เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

30 เมษายนและแนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง 30 เมษายนและแนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย

30 เมษายน vs. แนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย

วันที่ 30 เมษายน เป็นวันที่ 120 ของปี (วันที่ 121 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 245 วันในปีนั้น. แนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย เป็นกองกำลังเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง แกนนำของกลุ่มและผู้ก่อตั้ง คือ นายดวง พลีรัตน์ ชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้มีศักดิ์เป็นหลานลุงของ พล.ต.ต.ขุนพันธรักษ์ราชเดช อีกทั้งยังเคยติดคุกข้อหาคอมมิวนิสต์ห้องเดียวกับจิตร ภูมิศักดิ์ มาแล้วเมื่ออายุ 19 ปี สมาชิกกลุ่มแรก ๆ จึงเป็นชาวจังหวัดนครศรีธรรมราชเสียส่วนใหญ่ จากนั้นจึงได้มีเครือข่ายในกรุงเทพมหานครด้วย ส่วนมากเป็นประชาชนทั่วไปที่เรียกร้องสิทธิในการใช้ชีวิตและความเป็นธรรมทางสังคม ก่อตั้งกลุ่มขึ้นมาเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2535 มีบทบาทครั้งแรกในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ โดยมีสัญลักษณ์ของกลุ่มเป็นผ้าคาดศีรษะสีดำมีสกรีนเป็นตัวหนังสือสีขาวว่า แนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย แจกจ่ายให้กับประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมชุมนุม ซึ่งในครั้งนั้นได้มีการลงทะเบียนรับประชาชนเข้าเป็นสมาชิกของกลุ่มด้วย โดยใช้หลักฐานเป็นสำเนาบัตรประชาชน โดยผู้ที่ดำเนินการส่วนนี้บอกว่า ได้รายชื่อใส่ถุงขยะสีดำได้หลายใบ โดยสมาชิกของทางกลุ่มที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่จะเป็นชาวนครศรีธรรมราชและชาวใต้ที่ประกอบอาชีพรับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้าในย่านห้วยขวาง แนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย กลับมามีบทบาทอีกครั้งในช่วงการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ที่กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยจัดเวทีปราศรัยและชุมนุมที่ท้องสนามหลวงและบริเวณหน้าทำเนียบรัฐบาล โดยกลุ่มนี้จะสวมเสื้อยืดสีดำ มีสัญลักษณ์จตุคามรามเทพเป็นตัวสกรีนที่หน้าอกเสื้อ คาดผ้าคาดศีรษะสีดำ ในเช้าวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2549 ที่พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได้เคลื่อนย้ายที่ชุมนุมจากท้องสนามหลวงไปยังหน้าทำเนียบรัฐบาล แนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตยได้ตั้งขบวนขึ้นโดยชูป้ายผ้าสีดำมีข้อความสีขาวว่า "แนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย ผ้าคาดหัวดำเกรียงไกร ลุยไล่ล่าเผด็จการ" และเมื่อมาถึงหน้าทำเนียบรัฐบาล แนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตยได้ตั้งเต็นท์ของตนที่ริมถนนราชดำเนิน และเปิดโรงครัวทำอาหารเลี้ยงผู้ที่เข้าร่วมชุมนุม อีกทั้งยังเป็นผู้คุ้มกันความปลอดภัยให้แก่ผู้ที่เข้ามาชุมนุม โดยเรียกตัวเองว่า นักรบศรีวิชัย และเป็นผู้คุ้มครองความปลอดภัยพนักงานสื่อเครือผู้จัดการ จากเหตุการณ์ที่กลุ่มมอเตอร์ไซด์รับจ้างและกลุ่มผู้สนับสนุน.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ยกขบวนกันมาขว้างปาอาคารบ้านพระอาทิตย์ สำนักงานของสื่อเครือผู้จัดการ ในวันที่ 31 มีนาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 30 เมษายนและแนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย

30 เมษายนและแนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2535พ.ศ. 2549

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

30 เมษายนและพ.ศ. 2535 · พ.ศ. 2535และแนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

30 เมษายนและพ.ศ. 2549 · พ.ศ. 2549และแนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง 30 เมษายนและแนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย

30 เมษายน มี 111 ความสัมพันธ์ขณะที่ แนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย มี 26 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 1.46% = 2 / (111 + 26)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 30 เมษายนและแนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: