โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโคและฟีเล (ยานอวกาศ)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง 67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโคและฟีเล (ยานอวกาศ)

67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโค vs. ฟีเล (ยานอวกาศ)

67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโค (67P/Churyumov–Gerasimenko) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า 67พี เป็นดาวหางที่มีคาบดาราคติ 6.45 ปี และมีคาบการหมุนรอบตัวเอง 12.4 ชั่วโมง มีความเร็วสูงสุด 135,000 กิโลเมตร/ชั่วโมง (38 กิโลเมตร/วินาที) ดาวหางมีขนาดราว 4.1 กิโลเมตร เช่นเดียวกับดาวหางอื่น ๆ ดาวหาง 67พี ได้รับการตั้งชื่อตามผู้ค้นพบ ซึ่งคือ คลิม ชูรูย์มอฟและสเวตลานา อีวานอฟนา เกราซีเมนโค นักดาราศาสตร์ชาวโซเวียต ซึ่งค้นพบดาวหางนี้เมื่อวันที่ 20 กันยายน.. ฟีเล หรือ ไฟลี (Philae) เป็นส่วนลงจอด (lander) หุ่นยนต์ขององค์การอวกาศยุโรปซึ่งไปกับยานอวกาศ โรเซตตา จนลงจอดบนดาวหาง 67พี/ชูรีวมอฟ-เกราซีเมนโค ที่กำหนด หลังออกจากโลกไปแล้วกว่าสิบปี เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2557 ส่วนลงจอดสามารถลงจอดควบคุม (controlled touchdown) บนนิวเคลียสดาวหางได้สำเร็จเป็นครั้งแรก คาดว่าอุปกรณ์จะได้ภาพแรก ๆ จากผิวดาวหางและทำการวิเคราะห์ ณ ที่เดิมเพื่อหาองค์ประกอบของดาวหาง ฟีเล ถูกเฝ้าติดตามและควบคุมจากศูนย์ปฏิบัติการอวกาศยุโรปที่ดาร์มชตัดท์ ประเทศเยอรมนี ส่วนลงจอดนี้ได้ชื่อตามเกาะไฟลีในแม่น้ำไนล์ซึ่งพบโอบิลิสก์ โดยโอบิลิสก์ดังกล่าวร่วมกับศิลาโรเซตตาถูกใช้ถอดอักษรไฮโรกลิฟอียิปต.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโคและฟีเล (ยานอวกาศ)

67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโคและฟีเล (ยานอวกาศ) มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): องค์การอวกาศยุโรปดาวหางนาซาเดอะนิวยอร์กไทมส์

องค์การอวกาศยุโรป

องค์การอวกาศยุโรป หรือ อีเอสเอ (European Space Agency, ESA; Agence spatiale européenne, ASE) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1975 โดยเป็นองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศในยุโรป มีเป้าหมายเพื่อการสำรวจอวกาศ ปัจจุบันมีสมาชิก 20 ประเทศ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีจำนวนพนักงานเกือบ 2,000 คน และมีงบประมาณประจำปีราว 2.9 พันล้านยูโรในปี..

67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโคและองค์การอวกาศยุโรป · ฟีเล (ยานอวกาศ)และองค์การอวกาศยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ดาวหาง

ดาวหางเฮล-บอปป์ ดาวหางเวสต์ ดาวหาง คือ วัตถุชนิดหนึ่งในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ มีส่วนที่ระเหิดเป็นแก๊สเมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดชั้นฝุ่นและแก๊สที่ฝ้ามัวล้อมรอบ และทอดเหยียดออกไปภายนอกจนดูเหมือนหาง ซึ่งเป็นปรากฏการณ์จากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ไปบนนิวเคลียสของดาวหาง นิวเคลียสหรือใจกลางดาวหางเป็น "ก้อนหิมะสกปรก" ประกอบด้วยน้ำแข็ง คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน แอมโมเนีย และมีฝุ่นกับหินแข็งปะปนอยู่ด้วยกัน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ไม่กี่กิโลเมตรไปจนถึงหลายสิบกิโลเมตร คาบการโคจรของดาวหางมีความยาวนานแตกต่างกันได้หลายแบบ ตั้งแต่คาบโคจรเพียงไม่กี่ปี คาบโคจร 50-100 ปี จนถึงหลายร้อยหรือหลายพันปี เชื่อว่าดาวหางบางดวงเคยผ่านเข้ามาในใจกลางระบบสุริยะเพียงครั้งเดียว แล้วเหวี่ยงตัวเองออกไปสู่อวกาศระหว่างดาว ดาวหางที่มีคาบการโคจรสั้นนั้นเชื่อว่าแต่เดิมเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในแถบไคเปอร์ที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ส่วนดาวหางที่มีคาบการโคจรยาวอาจมาจากแหล่งอื่น ๆ ที่ไกลจากดวงอาทิตย์ของเรามาก เช่นในกลุ่มเมฆออร์ตซึ่งประกอบด้วยเศษซากที่หลงเหลืออยู่จากการบีบอัดตัวของเนบิวลา ดาวหางเหล่านี้ได้รับแรงโน้มถ่วงรบกวนจากดาวเคราะห์รอบนอก (กรณีของวัตถุในแถบไคเปอร์) จากดวงดาวอื่นใกล้เคียง (กรณีของวัตถุในกลุ่มเมฆออร์ต) หรือจากการชนกัน ทำให้มันเคลื่อนเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์น้อยมีกำเนิดจากกระบวนการที่ต่างไปจากนี้ อย่างไรก็ดี ดาวหางที่มีอายุเก่าแก่มากจนกระทั่งส่วนที่สามารถระเหิดเป็นแก๊สได้สูญสลายไปจนหมดก็อาจมีสภาพคล้ายคลึงกับดาวเคราะห์น้อยก็ได้ เชื่อว่าดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกหลายดวงเคยเป็นดาวหางมาก่อน นับถึงเดือนพฤษภาคม..

67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโคและดาวหาง · ดาวหางและฟีเล (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all).

67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโคและนาซา · นาซาและฟีเล (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

เดอะนิวยอร์กไทมส์

อะนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่ตีพิมพ์ในนครนิวยอร์กและจัดจำหน่ายไปทั่วโลก จัดการโดยบริษัทเดอะนิวยอร์กไทมส์ซึ่งตีพิมพ์หนังสือพิมพ์อื่นๆอีก 15 ฉบับ รวมถึง International Herald Tribune และ The Boston Globe ด้วย เดอะนิวยอร์กไทมส์เป็นหนังสือพิมพ์มหานครที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีฉายาว่า "Gray Lady" (สุภาพสตรีสีเทา) ก็เพราะหน้าตาและสำนวนที่ขรึมขลัง ถูกเรียกว่าเป็นหนังสือพิมพ์ที่บันทึกแห่งการณ์ต่างๆของชาติ เพราะมันมักถูกใช้เป็นแหล่งอ้างอิงที่เป็นทางการและได้รับความเชื่อถือ ก่อตั้งเมื่อ..

67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโคและเดอะนิวยอร์กไทมส์ · ฟีเล (ยานอวกาศ)และเดอะนิวยอร์กไทมส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง 67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโคและฟีเล (ยานอวกาศ)

67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโค มี 14 ความสัมพันธ์ขณะที่ ฟีเล (ยานอวกาศ) มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 16.67% = 4 / (14 + 10)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโคและฟีเล (ยานอวกาศ) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »