โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

3 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2553

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง 3 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2553

3 กุมภาพันธ์ vs. พ.ศ. 2553

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 34 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 331 วันในปีนั้น (332 วันในปีอธิกสุรทิน). ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 3 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2553

3 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2553 มี 11 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2468พ.ศ. 2475พ.ศ. 2491พ.ศ. 2512พ.ศ. 2554พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชตรุษจีนปฏิทินเกรโกเรียนเจ้าหญิงเรกีนาแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน10 ตุลาคม6 มกราคม

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

3 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2468 · พ.ศ. 2468และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

3 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2475 · พ.ศ. 2475และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

3 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2491 · พ.ศ. 2491และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

3 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2512 · พ.ศ. 2512และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

3 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2554 · พ.ศ. 2553และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

3 กุมภาพันธ์และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · พ.ศ. 2553และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

ตรุษจีน

pinoy301770 ตรุษจีน เป็นวันหยุดตามประเพณีของจีนที่สำคัญที่สุด ในประเทศจีน ยังมีอีกชื่อหนึ่งว่า "เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ" เพราะฤดูใบไม้ผลิตามปฏิทินจีนเริ่มต้นด้วยวันลีชุน ซึ่งเป็นวันแรกในทางสุริยคติของปีปฏิทินจีน วันดังกล่าวยังเป็นวันสิ้นสุดฤดูหนาว ซึ่งคล้ายกันกับงานเทศกาลของตะวันตก เทศกาลนี้เริ่มต้นในวันที่ 1 เดือน 1 (正月) ในปฏิทินจีนโบราณและสิ้นสุดลงในวันที่ 15 ด้วยเทศกาลโคมไฟ คืนก่อนตรุษจีนเป็นวันซึ่งครอบครัวจีนมารวมญาติเพื่อรับประทานอาหารเย็นเป็นประจำทุกปี ซึ่งเรียกว่า ฉูซี่ (除夕) หรือ "การผลัดเปลี่ยนยามค่ำคืน" เนื่องจากปฏิทินจีนเป็นแบบสุริยจันทรคติ ตรุษจีนจึงมักเรียกว่า "วันขึ้นปีใหม่จันทรคติ" ตรุษจีนเป็นงานเฉลิมฉลองที่ยาวที่สุดและสำคัญที่สุดในปฏิทินจีน จุดกำเนิดของตรุษจีนนั้นมีประวัติหลายศตวรรษและมีความสำคัญเพราะตำนานและประเพณีหลายอย่าง ตรุษจีนมีการเฉลิมฉลองกันในหลายประเทศและดินแดนซึ่งมีประชากรจีนอาศัยอยู่มาก อย่างเช่น จีนแผ่นดินใหญ่ ฮ่องกง อินโดนีเซีย มาเก๊า มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไต้หวัน ไทย รวมทั้งในชุมชนชาวจีนที่อื่น ตรุษจีนถูกมองว่าเป็นวันหยุดสำคัญสำหรับชาวจีนและได้มีอิทธิพลต่อการเฉลิมฉลองการขึ้นปีใหม่จันทรคติของประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งรวมทั้งเกาหลี (โซลนาล) ภูฏาน และเวียดนาม ในประเทศจีน ธรรมเนียมและประเพณีท้องถิ่นเกี่ยวกับการเฉลิมฉลองตรุษจีนนั้นหลากหลายมาก ประชาชนจะเทเงินของตนเพื่อซื้อของขวัญ ของประดับตกแต่ง วัสดุ อาหารและเครื่องนุ่งห่ม นอกจากนี้ยังมีประเพณีว่า ทุกครอบครัวจะทำความสะอาดบ้านอย่างละเอียดลออ เพื่อปัดกวาดโชคร้ายด้วยหวังว่าจะเปิดทางให้โชคดีเข้ามา มีการประดับหน้าต่างและประตูด้วยกระดาษตัดสีแดงและคู่กับธีม "โชคดี", "ความสุข", "ความมั่งคั่ง" และ "ชีวิตยืนยาว" ที่ได้รับความนิยม ในคืนก่อนตรุษจีน อาหารค่ำเป็นการกินเลี้ยงกับครอบครัว อาหารนั้นจะมีเช่น หมู เป็ด ไก่และอาหารอย่างดี (delicacies) รสหวาน ครอบครัวจะปิดท้ายค่ำคืนด้วยประทัด เช้าวันรุ่งขึ้น เด็กจะทักทายบิดามารดาของตนโดยอวยพรพวกท่านให้มีสุขภาพดีและสวัสดีปีใหม่ และได้รับเงินอั่งเปา ประเพณีตรุษจีนนั้นเพื่อการสมานฉันท์ ลืมความบาดหมางและปรารถนาสันติและความสุขแก่ทุกคนอย่างจริงใจ แม้ปฏิทินจีนแต่โบราณไม่ใช้ปีตัวเลขต่อเนื่องกัน นอกประเทศจีน ปีจีนจึงมักนับเลขนับแต่รัชสมัยจักรพรรดิเหลือง แต่เนื่องจากมีการกำหนดให้อย่างน้อยสามปีเป็นเลข 1 ที่นักวิชาการใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน จึงทำให้ปี..

3 กุมภาพันธ์และตรุษจีน · ตรุษจีนและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2125 (ค.ศ. 1582) เหตุที่มีการคิดค้นปฏิทินเกรกอเรียนขึ้นใช้แทน เนื่องจากปีในปฏิทินจูเลียน ซึ่งยาวนาน 365.25 วันนั้น มีนานกว่าปีฤดูกาลจริง (365.2425 วัน) อยู่เล็กน้อย ทำให้วันวสันตวิษุวัตของแต่ละปี ขยับเร็วขึ้นทีละน้อย เพื่อที่จะให้วันอีสเตอร์ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม (วันวสันตวิษุวัต) จึงจำเป็นต้องปฏิรูปปฏิทิน เนื่องจากสมเด็จพระสันตะปาปาทรงปรับปรุงปฏิทินโดยมีผลย้อนหลัง กำหนดให้ถัดจากวันที่ 4 ตุลาคม..

3 กุมภาพันธ์และปฏิทินเกรโกเรียน · ปฏิทินเกรโกเรียนและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเรกีนาแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน

้าหญิงเรกีนาแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน (พระนามเต็ม: เจ้าหญิงเรกีนา เฮเลเนอ เอลีซาเบท มาร์กาเรเทอแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน; Regina Helene Elizabeth Margarete of Habsburg-Lorraine; 6 มกราคม พ.ศ. 2468 — 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553) ทรงเป็นสมาชิกราชวงศ์เวททิน และเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งออสเตรีย ฮังการี และโบฮีเมียแต่เพียงในนาม พระองค์เป็นพระธิดาพระองค์เล็กสุดในเจ้าชายเกออร์ก เจ้าชายแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน และเคาน์เตส คลารา มาเรียแห่งคอร์ฟ ชมิสซิง-เคอร์เซมบรอค พระองค์เป็นพระองค์เดียวที่มีบุตร เจ้าชายอันโทน อูริชพระเชษฐาของพระองค์ถูกปลงพระชนม์เมื่อพระชนมายุ 20 พรรษาคราวสงครามโลกครั้งที่ 2 ส่วนเจ้าชายฟรีดริช อัลเฟรดทรงบวชเป็นนักพรตคณะคาร์ทูเซียน ส่วนเจ้าหญิงมารี เอลิซาเบธ พระขนิษฐาพระองค์เดียวของพระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อพระชนมายุเพียง 3 พรรษา เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก ซึ่งเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรียและเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา ณ โบสถ์กอร์เดลีแยร์ ประเทศฝรั่งเศส และได้รับประทานพระพรจากสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 หลังจากการอภิเษกสมรส พระองค์ทรงรับพระอิสริยยศเป็น มกุฎราชกุมารีแห่งออสเตรีย นับตั้งแต่วันอภิเษกสมรส ทั้งสองพระองค์ทรงประทับอยู่ที่วิลล่าออสเตรีย มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า ไกเซอร์วิลล่า (Kaiservilla) ซึ่งคำว่า Kaiser ในภาษาเยอรมัน แปลว่า จักรพรรดิ ณ ทะเลสาบสตานเบิร์ก บาวาเรีย ประเทศเยอรมนี เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2548 พระองค์ทรงเข้ารับการรักษาพระอาการสมองที่โรงพยาบาลเมื่องแนนซี ประเทศฝรั่งเศส ทำให้หลายคนสงสัยว่าพระองค์อาจความจำเสื่อม อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 พระองค์ก็ยังจำทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นพระราชมารดา พระเชษฐา หรือแม้แต่พระบิดา เป็นต้น ในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 พระองค์ทรงสิ้นพระชนม์ สิริพระชนมายุ 85 พรรษ.

3 กุมภาพันธ์และเจ้าหญิงเรกีนาแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน · พ.ศ. 2553และเจ้าหญิงเรกีนาแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน · ดูเพิ่มเติม »

10 ตุลาคม

วันที่ 10 ตุลาคม เป็นวันที่ 283 ของปี (วันที่ 284 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 82 วันในปีนั้น.

10 ตุลาคมและ3 กุมภาพันธ์ · 10 ตุลาคมและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

6 มกราคม

วันที่ 6 มกราคม เป็นวันที่ 6 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 359 วันในปีนั้น (360 วันในปีอธิกสุรทิน).

3 กุมภาพันธ์และ6 มกราคม · 6 มกราคมและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง 3 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2553

3 กุมภาพันธ์ มี 75 ความสัมพันธ์ขณะที่ พ.ศ. 2553 มี 379 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 11, ดัชนี Jaccard คือ 2.42% = 11 / (75 + 379)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 3 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2553 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »