อปี..

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและมอริส เค · ดูเพิ่มเติม »

รัฐฮาวาย

รัฐฮาวาย (Hawaii,, ภาษาฮาวาย: Hawaii) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ในหมู่เกาะฮาวายในมหาสมุทรแปซิฟิก ฮาวายได้รวมเข้ากับสหรัฐอเมริกาเป็นลำดับสุดท้ายคือลำดับที่ 50 ในวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2502 (ค.ศ. 1959) โดยฮาวายตั้งห่างจากชายฝั่งสหรัฐอเมริกาประมาณ 3,700 กม.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและรัฐฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

ริงโก สตาร์

ซอร์ ริชาร์ด สตาร์คีย์ จูเนียร์ (Sir Richard Starkey, Jr.; เกิด: 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1940) หรือมีชื่อที่เป็นที่รู้จักคือ ริงโก สตาร์ (Ringo Starr) เป็นนักดนตรี นักร้อง-นักแต่งเพลง และนักแสดงชาวอังกฤษ เป็นที่รู้จักที่สุดในฐานะมือกลองวงเดอะบีทเทิลส์ สตาร์เป็นคนสุดท้ายที่เข้ามาร่วมวงเดอะบีทเทิลส์ แทนที่ พีต เบสต์ เขาเป็นสมาชิกที่แก่ที่สุดอันดับสองของวง ถัดจากสจ๊วต ซัตคลิฟฟ์ สตาร์เป็นมือกลองใหักับวงเดอะบีทเทิลส์ แต่ก็ประสบความสำเร็จในการเป็นนักแต่งเพลงให้กับวง อย่างเช่น "Don't Pass Me By" และ "Octopus's Garden" และยังได้ร้องนำในเพลงอย่างเช่น "Yellow Submarine", "With a Little Help from My Friends", "What Goes On", "I Wanna Be Your Man", "Boys", "Act Naturally", "Honey Don't", and "Good Night" รวมถึงประสบความสำเร็จในฐานะศิลปินเดี่ยว กับเพลงดังอย่าง "It Don't Come Easy", "Photograph" และ "You're Sixteen" นอกจากนี้สตาร์ยังร่วมแสดงในรายการ Thomas and Friends ระหว่างปี 1984 -1986.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและริงโก สตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ. 2549) และประมาณ 12 - 14 ล้านคนถ้ารวมนครหลวงลอนดอนและปริมณฑล ลอนดอนเป็นเมืองที่ประกอบด้วยหลายชนชาติอย่างมาก ประชากรมีความหลากหลายทั้งด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ซึ่งประมาณว่ามีมากกว่า 300 ภาษา เราเรียกชาวลอนดอนว่า ลอนดอนเนอร์ (Londoner) ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมในระดับนานาชาติ และเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของทวีปยุโรป โดยสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในลอนดอน คือ ท่าอากาศยานนานาชาติฮีทโธรว.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

วสันต์ อุตตมะโยธิน

วสันต์ อุตตมะโยธิน ชื่อเล่น โหน่ง เป็นนักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและวสันต์ อุตตมะโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

วันเอกราช

วันประกาศเอกราช หรือ วันได้รับเอกราช เป็นวันเฉลิมฉลองเพื่อระลึกถึงสถานภาพความเป็นรัฐของชาติ โดยทั่วไปเกิดขึ้นหลังจากรอดพ้นจากการตกเป็นอาณานิคมของรัฐอื่น ส่วนใหญ่กำหนดให้เป็นวันหยุดของชาต.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและวันเอกราช · ดูเพิ่มเติม »

วิตตอรีโอ เด ซีกา

วิตตอรีโอ เด ซีกา (Vittorio De Sica; 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1901 – 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1974) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์และนักแสดงชาวอิตาลี เป็นผู้นำในการเคลื่อนไหวสัจนิยมแนวใหม่ ภาพยนตร์ที่เขากำกับ 4 เรื่องได้รับรางวัลออสการ์ Sciuscià และ Bicycle Thieves ได้รับรางวัลเกียรติยศ ส่วน Ieri, oggi, domani และ Il giardino dei Finzi Contini ได้รับรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ต่างประเทศยอดเยี่ยม ซึ่งจากเสียงวิจารณ์ด้านบวกของความสำเร็จของ Sciuscià (ภาพยนตร์เรื่องแรกที่ได้รางวัลสาขานี้) และ Bicycle Thieves ได้ทำให้สถาบันเพิ่มสาขารางวัลต่างประเทศนี้อย่างถาวร ภาพยนตร์ทั้ง 2 เรื่องนี้ยังเป็นที่ยอมรับว่าเป็นส่วนหนึ่งของภาพยนตร์คลาสสิก เด ซีกา เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม ในภาพยนตร์ปี 1957 ผลงานกำกับของชาลส์ วิดอร์จากงานดัดแปลงของเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ในเรื่อง A Farewell to Arms.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและวิตตอรีโอ เด ซีกา · ดูเพิ่มเติม »

วิเวียน ลีห์

วิเวียน ลีห์, เลดีโอลิวีเอร์ (Vivien Leigh, Lady Olivier; 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1913 - 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1967) นักแสดงชาวอังกฤษ เธอได้รับ 2 รางวัลนักแสดงหญิงยอดเยี่ยมรางวัลออสการ์จากบทหญิงสาวสวยมีฐานะทางตอนใต้ ที่ชื่อ สการ์เลตต์ โอ'ฮารา ใน Gone with the Wind (1939) และบทแบลนซ์ ดูบัวในภาพยนตร์ ''A Streetcar Named Desire'' (1951) บทนี้เธอยังได้แสดงบนละครเวทีในเวสต์เอนด์ ลอนดอนอีกด้วย เธอมีผลงานการแสดงละครเวทีมากมาย โดยมากมีการร่วมงานกับสามีของเธอ ลอเรนซ์ โอลิเวียร์ ที่กำกับให้เธอหลายบทบาท ในอาชีพนักแสดงละครเวที 30 ปี เธอแสดงในบทที่มีความหลากหลายตั้งแต่วีรสตรีของ โนเอล โควาร์ด ไปถึงงานตลกขบขันของจอร์จ เบอร์นาร์ด ไปถึงตัวละครของเชกสเปียร์ อย่างเช่น โอฟีเลีย คลีโอพัตรา จูเลียต และเลดี้ แม็กเบธ กับเสียงชมด้านความงาม ลีห์รู้สึกว่าในบางครั้งก็กีดกันเธอให้เธอลงลึกด้านการแสดงอย่างจริงจัง แต่ด้วยปัญหาด้านสุขภาพก็เป็นอุปสรรคของเธอมากที่สุด เป็นผลต่อโรคอารมณ์แปรปรวนของเธอในวัยมีอายุOlivier, Laurence, Confessions Of an Actor, Simon and Schuster, 1982, ISBN 0-14-006888-0 p 174 เธอมีชื่อเสียงมากขึ้นในเรื่องการร่วมงานกับเธอที่ยากลำบาก และยุคของเธอก็ได้ถดถอยลงไป เธอมีอาการเจ็บป่วยกับอาการวัณโรคเรื้อรังในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1940 เธอหย่าร้างกับโอลิเวียร์ในปี 1960 และลีห์ทำงานด้านภาพยนตร์และละครเวทีบางครั้งบางคราว จนเธอเสียชีวิตด้วยโรควัณโรคในปี 1967.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและวิเวียน ลีห์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณย์รัชต์ ดีน

รัณย์รัชต์ ดีน (สกุลเดิม: วิสุทธิธาดา) หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม ลีเดีย (Lydia) เกิดเมื่อ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 เป็นนักร้องหญิงสไตล์ R&B เจ้าของเพลงฮิต "ว่างแล้วช่วยโทรกลับ" คำว่า Lydia มีที่มาจากภาษาโปแลนด์ ซึ่งทั้งชื่อจริงและชื่อเล่นมีความหมายเดียวกันว่า “ความสำเร็จ”.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและศรัณย์รัชต์ ดีน · ดูเพิ่มเติม »

สศิรา ทวียนต์ชัย

รา ทวียนต์ชัย ชื่อเล่น แนน (เกิด 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2535) เป็นนักแสดงหญิงชาวไท.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและสศิรา ทวียนต์ชัย · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง

งครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง (Second Sino-Japanese War;; 日中戦争) ระหว่างวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 ถึงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2488 เป็นสงครามระหว่างจีนกับญี่ปุ่น เกิดขึ้นก่อนสงครามโลกครั้งที่สองต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สองเรียกว่า "สงครามแปซิฟิก" และดำเนินเรื่อยมาจนยุติลงพร้อมกับสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นสงครามที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ย้อนกลับไปใน พ.ศ. 2474 ญี่ปุ่นได้เข้ารุกรานแมนจูเรีย ซึ่งเหตุการณ์นี้เรียกว่ากรณีมุกเดน ทำให้ญี่ปุ่นสามารถเข้าไปมีอิทธิพลในดินแดนจีนแผ่นดินใหญ่ได้ จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์ ณ สะพานมาร์โค โปโล อันเป็นจุดเริ่มต้นอย่างเป็นทางการของสงครามครั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มต้นสงครามจนถึง..

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโซโลมอน

หมู่เกาะโซโลมอน (Solomon Islands) เป็นประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศปาปัวนิวกินี และเป็นส่วนหนึ่งของเครือจักรภพ ประกอบด้วยเกาะต่าง ๆ กว่า 990 เกาะ ซึ่งมีพื้นที่รวมกัน 28,000 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและหมู่เกาะโซโลมอน · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟรโด ดิ เอสเตฟาโน

อัลเฟรโด เอสเตฟาโน ดิ เอสเตฟาโน เลาเล (Alfredo Stéfano Di Stéfano Laulhé) เกิดเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและอัลเฟรโด ดิ เอสเตฟาโน · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์

อาร์เธอร์ อิกเนเชียส โคนัน ดอยล์ (Arthur Ignatius Conan Doyle) เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1859 ในเมืองเอดินบะระ แคว้นสกอตแลนด์ แห่งสหราชอาณาจักร และถึงแก่กรรม เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1930 เป็นนักเขียนเรื่องสั้น นวนิยาย ประวัติศาสตร์ และแพทย์คนสำคัญของสกอตแลนด์ แต่ผลงานที่สร้างชื่อเสียงมากที่สุด คือนิยายรหัสคดีชุด "เชอร์ล็อก โฮมส์" โคนัน ดอยล์ได้รับการศึกษาจากคณะเยซูอิต ที่วิทยาลัยสโตนีเฮิสต์ และจบการแพทย์จากมหาวิทยาลัยเอดินบะระ เมื่อปี ค.ศ. 1881 แล้วประกอบอาชีพแพทย์ตามที่ได้ร่ำเรียนมา ขณะเดียวกันก็ได้เริ่มงานเขียนเล็ก ๆ น้อย ๆ อย่างสม่ำเสมอ เรื่องสั้นเรื่องแรกของเขาได้รับตีพิมพ์ในวารสารแชมเบอร์ (Chambers) เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1879 และเขียนสารคดีเรื่องแรก ในวารสารการแพทย์ "British Medical Journal" ในเดือนเดียวกัน เรื่องที่ไม่ได้ตีพิมพ์เรื่องหนึ่งในช่วงนั้น แสดงถึงการทดลองด้วยคุณลักษณะ 2 อย่าง คือ การใช้ตัวเอกที่มีความรู้ในศาสตร์ลับ และคนเล่าเรื่องที่ไม่มีความเชี่ยวชาญด้านใด แต่พัฒนาการของแนวคิดดังกล่าวก้าวถึงจุดสูงสุดเมื่อปี ค.ศ. 1886 และสร้างสีสันมีชีวิตชีวามาก จากเรื่อง "A Study in scarlet" เป็นเรื่องของนักสืบชื่อเชอร์ล็อก โฮลมส์ และเพื่อนชื่อหมอวัตสัน ด้วยการสร้างบทสนทนาที่สนุกสนาน น่าติดตาม ทำให้เรื่องของเขาเป็นที่นิยมกันอย่างกว้างขวาง และตีพิมพ์เป็นเรื่องสั้นกว่า 56 เรื่อง และนวนิยาย 4 เรื่อง โดยได้รับแนวคิดจาก "Socrates and his disciples" ของเพลโต และ "Don Quixote" ของเซอร์บันเตส เป็นต้น โคนัน ดอยล์ยังถือว่าเป็นหนี้ความรู้ของเอ็ดก้าร์ แอลลแลน โป (Edgar Allan Poe) บิดาแห่งรหัสคดี แต่การสร้างสรรค์เรื่องของโคนัน ดอยล์ทำให้นวนิยายชุดเชอร์ล็อก โฮมส์มีความแตกต่างจากนิยายสืบสวนทั่วไป และกลายเป็นนิยายรหัสคดียิ่งใหญ่ในชั่วเวลาไม่นาน เขาให้เขียนให้โฮมส์เสียชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1893 เพื่อจบนิยายชุดนี้ แต่ต้องแต่งเรื่องให้โฮมส์กลับมาอีกครั้ง ตามคำเรียกร้องของบรรดานักอ่านของเขา เรื่องยาวของโคนัน ดอยล์ได้แก่เรื่องเล่าสมัยกลาง เกี่ยวกับทหารในคริสต์ศตวรรษที่ 14 การปฏิวัติรัฐประหารในประเทศต่าง ๆ แต่ดูเหมือนเรื่องสั้นของเขาจะเป็นที่รู้จักและนิยมกันมากกว่า งานของเขายังมีเรื่องราวการผจญภัยกึ่งนิยายวิทยาศาสตร์ อย่างเรื่องสั้นชุด "Professor Challenger" เป็นต้น โคนัน ดอยล์นั้นได้ทำหน้าที่เป็นแพทย์เรื่อยมาตั้งแต่จบการศึกษา และเลิกอาชีพนี้ไปทำงานด้านวรรณกรรมเมื่อปี ค.ศ. 1891 จากนั้นย้ายไปอยู่ที่ลอนดอน และต่อมาได้ย้ายไปที่เมืองซัสเซ็กซ์ และเอสเซ็กซ์ เมื่อ ปี ค.ศ. 1902 โคนัน ดอยล์ได้รับพระราชทานยศอัศวิน อันเนื่องมาจากการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ โดยเฉพาะในสงครามแอฟริกา หลังจากบุตรชายของเขาเสียชีวิตในสงครามโลกครั้งที่ 1 (ซึ่งเขาได้เขียนประวัติเหตุการณ์ต่าง ๆ เอาไว้) เขาเริ่มสนใจเรื่องธรรมะ ซึ่งมีผลต่อเรื่องสยองขวัญของเขาด้วย โคนัน ดอยล์เสียชีวิตเมื่อปี 1930 อายุได้ 71 ปี ผ่านการสมรส 2 ครั้ง และมีบุตร 5 คน.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและอาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌาน ดาร์ก

น ดาร์ก (IPA) หรือโจนออฟอาร์ก (ราว 6 มกราคม ค.ศ. 1412 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1431) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญโยนออฟอาร์ค เป็นวีรสตรีของฝรั่งเศสและเป็นนักบุญในนิกายโรมันคาทอลิก โจนมาจากครอบครัวชาวนาที่เกิดทางตะวันออกของฝรั่งเศสและเป็นผู้นำกองทัพฝรั่งเศสในสงครามร้อยปีหลายครั้งที่ได้รับชัยชนะต่อฝ่ายอังกฤษโดยอ้างว่ามีพระเจ้าเป็นผู้ชี้ทาง และเป็นผู้มีส่วนทางอ้อมในการขึ้นครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 โจนถูกจับโดยฝ่ายเบอร์กันดีและถูกขายให้แก่ฝ่ายอังกฤษ ถูกพิจารณาคดี และถูกเผาทั้งเป็นในข้อหาว่าเป็นพวกนอกรีตเมื่ออายุ 19 ปี ยี่สิบสี่ปีต่อมาพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 ไม่ทรงสามารถที่จะแสดงพระองค์ว่าทรงได้รับอำนาจมาจากผู้ที่ถูกประณามว่าเป็นผู้นอกรีต สมเด็จพระสันตะปาปาคาลิกซ์ตุสที่ 3 จึงทรงมีคำสั่งให้มีตั้งศาลใหม่ในการพิจารณาการดำเนินการการพิจารณาคดีและการตัดสินของศาลแรก ศาลสรุปว่าฌานเป็นผู้บริสุทธิ์ และทางวาติกันประกาศให้ฌานเป็น “มรณสักขี”w:fr:Jeanne d'ArcAndrew Ward (2005) ในปี..

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและฌาน ดาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

จ้าวสิงห์ทอง นครหลวงโปรโมชั่น

้าวสิงห์ทอง นครหลวงโปรโมชั่น หรือ บุญเรือง คลายโศก เกิดเมื่อ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2514 ที่จังหวัดบุรีรัมย์ สถิติการชก 35 ครั้ง ชนะ 29 (น็อค 19) เสมอ 1 แพ้.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและจ้าวสิงห์ทอง นครหลวงโปรโมชั่น · ดูเพิ่มเติม »

ทะนะบะตะ

ทานาบาตะ (หมายถึงยามเย็นของวันที่เจ็ด) เป็นเทศกาลเฉลิมฉลองตามดวงดาวของญี่ปุ่น มีต้นกำเนิดมาจากงานเทศกาลเจ็ดนางฟ้าของจีน เนื่องจากการพบกันของนางฟ้าโอริฮิเมะ (ดาวเวกา) และฮิโกโบชิ (ดาวอัลแทร์) ผู้เลี้ยงวัวบนสวรรค์ โดยอ้างอึงจากตำนานในอดีตว่าทางช้างเผือกคือแม่น้ำของดวงดาวพาดผ่านท้องฟ้า ได้แยกคู่รักคือโอริฮิเมะและฮิโกโบชิไม่ให้ได้อยู่กินด้วยกันฉันสามีภรรยา แต่อนุญาตให้พบกันเพียงปีละหนึ่งครั้งในวันที่เจ็ดของเดือนที่เจ็ดตามปฏิทินสุริยจันทรคติ เทศกาลเฉลิมฉลองมีขึ้นตอนกลางคืนของวันนั้น.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและทะนะบะตะ · ดูเพิ่มเติม »

ดอลลาร์สหรัฐ

100 ดอลลาร์สหรัฐ ธนบัตรที่มีค่ามากสุดในสหรัฐในปัจจุบัน ดอลลาร์สหรัฐ (United States dollar; ในเอกสารเก่าอาจพบการใช้ เหรียญสหรัฐ) เป็นสกุลเงินของประเทศสหรัฐอเมริกา และยังใช้เป็นสกุลเงินสำรองในหลายประเทศทั่วโลก รหัสสากลคือ ISO 4217 ใช้ตัวย่อว่า USD และสัญลักษณ์ $ โดย 1 ดอลลาร์สหรัฐมีค่าเท่ากับเกือบ 34 บาท (baht) สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งที่ใช้หน่วยเงิน ดอลลาร์ เป็นสกุลเงินประจำชาติ และยังมีประเทศอื่นที่มีเงินดอลลาร์เช่นกัน แต่ใช้ชื่อเรียกอื่น เช่น ดอลลาร์สิงคโปร์ ดอลลาร์ฮ่องกง ดอลลาร์ไต้หวัน นอกจากนี้ ดอลลาร์สหรัฐ ยังเป็นสกุลเงินหลักในหลายประเทศ และในบางประเทศถึงแม้ว่าดอลลาร์สหรัฐไม่ใช่สกุลเงินหลัก แต่ยังมีการยอมรับในการใช้จ่ายสินค้าทั่วไป ชื่อเล่นที่ชาวอเมริกันเรียก 1 เซนต์ ว่า "เพนนี" (penny), 5 เซนต์ ว่า "นิกเกิล" (nickel), 10 เซนต์ ว่า "ไดม์" (dime), 25 เซนต์ ว่า "ควอเตอร์" (quarter), 1 ดอลลาร์สหรัฐ ว่า "บั๊ก (ภาษาสแลง, ภาษาพูด)" (buck) และเรียก หนึ่งพันดอลลาร์สหรัฐ ว่า แกรนด์ (grand).

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและดอลลาร์สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คริสตอฟ ดินเซนฮอฟเฟอร์

วัดเซ็นต์นิโคลัส (ปราก) คริสตอฟ ดินเซนฮอฟเฟอร์ (ภาษาเยอรมนี: Christoph Dientzenhofer; ภาษาเช็ก: Kryštof Dientzenhofer) เกิดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1665 ที่เมืองเซ็นต์มากาเร็ตเธ็น (St. Margarethen) รัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี ตายเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1722 ที่เมืองปราก (Prague) สาธารณรัฐเช็ก คริสตอฟเป็นสถาปนิกบาโรกแบบโบฮีเมีย เป็นสมาชิกคนหนึ่งของตระกูลดินเซนฮอฟเฟอร์ซึ่งเป็นตระกูลที่มีชื่อเสียงทางสถาปัตยกรรม และเป็นพ่อของ คิลเลียน อิกนาซ (Kilian Ignaz) คริสตอฟเป็นลูกชายคนหนึ่งในเจ็ดคนของ จอร์จ ดินเซนฮอฟเฟอร์ (Georg Dientzenhofer) และ แอนนา แธนเนอร์ (Anna Thanner).

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและคริสตอฟ ดินเซนฮอฟเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินสุริยคติ

รัญ 209 Dido ปฏิทินสุริยคติ (อังกฤษ: solar calendar) คือ ปฏิทินที่สอดคล้องกับฤดูกาลและเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์ ความยาวนานของปีโดยเฉลี่ยมีค่าใกล้เคียงกับปีฤดูกาล ปฏิทินสุริยคติ ได้แก.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและปฏิทินสุริยคติ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2125 (ค.ศ. 1582) เหตุที่มีการคิดค้นปฏิทินเกรกอเรียนขึ้นใช้แทน เนื่องจากปีในปฏิทินจูเลียน ซึ่งยาวนาน 365.25 วันนั้น มีนานกว่าปีฤดูกาลจริง (365.2425 วัน) อยู่เล็กน้อย ทำให้วันวสันตวิษุวัตของแต่ละปี ขยับเร็วขึ้นทีละน้อย เพื่อที่จะให้วันอีสเตอร์ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม (วันวสันตวิษุวัต) จึงจำเป็นต้องปฏิรูปปฏิทิน เนื่องจากสมเด็จพระสันตะปาปาทรงปรับปรุงปฏิทินโดยมีผลย้อนหลัง กำหนดให้ถัดจากวันที่ 4 ตุลาคม..

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและปฏิทินเกรโกเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลักเซมเบิร์ก

ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg; ลักเซมเบิร์ก: Lëtzebuerg; Luxembourg; Luxemburg) หรือชื่อทางการคือ ราชรัฐลักเซมเบิร์ก (Grand Duchy of Luxembourg; ลักเซมเบิร์ก: Groussherzogtum Lëtzebuerg; Grand-Duché de Luxembourg; Großherzogtum Luxemburg) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป มีพรมแดนด้านตะวันออกติดกับประเทศเยอรมนี ด้านใต้ติดกับฝรั่งเศส และด้านตะวันตกติดกับเบลเยียม.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและประเทศลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินา

อาร์เจนตินา (อังกฤษและArgentina อารฺเฆนตีนา (สเปน)) หรือชื่อทางการ สาธารณรัฐอาร์เจนตินา (Argentine Republic; República Argentina) เป็นหนึ่งในประเทศในทวีปอเมริกาใต้ (ลาตินอเมริกา) ตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาแอนดีสทางทิศตะวันตก และมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ทางทิศตะวันออกและทิศใต้ มีพรมแดนจดประเทศปารากวัยและประเทศโบลิเวียทางภาคเหนือ จดประเทศอุรุกวัยและประเทศบราซิลทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจดประเทศชิลีทางภาคตะวันตกและภาคใต้ อาร์เจนตินาเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ของทวีปอเมริกาใต้ รองจากบราซิล และมีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและประเทศอาร์เจนตินา · ดูเพิ่มเติม »

ปัมโปลนา

ปัมโปลนา (Pamplona) หรือ อิรุญญา (Iruña) เป็นเมืองโบราณ เมืองหลักของแคว้นนาวาร์ ประเทศสเปน มีชื่อเสียงจากการมีงานเทศกาลเพื่อเฉลิมฉลองนักบุญเฟร์มิน จัดขึ้นทุกปีระหว่างวันที่ 6 ถึง 14 กรกฎาคม โดยปล่อยให้ฝูงวัวกระทิงวิ่งไปตามถนนในเมืองและประชาชนเข้าล่อให้วัวกระทิงขวิดด้วยความสนุกสนาน เชื่อว่าสร้างขึ้นโดยขุนพลชาวโรมันชื่อ ปอมเปย์ เมื่อราว 75-74 ปีก่อนคริสต์ศักราช ต่อมาถูกรุกรานโดยพวกวิซิกอทและตกอยู่ใต้อำนาจของพวกมัวร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 จนพระเจ้าชาร์เลอมาญ กษัตริย์ของพวกแฟรงก์ซึ่งต่อมาได้เป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ได้ยึดเมืองนี้จากพวกมัวร์ ในปี..

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและปัมโปลนา · ดูเพิ่มเติม »

ปีอธิกสุรทิน

ปีอธิกสุรทิน (leap year) เป็นปีที่มีการเพิ่มหนึ่งวัน (หรือหนึ่งเดือนในกรณีของปฏิทินสุริยจันทรคติ) เพื่อให้ปีปฏิทินสอดคล้องกับปีดาราศาสตร์หรือปีฤดูกาล เพราะฤดูกาลและเหตุการณ์ทางดาราศาสตร์มิได้เกิดซ้ำในจำนวนเต็มวัน ปฏิทินซึ่งมีจำนวนวันในแต่ละปีเท่าเดิมจึงต้องเลื่อนให้ตรงกับเหตุการณ์ที่ปฏิทินควรจะติดตามเมื่อเวลาผ่านไป โดยการแทรกวันหรือเดือนเพิ่มเข้าไปในปีนั้น การเลื่อนจึงสามารถทำให้ถูกต้องได้ ปีที่มิใช่ปีอธิกสุรทิน เรียกว่า ปีปกติสุรทิน (common year) ตัวอย่างเช่น ในปฏิทินเกรโกเรียน (ปฏิทินสุริยคติสามัญ) เดือนกุมภาพันธ์ในปีอธิกสุรทินมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วันตามปกติ ดังนั้น ปีดังกล่าวจึงมี 366 วัน แทนที่จะมี 365 วันตามปกติ คล้ายกัน ในปฏิทินฮีบรู (ปฏิทินสุริยจันทรคติ) เดือนจันทรคติที่ 13 มีการเพิ่มเจ็ดครั้งทุก 19 ปี เข้าไปในเดือนจันทรคติสิบสองเดือนในปีปกติสุรทินเพื่อให้ปีปฏิทินไม่คาดเคลื่อนจากฤดูกาลเร็วเกินไป.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและปีอธิกสุรทิน · ดูเพิ่มเติม »

นุศรา ต้อมคำ

นุศรา ต้อมคำ (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 —) เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย ตำแหน่งตัวเซต และเป็นหนึ่งในนักวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยที่ได้เล่นวอลเลย์บอลหญิงอาชีพในต่างประเทศ โดยได้ไปแข่งขันในระดับโลกหลายรายการ อาทิ เวิลด์กรังด์ปรีซ์ เวิลด์แชมเปี้ยนชิพ เวิลด์คั.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและนุศรา ต้อมคำ · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต เอ. ไฮน์ไลน์

รเบิร์ต เอ.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและโรเบิร์ต เอ. ไฮน์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

โตนนท์ วงศ์บุญ

ตนนท์ วงศ์บุญ เกิดวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2532 ที่ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นนักแสดงชาวไทย การศึกษาที่คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและโตนนท์ วงศ์บุญ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะไซปัน

แผนที่เกาะไซปัน เกาะไซปัน (サイパン島; Saipan) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาของสหรัฐอเมริกา ในมหาสมุทรแปซิฟิก มีเนื้อที่ประมาณ 115 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากเกาะกวมไปทางเหนือประมาณ 190 กิโลเมตร ในอดีตเกาะไซปันเคยเป็นถิ่นฐานของชาวยุโรปจากประเทศสเปน ต่อมาได้ถูกยึดครองโดยเยอรมนีตั้งปี..

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและเกาะไซปัน · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์สะพานมาร์โค โปโล

ำลองเหตุการณ์การรบในเหตุการณ์สะพานมาร์โค โปโล ในพิพิธภัณฑ์ฮ่องกง เหตุการณ์สะพานมาร์โค โปโล (Marco Polo Bridge Incident) คือการรบระหว่างกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นกับกองทัพคณะปฏิวัติแห่งชาติจีน เป็นจุดแตกหักที่ทำให้เกิดสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง (พ.ศ. 2480-2488) ตัวสะพานหินอ่อนสถานที่เกิดเหตุการณ์ มีชื่อว่า สะพานหลูโกว ที่มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สะพานมาร์โค โปโล โครงสร้างเป็นสถาปัตยกรรมโค้ง 11 โค้งอันสวยงาม ปฏิสังขรณ์โดยจักรพรรดิคังซี (พ.ศ. 2205-2265).

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและเหตุการณ์สะพานมาร์โค โปโล · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดในลอนดอน 7 กรกฎาคม 2548

ในช่วงเวลาเร่งด่วนตอนเช้าของวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 เกิดการระเบิดขึ้นสี่ครั้งต่อเนื่อง ที่กรุงลอนดอน ในอังกฤษ สหราชอาณาจักร รถไฟใต้ดินสามขบวนถูกวางระเบิดภายในช่วงเวลาครึ่งชั่วโมง จากนั้นอีกครึ่งชั่วโมงรถเมล์สองชั้นอีกหนึ่งคันก็ถูกระเบิด ได้รับการยืนยันว่ามีผู้เสียชีวิต 56 ศพ และผู้ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 700 คน เนื่องมาจากการก่อการร้ายนี้ ตัวเลขดังกล่าวคาดว่าน่าจะเพิ่มมากขึ้น เมื่อทางการได้ตรวจสอบผลอย่างละเอียด เหตุการณ์นี้ทำให้มีการสั่งปิดระบบรถไฟใต้ดินของลอนดอน และระบบรถประจำทาง รวมไปถึงถนนอีกหลายสายใกล้กับกับสถานีที่เกิดเหตุ เหตุระเบิดคราวนี้มีลักษณะใกล้เคียงกับ เหตุการณ์ระเบิดรถไฟที่มาดริด ประเทศสเปน เหตุก่อการร้ายนี้ เป็นการก่อการร้ายที่รุนแรงที่สุดที่เกิดขึ้นในสหราชอาณาจักร นับตั้งแต่การวางระเบิดเที่ยวบินแพนแอมที่ 103 เหนือเมืองล็อกเกอร์บี ในปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988).

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและเหตุระเบิดในลอนดอน 7 กรกฎาคม 2548 · ดูเพิ่มเติม »

เอะรินะ อิกุตะ

อะรินะ อิกุตะ (Ikuta Erina; เกิด 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) เป็นนักร้องหญิงชาวญี่ปุ่นสังกัดค่าย "เฮลโล! โปรเจกต์" ปัจจุบันเธอคือหนึ่งในสมาชิกรุ่นที่เก้าแห่งกลุ่มนักร้องหญิงเจ-ป็อป "มอร์นิงมุซุเมะ" และเป็นหนึ่งในสมาชิก ฮาร์เวสต์ และไฮ-แฟน ซึ่งเป็นกลุ่มนักร้องผสมของเฮลโล! โปรเจกต.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและเอะรินะ อิกุตะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงปูรณิกาแห่งเนปาล

้าหญิงปูรณิการาชยลักษมีเทวีศาหะ (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2543) เป็นพระราชธิดาในเจ้าชายปารัส มกุฎราชกุมารแห่งเนปาล กับเจ้าหญิงหิมานี มกุฎราชกุมารีแห่งเนปาล และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระ พระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งเนปาล.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและเจ้าหญิงปูรณิกาแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤศจิกายน

วันที่ 13 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 317 ของปี (วันที่ 318 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 48 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและ13 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและ15 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤษภาคม

วันที่ 18 พฤษภาคม เป็นวันที่ 138 ของปี (วันที่ 139 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 227 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและ18 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤษภาคม

วันที่ 22 พฤษภาคม เป็นวันที่ 142 ของปี (วันที่ 143 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 223 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและ22 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤษภาคม

วันที่ 25 พฤษภาคม เป็นวันที่ 145 ของปี (วันที่ 146 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 220 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและ25 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กรกฎาคม

วันที่ 4 กรกฎาคม เป็นวันที่ 185 ของปี (วันที่ 186 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 180 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและ4 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กันยายน

วันที่ 4 กันยายน เป็นวันที่ 247 ของปี (วันที่ 248 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 118 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและ4 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

5 พฤศจิกายน

วันที่ 5 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 309 ของปี (วันที่ 310 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 56 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและ5 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤษภาคม

วันที่ 8 พฤษภาคม เป็นวันที่ 128 ของปี (วันที่ 129 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 237 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 7 กรกฎาคมและ8 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

7 ก.ค.๗ กรกฎาคม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »