โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

2 กรกฎาคม

ดัชนี 2 กรกฎาคม

วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.

122 ความสัมพันธ์: บรรหาร ศิลปอาชาบัลลูนบาท (สกุลเงิน)พ.ศ. 2046พ.ศ. 2099พ.ศ. 2255พ.ศ. 2257พ.ศ. 2321พ.ศ. 2330พ.ศ. 2379พ.ศ. 2393พ.ศ. 2396พ.ศ. 2418พ.ศ. 2420พ.ศ. 2430พ.ศ. 2440พ.ศ. 2442พ.ศ. 2443พ.ศ. 2449พ.ศ. 2457พ.ศ. 2463พ.ศ. 2464พ.ศ. 2471พ.ศ. 2476พ.ศ. 2480พ.ศ. 2483พ.ศ. 2489พ.ศ. 2490พ.ศ. 2494พ.ศ. 2501พ.ศ. 2504พ.ศ. 2505พ.ศ. 2507พ.ศ. 2519พ.ศ. 2523พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2531พ.ศ. 2534พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2540พ.ศ. 2542พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2552พ.ศ. 2556พ.ศ. 2559พรรคชาติไทยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช...พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ. 2531พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากรกองทัพอากาศสหรัฐการเลือกตั้งภาพยนตร์มยุรา เศวตศิลามหาสมุทรแปซิฟิกยูเอฟโอรอเบิร์ต พีลระบบตะกร้าเงินรัชพล แย้มแสงรัฐนิวเม็กซิโกรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยรุริโกะ อะซะโอะกะลินดอน บี. จอห์นสันลินด์ซีย์ โลเอินวิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540ศาลาเฉลิมกรุงสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสวนอัมพรสงครามไครเมียหลวงปู่แหวน สุจิณฺโณอะมีเลีย แอร์ฮาร์ตอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวอนุสรณ์สถานแห่งชาติฮันส์ เบเทอฌ็อง-ฌัก รูโซจักรวรรดิรัสเซียธัชชา พุ่มอ่อนทวีปแอฟริกาทุนสำรองระหว่างประเทศขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)ดี๋ ดอกมะดันคริสทอฟ วิลลีบัลด์ กลุคความยากจนคอนเสิร์ตไลฟ์เอทคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 52ปฏิทินสุริยคติปฏิทินเกรโกเรียนประวัติศาสตร์ไทยประธานาธิบดีสหรัฐประเทศตุรกีประเทศเยอรมนีประเทศเวียดนามประเทศเวียดนามใต้ประเทศเวียดนามเหนือปีอธิกสุรทินนอสตราเดมัสนิลนารา นิลนาถณรงค์แพทริก แมนนิงแอชลีย์ ทิสเดลแฮร์มันน์ เฮสเซอโลกโจเซฟ แชมเบอร์เลนเส้นศูนย์สูตรเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์เจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่14 ธันวาคม15 พฤศจิกายน15 ตุลาคม16 มกราคม17 สิงหาคม21 กรกฎาคม24 กรกฎาคม28 มิถุนายน5 พฤศจิกายน5 กรกฎาคม6 มีนาคม7 กรกฎาคม8 กรกฎาคม9 สิงหาคม ขยายดัชนี (72 มากกว่า) »

บรรหาร ศิลปอาชา

รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและบรรหาร ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

บัลลูน

แบบจำลองของบัลลูนของพี่น้องมงกอลฟีเย จากพิพิธภัณฑ์ในกรุงลอนดอน บัลลูน (สืบค้นออนไลน์) หรือ บอลลูน (balloon) เป็นยานพาหนะที่ใช้ในการเดินทางทางอากาศ ด้วยหลักการของแรงลอยตัว (Buoyancy) และเคลื่อนที่ด้วยลม มีหลักฐานการสร้างในประเทศจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 3 ต่อมาในทวีปยุโรปมีการทดลองสร้างเป็นพาหนะสำหรับใช้เดินทางทางอากาศตั้งแต่ปี ค.ศ. 1709 ที่กรุงลิสบอน ประเทศสเปน แต่ไม่ประสบความสำเร็จ จนกระทั่งวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1783 พี่น้องมงกอลฟีเย ชาวฝรั่งเศส ประสบความสำเร็จในการใช้บัลลูนขนาดใหญ่ ขับเคลื่อนด้วยอากาศร้อน เดินทางที่ความสูง 500 ฟุตในอากาศ เป็นระยะทาง 5 1/2 ไมล์ ใช้เวลา 25 นาที ได้สำเร็จเป็นครั้งแรกที่ ปารีส และนับเป็นก้าวแรกของการเดินทางด้วยบัลลูนอย่างแท้จริง.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและบัลลูน · ดูเพิ่มเติม »

บาท (สกุลเงิน)

งินบาท (ตัวละติน: Baht; สัญลักษณ์: ฿; รหัสสากลตาม ISO 4217: THB) เป็นสกุลเงินตราประจำชาติของประเทศไทย เดิมคำว่า "บาท" เป็นหนึ่งในคำใช้เรียกหน่วยการชั่งน้ำหนักของไทย ปัจจุบันยังมีใช้ในความหมายเดิมอยู่บ้าง โดยเฉพาะในการซื้อขายทองคำ เช่น "ทองคำวันนี้ราคาขายบาทละ 15,000 บาท" หมายถึงทองคำหนักหนึ่งบาทสามารถขายได้ 15,000 บาท ในสมัยที่เริ่มใช้เหรียญครั้งแรก เงินเหรียญหนึ่งบาทนั้นเป็นเงินที่มีน้ำหนักหนึ่งบาทจริง ๆ ไม่ได้ทำด้วยทองแดงนิกเกิลเช่นในปัจจุบัน เหรียญไทยนั้นผลิตออกมาโดยสำนักกษาปณ์ กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง โดยสามารถผลิตออกใช้ได้ไม่จำกัดจำนวนโดยไม่ต้องมีสิ่งใดมาค้ำประกัน เพราะโลหะที่ใช้ผลิตเหรียญกปาษณ์นั้นมีค่าในตัวเองอยู่แล้ว ส่วนธนบัตรนั้นผลิตและควบคุมการหมุนเวียนโดยธนาคารแห่งประเทศไทย การผลิตธนบัตรนำออกใช้จะมีหลักเกณฑ์วิธีที่เหมาะสมเพื่อให้เศรษฐกิจของชาติมีเสถียรภาพ ตามข้อมูลของสมาคมโทรคมนาคมทางการเงินระหว่างธนาคารทั่วโลก (SWIFT) สกุลเงินบาทได้รับการอันดับเป็นสกุลเงินอันดับที่ 10 ของโลกที่ใช้ในการชำระเงินระหว่างประเทศ (most frequently used currencies in World Payments).

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและบาท (สกุลเงิน) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2046

ทธศักราช 2046 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2046 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2099

ทธศักราช 2099 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2099 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2255

ทธศักราช 2255 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2255 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2257

ทธศักราช 2257 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2257 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2321

ทธศักราช 2321 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2321 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2330

ทธศักราช 2330 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2330 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2379

ทธศักราช 2379 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1836 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2379 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2393

ทธศักราช 2393 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2393 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2396

ทธศักราช 2396 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1853.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2396 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2418

ทธศักราช 2418 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1875.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2418 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2420

ทธศักราช 2420 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1877.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2420 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2430

ทธศักราช 2430 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1887 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2430 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2440

ทธศักราช 2440 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1897 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2440 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2442

ทธศักราช 2442 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1899 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2442 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2443

ทธศักราช 2443 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1900 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2443 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2449

ทธศักราช 2449 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1906 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2449 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2457 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2463 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2464

ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2464 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2471 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทย

รรคชาติไทย (Chart Thai Party) เป็นอดีตพรรคการเมืองในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับชาติช่วงปี..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพรรคชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ. 2531

การทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุประทาน ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ในรัชกาลที่ 9 เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้น เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานยิ่งกว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ไทยที่เคยทรงครองราชย์ยาวนานที่สุด นับตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ถึงวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 เป็นเวลา 42 ปี 23 วัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีหมายกำหนดการจัดงานในระหว่างวันที่ 2, 3 และ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 รวมทั้งสิ้น 3 วัน พระราชพิธีนี้ รัฐบาลในสมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ และ ประชาชนชาวไทย ร่วมกันจัดขึ้น ดังปรากฏเป็นเหตุการณ์ ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร ประสูติเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2418 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ กับหม่อมสุภาพ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าจรูญศักดิ์ กฤดากร หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร เมื่อ พ.ศ. 2455 พระองค์มีหม่อม 2 คนคือหม่อมเชื่อมและหม่อมปรุง พระองค์จบการศึกษาวิชาทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์และเนติบัณฑิต อังกฤษ เมื่อทรงสำเร็จการศึกษาทรงรับราชการตำแหน่งเลขานุการพิเศษ กระทรวงต่างประเทศ เลขานุการพิเศษ กระทรวงมหาดไทย ปลัดมณฑลนครศรีธรรมราช ผู้ว่าการเมืองสงขลา อัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีส มาดริด ลิสบอน เสนาบดีว่าการกระทรวงยุติธรรม อัครราชทูตพิเศษผู้มีอำนาจเต็มประจำกรุงปารีส เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพอากาศสหรัฐ

กองทัพอากาศสหรัฐ (United States Air Force; USAF) คือกองกำลังพิเศษทางอากาศและอวกาศของกองทัพสหรัฐ และเป็นกองกำลังหนึ่งในเจ็ดของหน่วยงานที่ใส่เครื่องแบบของสหรัฐ ในอดีตวันที่ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและกองทัพอากาศสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้ง

การเลือกตั้งโดยการหย่อนบัตร การเลือกตั้ง (election) เป็นกระบวนการวินิจฉัยสั่งการอย่างเป็นทางการซึ่งประชาชนเลือกปัจเจกบุคคลเพื่อดำรงตำแหน่งทางการเมือง การเลือกตั้งเป็นกลไกปกติที่ใช้ในระบอบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 Encyclpoedia Britanica Online.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและการเลือกตั้ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์

กล้องถ่ายภาพเคลื่อนไหวของฟ็อกซ์ในยุคแรก ๆ ภาพยนตร์ หรือ หนัง คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจำนวนมาก ที่มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิดฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทำนองเดียวกัน และหมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมบันเทิง.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและภาพยนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มยุรา เศวตศิลา

กุลนภา เศวตศิลา หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ มยุรา เศวตศิลา (ชื่อเกิด: รัตนา ชาตะธนะบุตร; 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2501) ก่อนหน้านี้เคยใช้ชื่อว่า มยุรา ธนะบุตร เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและมยุรา เศวตศิลา · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและมหาสมุทรแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ยูเอฟโอ

ที่เชื่อว่าเป็นยูเอฟโอในรัฐนิวเจอร์ซีย์ ถ่ายเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 1952 วัตถุบินกำหนดเอกลักษณ์ไม่ได้ (unidentified flying object) ย่อว่า วบกอม หรือมักเรียกว่า ยูเอฟโอ หรือ ยูโฟ (UFO) ในความหมายกว้างที่สุด คือ สิ่งผิดปกติประจักษ์ชัดใด ๆ ในท้องฟ้า (หรือใกล้หรืออยู่บนพื้นดิน แต่สังเกตว่าบินร่อน ลงจอดหรือทะยานขึ้นสู่ท้องฟ้า) ซึ่งไม่สามารถระบุเอกลักษณ์ได้ในทันทีว่าเป็นวัตถุหรือปรากฏการณ์ใด ๆ ที่ทราบจากการสังเกตด้วยตา และ/หรือ การใช้เครื่องมือช่วย เช่น เรดาร์ สิ่งผิดปกตินี้มักเรียกว่า "จานผี" หรือ "จานบิน" ระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1940 และต้นคริสต์ทศวรรษ 1950 คำว่า "ยูเอฟโอ" ประดิษฐ์ขึ้นอย่างเป็นทางการใน..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและยูเอฟโอ · ดูเพิ่มเติม »

รอเบิร์ต พีล

ซอร์ รอเบิร์ต พีล (Sir Robert Peel) เป็นนักการเมืองแห่งสหราชอาณาจักรในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีถึงสองสมัย ในปี..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและรอเบิร์ต พีล · ดูเพิ่มเติม »

ระบบตะกร้าเงิน

ระบบตะกร้าเงิน (basket of currencies) เป็นระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศอย่างหนึ่ง โดยคิดค่าเงินโดยคำนวณจากเงินทุกสกุลเงินที่มีอยู่ในธนาคารแห่งประเทศไทย ประเทศไทยยกเลิกระบบตะกร้าเงิน และหันมาใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว เมื่อ 2 กรกฎาคม 2540 ภายหลังจากประสบวิกฤติค่าเงินบาท.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและระบบตะกร้าเงิน · ดูเพิ่มเติม »

รัชพล แย้มแสง

รัชพล แย้มแสง มีชื่อเล่นว่า มิวสิค เป็นนักร้องและนักแสดงไทย ภายใต้โครงการนักล่าฝันในรายการทรู อะคาเดมี แฟนเทเชีย ฤดูกาลที่ 4 มีรหัสประจำตัวคือ V8 ในปัจจุบันมีผลงานทางการแสดงและผลงานเพลง.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและรัชพล แย้มแสง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนิวเม็กซิโก

รัฐนิวเม็กซิโก (New Mexico,; Nuevo México) เป็นรัฐทางตอนตะวันตกเฉียงใต้ ของสหรัฐอเมริกา ติดกับประเทศเม็กซิโก เมืองหลวงของรัฐคือ ซานตาเฟ โดยมีเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือ อัลบูเคอร์คี ถึงแม้ว่าในสหรัฐอเมริกา ภาษาอังกฤษนิยมใช้กันมากที่สุด แต่ในรัฐนิวเม็กซิโกเป็นรัฐที่มีการใช้ภาษาสเปนมากที่สุดรัฐหนึ่งในสหรัฐอเมริกา โดยประชากรในรัฐประกอบด้วย ชาวอเมริกา ชาวสเปน และชาวเม็กซิโก ในปี 2550 นิวเม็กซิโกมีประชากร 1,969,915 คน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและรัฐนิวเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รุริโกะ อะซะโอะกะ

รุริโกะ อะซะโอะกะ, เกิดเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและรุริโกะ อะซะโอะกะ · ดูเพิ่มเติม »

ลินดอน บี. จอห์นสัน

ลินดอน เบนส์ จอห์นสัน (Lyndon Baines Johnson, LBJ) ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 36 (1963 - 1969) และเป็นรองประธานาธิบดีคนที่ 37 (1961 - 1963) ได้กระทำพิธีสาบานตนเป็นประธานาธิบดีคนที่ 36 ของสหรัฐอเมริกา เมื่อบ่ายวันที่ 22 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและลินดอน บี. จอห์นสัน · ดูเพิ่มเติม »

ลินด์ซีย์ โลเอิน

ลินด์ซีย์ ดี โลฮาน (Lindsay Dee Lohan; เกิด 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1986) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน และมีผลงานเพลงมาแล้ว 2 อัลบั้ม ก้าวเข้าสู่วงการบันเทิง ด้วยการ ถ่ายโฆษณารถยนต์ฟอร์ด เมื่ออายุเพียงแค่ 3 ขวบ หลัง จากนั้นก็มีงานถ่ายโฆษณาเข้ามาเรื่อยๆ จนกระทั่งได้แสดงละครโทรทัศน์เรื่องแรกคือ "Another World" (1996) เธอเพิ่งจะมีผลงานแสดงใน “Confessions of a Teenage Drama Queen” และการแสดงร่วมกับเจมี่ ลี เคอร์ติส ใน “Freaky Friday” ของมาร์ค วอเตอร.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและลินด์ซีย์ โลเอิน · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540

ประเทศที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 วิกฤตการณ์การเงินในเอเชี..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและวิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาเฉลิมกรุง

ลาเฉลิมกรุง หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า โรงมหรสพหลวง ศาลาเฉลิมกรุง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เฉลิมกรุง เป็นโรงมหรสพหลวง ตั้งอยู่ริมถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นโรงภาพยนตร์ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ศาลาเฉลิมกรุงได้วางศิลาฤกษ์โดย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและศาลาเฉลิมกรุง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และโดยพระชนมายุจึงนับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปัจจุบันในพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 73, ตอน 76ก, 25 กันยายน..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สวนอัมพร

อาคารใหม่ สวนอัมพร สวนอัมพร เป็นสถานที่จัดงานอยู่บริเวณด้านหน้าลานพระบรมรูปทรงม้า ถนนอู่ทองใน แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ตรงกลางเป็นสระน้ำขนาดใหญ่รูปวงกลม มีน้ำพุ มีอาคารจัดงาน และเวทีการแสดงกลางแจ้ง สวนอัมพรอยู่ภายใต้การดูแลของสำนักพระราชวัง สวนอัมพร สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นแหล่งลีลาศของหนุ่มสาวในสมัยนั้น นอกจากนั้นยังเป็นสถานที่จัดงานกาชาด, งานเมาลิดกลาง เป็นประจำทุกปี เป็นสถานที่จัดงานพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของสถาบันการศึกษาหลายแห่ง เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต สวนอัมพรยังเคยเป็นสถานที่จัดงานมอเตอร์โชว์ อย่างต่อเนื่องทุกปีตั้งแต่ครั้งที่ 2 เมื่อ..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและสวนอัมพร · ดูเพิ่มเติม »

สงครามไครเมีย

งครามไครเมีย (Crimean War, ตุลาคม ค.ศ. 1853 – กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1856)Kinglake (1863:354)Sweetman (2001:7) เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิรัสเซียฝ่ายหนึ่ง กับพันธมิตรอันประกอบด้วยจักรวรรดิฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ จักรวรรดิออตโตมัน และราชอาณาจักรซาร์ดิเนียอีกฝ่ายหนึ่ง สงครามนี้เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันอันยาวนานระหว่างมหาอำนาจยุโรปเพื่อมีอิทธิพลเหนือดินแดนของออตโตมันที่เสื่อมอำนาจลง สงครามส่วนใหญ่เกิดขึ้นในคาบสมุทรไครเมีย แต่ยังมีการทัพขนาดเล็กในอนาโตเลียตะวันตก คอเคซัส ทะเลบอลติก มหาสมุทรแปซิฟิก และทะเลขาว สงครามไครเมียเป็นที่รู้จักกันเนื่องด้วยข้อผิดพลาดทางพลาธิการและยุทธวิธีระหว่างการทัพทางบกของทั้งสองฝ่าย ส่วนกองทัพเรือนั้น การทัพฝ่ายสัมพันธมิตรประสบความสำเร็จในการทำลายเรือส่วนใหญ่ของกองทัพเรือรัสเซียในทะเลดำ แม้กระนั้น บางครั้งสงครามดังกล่าวถูกมองว่าเป็นหนึ่งในสงคราม "สมัยใหม่" ครั้งแรก ๆ เพราะมัน "ได้นำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางเทคนิคซึ่งส่งผลกระทบต่อเส้นทางสงครามในอนาคต" ซึ่งรวมไปถึงการใช้ทางรถไฟและโทรเลขในทางยุทธวิธีเป็นครั้งแรกด้วยRoyle.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและสงครามไครเมีย · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ

หลวงปู่แหวน สุจิณโณ (16 มกราคม พ.ศ. 2430 — 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) เป็นภิกษุชาวไทย จำพรรษา ณ วัดดอยแม่ปั๋ง จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและหลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ · ดูเพิ่มเติม »

อะมีเลีย แอร์ฮาร์ต

อะมีเลีย แมรี แอร์ฮาร์ต (Amelia Mary Earhart; 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 — หายสาบสูญ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2480; ทางการประกาศว่าเสียชีวิต 5 มกราคม พ.ศ. 2482) นักบินชาวอเมริกัน ได้ชื่อว่าเป็นนักบินสตรีคนแรก ๆ ของประเทศ เธอเป็นสตรีคนแรกที่ขึ้นบินในฐานะผู้โดยสารข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก และต่อด้วยการบินเดี่ยวเองเป็นผลสำเร็จในปี พ.ศ. 2475 พ.ศ. 2478 ได้บินเดี่ยวข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกจากฮาวายสู่แคลิฟอร์เนีย อีกสองปีต่อมาอะมีเลียได้พยายามทำสถิติในการบินรอบโลก แต่ได้หายสาบสูญไปอย่างลึกลับ เหนือน่านน้ำมหาสมุทรแปซิฟิก ในระหว่างทำการบินรอบโลกเมื่อปี พ.ศ. 2480.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและอะมีเลีย แอร์ฮาร์ต · ดูเพิ่มเติม »

อัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว

อัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว เป็นระบบที่ตรงข้ามกับอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ อัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบกึ่งจัดการ เป็นการปล่อยให้อัตราค่าเงินเป็นไปตามกลไกของตลาด ขึ้นอยู่กับอุปสงค์-อุปทาน ของสกุลเงินนั้น ๆ โดยธนาคารกลางเป็นผู้คอยควบคุมให้เป็นไปโดยปกติ หากเกิดเหตุการณ์ผิดปกติต่อค่าเงิน เช่น มีการเก็งกำไร ธนาคารกลางก็จะเข้าแทรกแซง หมวดหมู่:การเงิน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์สถานแห่งชาติ

อนุสรณ์สถานแห่งชาติ อนุสรณ์สถานแห่งชาติ สร้างขึ้นในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่บูรพมหากษัตริย์และวีระชนไทยผู้เสียสละชีวิตเพื่อประเทศชาติ ตั้งอยู่บริเวณทางแยกต่างระดับอนุสรณ์สถานแห่งชาติ ช่วงถนนวิภาวดีรังสิต บรรจบกับถนนพหลโยธิน ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี ในพื้นที่ 38 ไร่ 1 งาน 97 ตารางวา ปัจจุบันอยู่ในความรับผิดชอบของกองประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ทหาร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและอนุสรณ์สถานแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ เบเทอ

ันส์ อัลเบร็คท์ เบเทอ (Hans Albrecht Bethe) เป็นนักฟิสิกส์นิวเคลียร์สัญชาติเยอรมัน-อเมริกัน เขาเป็นบุคคลสำคัญของวงการฟิสิกส์ดาราศาสตร์ พลศาสตร์ไฟฟ้าควอนตัม และฟิสิกส์ของแข็ง เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและฮันส์ เบเทอ · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ฌัก รูโซ

็อง-ฌัก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2255 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2321) เป็นนักปรัชญา นักเขียน นักทฤษฎีการเมือง และนักประพันธ์เพลงที่ฝึกหัดด้วยตนเองแห่งยุคเรืองปัญญ.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและฌ็อง-ฌัก รูโซ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและจักรวรรดิรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ธัชชา พุ่มอ่อน

ัชชา พุ่มอ่อน (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 -) เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไทย เข้าสู่วงการจากการถ่ายแบบ และถ่ายโฆษณาในวัยเด็ก นอกจากนี้ยังมีงานละคร ภาพยนตร์ต่างๆ เธอเป็นหนึ่งในสมาชิกวง "บั๊ก บันจี้" สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ การศึกษา: จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและธัชชา พุ่มอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทุนสำรองระหว่างประเทศ

ำว่า ทุนสำรองระหว่างประเทศ (Forex reserves) ได้พัฒนามาจากคำว่า เงินสำรองจากการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (Foreign exchange reserves) ซึ่งในอดีตหมายถึงเงินตราต่างประเทศที่ไม่ได้ถูกแลกกลับคืน เกิดขึ้นจากการที่เมื่อบุคคลต่างประเทศต้องการนำเงินตราต่างประเทศมาแลกเป็นเงินตราท้องถิ่น ธนาคารกลางท้องถิ่นก็จะพิมพ์เงินตราท้องถิ่นออกมาเพื่อให้บุคคลนั้นแลกไปใช้ลงทุนหรือซื้อสินค้าและบริการในท้องถิ่น เมื่อนำเงินตราท้องถิ่นไปใช้จ่ายแล้วก็มักไม่แลกคืนหรือแลกคืนน้อยกว่าที่แลกมา ดังนั้นเงินตราต่างประเทศที่อยู่ในธนาคารกลางท้องถิ่นก็สภาพกลายเป็นทุนสำรองไป เช่นในสมัยรัชกาลที่ 4 ของไทยเมื่อมีเสรีการค้า ต่างชาติได้นำเงินตราต่างประเทศจำนวนมากเข้ามาแลกเป็นเงินบาท รัฐบาลสยามต้องผลิตเหรียญกษาปณ์และธนบัตรจำนวนมากเพื่อเพียงพอให้ต่างชาติแลก ต่างชาติเหล่านี้ก็นำเงินบาทไปซื้อสินค้าต่างๆในสยามเพื่อนำออกไปขายต่อในประเทศที่สาม ทำให้ท้องพระคลังมีเงินตราต่างประเทศเพิ่มขึ้นอย่างมากจากการที่ต่างชาติไม่ได้แลกกลับไป เงินตราต่างประเทศเหล่านี้ก็ตกเป็นของแผ่นดิน (เนื่องจากยุคนั้นยังไม่มีระบบธนาคารกลาง) ในปัจจุบัน คลังสำรองของธนาคารกลางมิได้มีแต่เงินตราต่างประเทศเท่านั้น แต่ยังมีสินทรัพย์อื่นๆที่ธนาคารกลางได้เจียดเงินสำรองส่วนหนึ่งไปซื้อไว้เพื่อให้งอกเงย เช่น พันธบัตร, ทองคำ, หุ้น, สิทธิพิเศษในการถอนเงิน เป็นต้น จากการที่คลังสำรองประกอบด้วยสินทรัพย์หลายชนิดนี้เอง จึงมีการใช้คำศัพท์ที่มีความตรงตัวยิ่งขึ้น โดยเปลี่ยนจากคำว่า "เงินสำรอง" เป็น "ทุนสำรอง" ซึ่งหมายถึงเป็นสินทรัพย์ทุกประเภทของธนาคารกลางที่อยู่ในหลายสกุลเงิน โดยมากมักเป็นสกุล ดอลลาร์สหรัฐ รวมไปถึง ยูโร, ปอนด์สเตอร์ลิง และ เยน ทั้งนี้เพื่อใช้เป็นหลักประกันให้กับค่าเงินของประเทศเจ้าของทุนสำรองนั้นนั้น ทุนสำรองระหว่างประเทศ มีหน้าที่สำคัญในระบบเศรษฐกิจ คือ สร้างความเชื่อมั่นให้กับประเทศ และรองรับความเสี่ยงจากภาคต่างประเทศ โดยสามารถนำไปใช้แทรกแซงเพื่อดูแลค่าเงินในภาวะที่ตลาดการเงินมีความผันผวนสูง และการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงของค่าเงินอาจส่งผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจจริงได้ ดังนั้นหลักการบริหารทุนสำรองระหว่างประเทศ เพื่อให้บรรลุหน้าที่หลักข้างต้นจึงต้องให้ความสำคัญกับการรักษามูลค่าของทุนสำรองระหว่างประเทศ และการดำรงสภาพคล่องสูง เพื่อให้สามารถนำมาใช้ได้ทันการณ์เมื่อมีการไหลออกของเงินทุนต่างประเทศอย่างฉับพลัน หรือในยามคับขันที่ตลาดโลกผันผวนมาก ทำให้การนำทุนสำรองระหว่างประเทศ ไปลงทุนต้องเป็นการลงทุนในสินทรัพย์ที่มี ความเสี่ยงต่ำและมีสภาพคล่องของตลาดสูง ซึ่งสินทรัพย์เหล่านั้นมีอัตราผลตอบแทนที่ต่ำ สะท้อนความเสี่ยงที่ต่ำของการลงทุน ในบางประเทศได้มีการเปลี่ยนทุนสำรองระหว่างประเทศให้ไปอยู่ในการดูแลของกองทุนความมั่นคงแห่งชาติ (Sovereign Wealth Funds) เพื่อนำทุนสำรองดังกล่าวที่มีอยู่มากเกินระดับความต้องการของรัฐบาล ไปลงทุนต่อเพื่อหาผลประโยชน์หรือลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเพิ่มเติม สำหรับประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นผู้ดูแลและบริหารจัดการทุนสำรองระหว่างประเทศ รูปแบบการบริหารทุนสำรองของธนาคารแห่งประเทศไทยจะเป็นรูปแบบดั้งเดิมคือเก็บในรูปของสินทรัพย์ที่มั่นคง และมีสภาพคล่องสูง ส่วนใหญ่เป็นตราสารหนี้ทางการเงินในตลาดเงินที่ให้ผลตอบแทนคงที่ หรือในรูปของเงินฝากธนาคารพาณิชย์ เป็นสินทรัพย์ระยะสั้น ส่วนทางด้านการจัดตั้งกองทุนความมั่นคงแห่งชาตินั้น ปัจจุบันอยู่ระหว่างการศึกษาของกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและทุนสำรองระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)

นวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2523) ผู้สร้างหนัง ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย ผู้ประพันธ์เพลงต่างๆ หลายเพลง ซึ่งรวมถึงเนื้อร้องเพลงชาติไทยฉบับแรกสุดในปี พ.ศ. 2475 และเป็นผู้แต่งหนังสือต่างๆ หลายเรื่อง เช่น หลักไทย ภูมิศาสตร์สุนทรภู่ เป็นต้น นับได้ว่าเป็นนักคิด นักค้นคว้า และนักเขียนสำคัญคนหนึ่งของ ยุครัตนโกสินทร.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

ดี๋ ดอกมะดัน

ี๋ ดอกมะดัน มีชื่อจริงว่า สภา ศรีสวัสดิ์ (เดิมชื่อ ศุภกรณ์) เกิดที่อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2494 จบการศึกษาประกาศนียบัตรขั้นสูง วิทยาลัยครู จังหวัดยะลา เริ่มอาชีพจากการเป็นครูที่จังหวัดยะลา และต่อมาเป็นโฆษกวงดนตรีลูกทุ่งชื่อดังต่าง ๆ จากนั้นก็ได้เป็นตลกแสดงบนเวทีคอนเสิร์ตลูกทุ่ง ใช้ชื่อหลายชื่อ แต่ไม่ประสบความสำเร็จถึงขั้นขีดสุดนานถึง 30 ปีเต็ม ต่อมาเริ่มมามีชื่อเสียงกับคณะเด๋อ ดู๋ ดี๋ ในปี พ.ศ. 2518 และเป็นพิธีกรในรายการพลิกล็อกคู่กับปัญญา นิรันดร์กุล ต่อมาได้รับเป็นนายกสมาคมศิลปินตลกแห่งประเทศไทย ในกลางปี พ.ศ. 2545 ปรากฏเป็นข่าวอื้อฉาวว่า ดี๋ ดอกมะดันถูกตรวจพบว่ามีปัสสาวะสีม่วงขณะอยู่ในผับ จึงต้องสงสัยว่าเสพยาเสพย์ติด แต่เจ้าตัวได้ปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา โดยบอกว่าเป็นยาแก้หอบหืด ซึ่งต่อมาเรื่องเสพยาเสพย์ติดนี้ก็ได้ถูกพิสูจน์ว่าไม่เป็นความจริงและศาลก็ได้ยกฟ้องจากนั้นก็มีข่าวว่าได้ตบปาก ต้อย แอ๊คเนอร์ บรรณาธิการหนังสือพิมพ์มายา ชาแนลถึงเลือดกลบปาก จนถูกกล่าวหาว่าเป็นตลกมาเฟีย เนื่องจากไม่พอใจที่ได้พาดหัวว่า ตลกดังอักษรย่อ ”ด “ หิ้วนักข่าวสาวเข้าม่านรูด ทั้ง ๆ ที่เรื่องนี้เป็นเรื่องล้อเล่นกันมานานถึง 17 ปี ในทางการเมือง ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 ดี๋ ดอกมะดันได้เข้าร่วมกับทางพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยด้วย และได้ขึ้นเวทีปราศรัยและนำคณะตลกแสดงบนเวทีด้วย ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น สภา ศรีสวัสดิ์ และลงเล่นการเมืองกับพรรคประชาธิปัตย์โดยลงสมัครเป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) เขตห้วยขวาง ในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งแต่อย่างใด ชีวิตส่วนตัวสมรสกับนางเสาวลักษณ์ ศรีสวัสดิ์ มีบุตรสาว 2 คน คือ พรรณวรินทร์ ศรีสวัสดิ์ (บีม) บุตรสาวคนโตที่เป็นนักแสดงชื่อดัง กับ มนชญา ศรีสวัสดิ์ (เบล) ปัจจุบันบุตรสาวทั้งสองเปลี่ยนชื่อและนามสกุลเป็น วรานิษฐ์ จิราโรจน์เจริญ และ ชยานิษฐ์ จิราโรจน์เจริญ ต่อมา ดี๋ ดอกมะดัน ได้ป่วยเป็นโรคหอบอย่างหนักเนื่องจากสูบบุหรี่หนักและอยู่กับสุนัขของตนมาอยู่ในห้องของตนเอง เริ่มเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลตั้งแต่ปลายเดือนกันยายน..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและดี๋ ดอกมะดัน · ดูเพิ่มเติม »

คริสทอฟ วิลลีบัลด์ กลุค

หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2257 หมวดหมู่:คีตกวีชาวเยอรมัน หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐบาวาเรีย คริสโตฟ วิลลิบาลด์ กลุ๊ค Cristoph Willibald Gluck 1714-1787  กลุ๊ค เป็นคีตกวีและนักดนตรีผู้ยิ่งใหญ่คนหนึ่งของโลก ชีวิตของเขามีลีลาผิดแยกไปจากคีตกวีที่มีชื่อเสียงอื่น ๆ ทั้งนี้ก็เพราะว่าขณะเขามีอายุเกือบ 40 ปีนั้น ยังไม่มีท่าทางเลยว่าเขาจะกลายมาเป็นผู้ยิ่งใหญ่แห่งโลกดนตรี ประวัติและผลงานของคริสโตฟ วิลลิบาลด์ กลุ๊ค คริสโตฟ วิลลิบาลด์ กลุ๊ค (Cristoph Willibald Gluck) เกิดเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม..1714 ที่เมืองอีราสบาค (Erasbach) อยู่ใกล้ ๆ กับเมือง ไวเดนแวง (Weidenwang) และเมือง Nurnberg ทางตอนเหนือของ Palatinnate กลุ๊คเกิดมาท่ามกลางความร่มรื่นของพฤกษานานาพันธุ์ เพราะพ่อของเขาเป็นผู้ดูแลรักษาป่าและสัตว์ไว้ให้บรรดาเจ้านายชั้นสูงออกมาล่าเล่นเป็นกีฬา เขตป่าในดินแดนบาวาเรียน เป็นของเจ้าชายลอบโควิทซ์ (Prince Eugene Lobkowitz) เจ้าชายผู้นี้เป็นคนที่รักทางด้านดนตรีอย่างยิ่งผู้หนึ่ง ต่อมาทายาทของเจ้าชายผู้นี้เป็นผู้ให้ความอุปการะแก่เบโธเฟน ชีวิตในตอนเด็ก ๆ ของกลุ๊คนั้น เขาได้อยู่ใกล้ชิดเห็นชีวิตและความเป็นอยู่ของพวกเจ้านายชั้น สูง ถึงแม้ว่าเขาจะไม่ใช่สมาชิกในตระกูลก็ตาม แต่เขาก็ได้ติดตามพ่อของเขาไปรับใช้อยู่ตามวงสมาคมของพวกเจ้านายชั้นสูงเหล่านั้นบ่อย ๆ การศึกษาในตอนแรกจึงอยู่ไม่เป็นที่เป็นทาง อยู่ที่นั้นบ้าง อยู่ที่นี้บ้าง เมื่ออายุ 12 ขวบจึงได้เข้าโรงเรียนอย่างจริงจังที่โรงเรียนเยซูอิต (Jesuit School) ในเมือง Komotau ประเทศโบฮีเมีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและคริสทอฟ วิลลีบัลด์ กลุค · ดูเพิ่มเติม »

ความยากจน

วามยากจน เป็นสภาพซึ่งบุคคลขาดการครอบครองทรัพยากรหรือเงิน ความยากจนสัมบูรณ์ (absolute poverty) หรือความยากจนข้นแค้น (destitution) หมายถึง บุคคลที่ขาดความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ ซึ่งโดยทั่วไปได้แก่ น้ำจืดและอาหารที่สะอาด โภชนาการ สาธารณสุข การศึกษา เครื่องนุ่งห่มและที่พักอาศัย มีการประเมินว่า ปัจจุบันมีประชากรราว 1,700 ล้านคนอาศัยอยู่ในความยากจนสัมบูรณ์ ความยากจนสัมพัทธ์ (relative poverty) หมายถึง การขาดระดับทรัพยากรหรือรายได้ตามปกติหรือระดับที่สังคมยอมรับเมื่อเทียบกับบุคคลอื่นในสังคมหรือประเทศ ในอดีตที่ผ่านมาส่วนใหญ่ ความยากจนถูกมองว่าหลีกเลี่ยงไม่ได้เช่นเดียวกับวิธีการผลิตดั้งเดิมไม่เพียงพอจะให้ประชากรทั้งหมดมีมาตรฐานการครองชีพที่สะดวกสบายได้Krugman, Paul, and Robin Wells.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและความยากจน · ดูเพิ่มเติม »

คอนเสิร์ตไลฟ์เอท

อนเสิร์ตไลฟ์ 8 (Live 8) เป็นชุดคอนเสิร์ตและงานที่จัดขึ้นในวันที่ 2 กรกฎาคม และ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ในประเทศกลุ่ม จี 8 และแอฟริกาใต้ คอนเสิร์ตถูกกำหนดให้จัดขึ้นก่อนการประชุมสุดยอดผู้นำของประเทศในจี 8 ที่จะจัดขึ้นที่โรงแรม Gleneagles ใน Perthshire สก็อตแลนด์ ในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและคอนเสิร์ตไลฟ์เอท · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 52

ลเอกชวลิต ยงใจยุทธ''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 22 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 52 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 52 ของไทย (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540) พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 52 · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินสุริยคติ

รัญ 209 Dido ปฏิทินสุริยคติ (อังกฤษ: solar calendar) คือ ปฏิทินที่สอดคล้องกับฤดูกาลและเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์ ความยาวนานของปีโดยเฉลี่ยมีค่าใกล้เคียงกับปีฤดูกาล ปฏิทินสุริยคติ ได้แก.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและปฏิทินสุริยคติ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2125 (ค.ศ. 1582) เหตุที่มีการคิดค้นปฏิทินเกรกอเรียนขึ้นใช้แทน เนื่องจากปีในปฏิทินจูเลียน ซึ่งยาวนาน 365.25 วันนั้น มีนานกว่าปีฤดูกาลจริง (365.2425 วัน) อยู่เล็กน้อย ทำให้วันวสันตวิษุวัตของแต่ละปี ขยับเร็วขึ้นทีละน้อย เพื่อที่จะให้วันอีสเตอร์ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม (วันวสันตวิษุวัต) จึงจำเป็นต้องปฏิรูปปฏิทิน เนื่องจากสมเด็จพระสันตะปาปาทรงปรับปรุงปฏิทินโดยมีผลย้อนหลัง กำหนดให้ถัดจากวันที่ 4 ตุลาคม..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและปฏิทินเกรโกเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ไทย

การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยมักเริ่มนับตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัยเป็นต้นมา หากแต่ในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบัน พบหลักฐานของมนุษย์ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดถึงห้าแสนปี ตลอดจนหลักฐานของอารยธรรมและรัฐโบราณเป็นจำนวนมาก ภูมิภาคสุวรรณภูมิเคยถูกชาวมอญ เขมร และมลายูปกครองมาก่อน ต่อมา คนไทยได้สถาปนาอาณาจักรของตนเอง เช่น อาณาจักรสุโขทัย ไล่เลี่ยกันกับอาณาจักรล้านนา อาณาจักรเชียงแสน และอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรสุโขทัยเจริญรุ่งเรืองในช่วงเวลาค่อนข้างสั้นประมาณ 200 ปี ก็ถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรอยุธยาเป็นอาณาจักรที่รุ่งเรืองมั่งคั่ง เป็นศูนย์กลางการค้าระดับนานาชาติ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครอง ซึ่งบางส่วนใช้สืบมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และยังทรงตราพระราชกำหนดศักดินา ทำให้อยุธยาเป็นสังคมศักดินา อยุธยาเริ่มติดต่อกับชาติตะวันตกเมื่อ..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและประวัติศาสตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีสหรัฐ

ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา (President of the United States; ย่อ: POTUS) เป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลแห่งสหรัฐ เป็นผู้นำสูงสุดของฝ่ายบริหาร และเป็นจอมทัพสหรัฐ รัฐธรรมนูญ มาตรา 2 บัญญัติว่า ประธานาธิบดีมีอำนาจหน้าที่บังคับใช้กฎหมายส่วนกลาง รับผิดชอบแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายบริหาร ข้าราชการทูต ข้าราชการประจำ และข้าราชการตุลาการในส่วนกลาง ทั้งมีอำนาจทำสนธิสัญญาเมื่อได้รับคำแนะนำและยินยอมของวุฒิสภา นอกจากนี้ ประธานาธิบดีมีอำนาจอภัยโทษ ลดโทษ เปลี่ยนโทษ เรียกและเลื่อนประชุมสมัยวิสามัญแห่งสภาทั้งสองของรัฐสภา นับแต่สถาปนาประเทศเป็นต้นมา ประธานาธิบดีและรัฐบาลกลางมีอำนาจเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และแม้ปัจจุบันไม่มีอำนาจนิติบัญญัติอย่างเป็นทางการนอกเหนือไปจากการลงนามและยับยั้งร่างกฎหมายที่รัฐสภาอนุมัติ แต่ประธานาธิบดีก็แบกรับความรับผิดชอบขนานใหญ่ในการกำหนดวาระประชุมพรรค รวมถึงกำหนดนโยบายการต่างประเทศและการในประเทศด้วย ประธานาธิบดีสหรัฐนั้นมาจากการเลือกตั้งโดยอ้อมผ่านทางคณะผู้เลือกตั้ง (electoral college) มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 4 ปีและสามารถอยู่ในดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระซึ่งบัญญัติไว้ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่ 22 ที่ได้รับการอนุมัติในปี..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกี

ประเทศตุรกี (Turkey; Türkiye ทือรคีเย) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐตุรกี (Republic of Turkey; Türkiye Cumhuriyeti) เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาในยูเรเซีย พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตก โดยมีส่วนน้อยในอีสเทรซในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศตุรกีมีพรมแดนติดต่อกับ 8 ประเทศ ได้แก่ ประเทศซีเรียและอิรักทางใต้ ประเทศอิหร่าน อาร์มีเนียและดินแดนส่วนแยกนาคีชีวันของอาเซอร์ไบจานทางตะวันออก ประเทศจอร์เจียทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศบัลแกเรียทางตะวันตกเฉียงเหนือ และประเทศกรีซทางตะวันตก ทะเลดำอยู่ทางเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางใต้ และทะเลอีเจียนทางตะวันตก ช่องแคบบอสฟอรัส ทะเลมาร์มะราและดาร์ดะเนลส์ (รวมกันเป็นช่องแคบตุรกี) แบ่งเขตแดนระหว่างเทรซและอานาโตเลีย และยังแยกทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย ที่ตั้งของตุรกี ณ ทางแพร่งของยุโรปและเอเชียทำให้ตุรกีมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างยิ่ง ประเทศตุรกีมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่ยุคหินเก่า มีอารยธรรมอานาโตเลียโบราณต่าง ๆ เอโอเลีย โดเรียและกรีกไอโอเนีย เทรซ อาร์มีเนียและเปอร์เซีย หลังการพิชิตของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ดินแดนนี้ถูกทำให้เป็นกรีก เป็นกระบวนการซึ่งสืบต่อมาภายใต้จักรวรรดิโรมันและการเปลี่ยนผ่านสู่จักรวรรดิไบแซนไทน์ เติร์กเซลจุคเริ่มย้ายถิ่นเข้ามาในพื้นที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 เริ่มต้นกระบวนการทำให้เป็นเติร์ก ซึ่งเร่งขึ้นมากหลังเซลจุคชนะไบแซนไทน์ที่ยุทธการที่มันซิเคิร์ต..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและประเทศตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนามใต้

รณรัฐเวียดนาม เป็นรัฐที่ปกครองบริเวณตอนใต้ของเวียดนามระหว่างปี พ.ศ. 2498 ถึง พ.ศ. 2518 ซึ่งต่างชาติโดยเฉพาะรัฐประชาธิปไตยและชาติต่อต้านคอมมิวนิสต์นิยมเรียกในชื่อว่า เวียดนามใต้ คำเรียก เวียดนามเหนือ และเวียดนามใต้ ถูกใช้อย่างแพร่หลายในปี พ.ศ. 2497 ในการประชุมที่เจนีวา ซึ่งแบ่งประเทศเวียดนามออกเป็นสองส่วนโดยเส้นขนานที่ 17 ในระหว่างสงครามเวียดนาม เวียดนามใต้ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกา ในอดีต เวียดนามใต้เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสในชื่อ โคชินไชนา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เวียดมินห์ซึ่งนำโดยโฮจิมินห์ สถาปนารัฐคอมมิวนิสต์ขึ้นที่ฮานอย ในปีพ.ศ. 2492นักการเมืองที่ไม่ฝักใฝ่คอมมิวนิสต์ ก่อตั้งรัฐบาลขึ้นที่เมืองไซ่ง่อนซึ่งนำโดยอดีตจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ในปี 2498 บ๋าว ดั่ย ถูกปลดโดยนายกรัฐมนตรีโง ดิ่ญ เสี่ยม และแต่งตั้งตนขึ้นเป็นประธานาธิบดี หลังจากเสี่ยมเสียชีวิตจากการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2506 ได้มีรัฐบาลทหารอายุสั้นหลายสมัยได้ปกครองเวียดนามใต้จนถึงปี พ.ศ. 2510 พลโท เหงียน วัน เถี่ยวได้ขึ้นเป็นประธานาธิบดีและได้ปกครองเวียดนามใต้จนถึงปี พ.ศ. 2518 สงครามเวียดนามเริ่มต้นในปี..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและประเทศเวียดนามใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนามเหนือ

วียดนามเหนือ หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (Việt Nam Dân Chủ Cộng Hòa) คือประเทศที่เกิดจากการรวมของแคว้นตังเกี๋ยและแคว้นอันนัมของฝรั่งเศส ประกาศก่อตั้งเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) โดยประธานาธิบดีโฮจิมินห์ ตั้งอยู่บริเวณครึ่งบนของประเทศเวียดนามในปัจจุบัน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและประเทศเวียดนามเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ปีอธิกสุรทิน

ปีอธิกสุรทิน (leap year) เป็นปีที่มีการเพิ่มหนึ่งวัน (หรือหนึ่งเดือนในกรณีของปฏิทินสุริยจันทรคติ) เพื่อให้ปีปฏิทินสอดคล้องกับปีดาราศาสตร์หรือปีฤดูกาล เพราะฤดูกาลและเหตุการณ์ทางดาราศาสตร์มิได้เกิดซ้ำในจำนวนเต็มวัน ปฏิทินซึ่งมีจำนวนวันในแต่ละปีเท่าเดิมจึงต้องเลื่อนให้ตรงกับเหตุการณ์ที่ปฏิทินควรจะติดตามเมื่อเวลาผ่านไป โดยการแทรกวันหรือเดือนเพิ่มเข้าไปในปีนั้น การเลื่อนจึงสามารถทำให้ถูกต้องได้ ปีที่มิใช่ปีอธิกสุรทิน เรียกว่า ปีปกติสุรทิน (common year) ตัวอย่างเช่น ในปฏิทินเกรโกเรียน (ปฏิทินสุริยคติสามัญ) เดือนกุมภาพันธ์ในปีอธิกสุรทินมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วันตามปกติ ดังนั้น ปีดังกล่าวจึงมี 366 วัน แทนที่จะมี 365 วันตามปกติ คล้ายกัน ในปฏิทินฮีบรู (ปฏิทินสุริยจันทรคติ) เดือนจันทรคติที่ 13 มีการเพิ่มเจ็ดครั้งทุก 19 ปี เข้าไปในเดือนจันทรคติสิบสองเดือนในปีปกติสุรทินเพื่อให้ปีปฏิทินไม่คาดเคลื่อนจากฤดูกาลเร็วเกินไป.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและปีอธิกสุรทิน · ดูเพิ่มเติม »

นอสตราเดมัส

นอสตราเดมัส ไทยมักเรียก นอสตราดามุส (Nostradamus) ชื่อจริงว่า มีแชล เดอ นอสทร์ดาม (Michel de Nostredame; เกิด 14 หรือ 21 ธันวาคม 1503 แล้วแต่แหล่งข้อมูล;Most eyewitnesses to his original epitaph (including his son Caesar and historian Honoré Bouche) indicate 21 December, but a few (including his secretary Chavigny) suggest 14th. The inscription on his present tombstone evidently follows Chavigny. No conclusive explanation for the discrepancy has so far been discovered. See Guinard, Patrice, ตาย 2 กรกฎาคม 1566) เป็นชาวฝรั่งเศสซึ่งเป็นเภสัชกร (apothecary) และหมอดูที่มีชื่อเสียง เพราะเผยแพร่ชุดคำทำนายซึ่งเลื่องชื่อที่สุดในโลกหลายชุด โดยเฉพาะ เลพรอเฟซี (Les Propheties) ที่พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี 1555 เมื่อเผยแพร่หนังสือชุดดังกล่าวแล้ว นอสตราเดมัสก็ได้รับความสนใจจากสำนักพิมพ์ใหญ่หลายแห่ง พร้อมกิตติศัพท์ว่า สามารถทำนายทายทักเหตุการณ์สำคัญหลายเรื่องในโลก แหล่งข้อมูลทางวิชาการส่วนใหญ่ถือกันว่า การอ้างว่า เหตุการณ์ในโลกสัมพันธ์กับโคลงทำนายของนอสตราเดมัสนั้น เป็นผลมาจากการตีความหรือแปลความที่ผิดพลาด ซึ่งบางครั้งปรากฏว่า ตั้งใจให้ผิดพลาด มิฉะนั้น ก็เป็นเรื่องมโนสาเร่ถึงขนาดที่ไม่อาจถือเอาโคลงเหล่านั้นเป็นพยานหลักฐานว่า นอสตราเดมัสมีอำนาจพยากรณ์อย่างแท้จริง อย่างไรก็ดี นักวิจารณ์จำนวนหนึ่งก็ประสบความสำเร็จในการตีความอย่างเสรีโดยใช้วิธี "พลิกแพลง" ถ้อยคำในโคลงเพื่อระบุเหตุการณ์อันเห็นได้ชัดว่า ใกล้จะมาถึงอยู่แล้ว เช่น ในปี 1867 หลุยส์-มีแชล เลอ เปอเลอตีเย (Louis-Michel le Peletier) ใช้กลวิธีดังกล่าวทำนายล่วงหน้า 3 ปีว่าจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 จะทรงมีชัยหรือปราชัยในสงครามฝรั่งเศส–ปรัสเซีย แม้เลอ เปอเลอตีเย จะยอมรับว่า ตนไม่สามารถบอกได้จริงว่า จะทรงมีชัยหรือปราชัย และเหตุการณ์จะเกิดขึ้นเมื่อใดก็ตาม.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและนอสตราเดมัส · ดูเพิ่มเติม »

นิลนารา นิลนาถณรงค์

นิลนารา นิลนาถณรงค์ เคยมีชื่อเดิมว่า เฌอกาญจน์ เอี่ยมอ่อง, พิมพ์นารา เอี่ยมอ่อง ตามลำดับ ชื่อเล่น นุ๊ก หรือ นาร่า เข้าสู่วงการบันเทิงจากเวทีประกวด Dream Star Search 2011 (ดรีมสตาร์เซิร์ท 2011) ได้รับรางวัล Rising Star ปี 2011และเซ็นสัญญาเป็นนักแสดงในสังกัดสปีดวัน ซึ่งมีจีระนันท์ มะโนแจ่ม และนวพล ภูวดล เป็นเจ้าของและจัดการประกวด จากนั้นก็มีผลงานละคร เรื่อง ฟ้ามีตา ช่อง 7 และละคร ไฟหวน ช่อง 7 ปี 2012 เข้าประกวดเวทีมิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ 2012, มิสไทยแลนด์เวิลด์ 2014, มิสแกรนด์ไทยแลนด์ 2017 (มิสแกรนด์นครนายก 2017).

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและนิลนารา นิลนาถณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

แพทริก แมนนิง

แพทริก ออกัสตุส เมอร์วิน แมนนิง (Patrick Augustus Mervyn Manning, เกิด (17 สิงหาคม ค.ศ.1946 - 2 กรกฎาคม ค.ศ.2016 เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 4 และ 6 ของประเทศตรินิแดดและโตเบโก ซึ่งดำรงตำแหน่งครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1991 – 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995 และดำรงตำแหน่งอีกครั้งเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ค.ศ. 2001 – 26 พฤษภาคม ค.ศ. 2010 นอกจากนี้เขายังเป็นหัวหน้าฝ่ายค้านช่วงปี ค.ศ. 1995 - 2001 และเป็นหัวหน้าพรรค PNM ช่วงปี ค.ศ. 1987-2010 แมนนิงเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตเมืองซานเฟอร์นันโด และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรยาวนานที่สุดของสภา, from NALIS, the National Library and Information Service of Trinidad and Tobago แมนนิงเป็นชาวซานเฟอร์นันโดโดยกำเนิด สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมที่วิทยาลัยเพรเซนเทชัน และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยเวสต์อินดิสที่โมนา ประเทศจาเมกา ในปี ค.ศ. 1969 หลังสำเร็จการศึกษาเขาได้กลับมายังตรินิแดดและโตเบโก และได้ทำงานเป็นนักธรณีวิทยาของบริษัทเท็กซาโก เขาเข้าสู่การเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของซานเฟร์นันโดในปี ค.ศ. 1971.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและแพทริก แมนนิง · ดูเพิ่มเติม »

แอชลีย์ ทิสเดล

แอชลีย์ มิทเชล ทิสเดล เกิดเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม ปี 1985 เธอเป็นนักร้อง นักแสดง และโปรดิวเซอร์ชาวอเมริกัน การเข้าสู่วงการบันเทิงของเธอเริ่มจากการปรากฏตัวในโฆษณากว่า 100 ชิ้น และเป็นนักแสดงเด็กในรายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ต่างๆ หลังจากนั้นเธอได้รับบทเป็นนักแสดงหลักในซีรีส์ทางช่องดิสนีย์ แชนแนล เรื่อง The Suite Life of Zack & Cody รับบทเป็น แมดดี้ ฟิตส์แพทริค หลังจากนั้นเธอก็ได้รับบทเป็น ชาร์เพย์ อีแวนส์ จากเรื่อง มือถือไมค์ หัวใจปิ๊งรัก ทั้ง 3 ภาค จากการประสบความสำเร็จของภาพยนตร์นี้เองทำให้เธอได้ออกสตูดิโออัลบั้มครั้งแรกในชีวิตกับวอร์เนอร์บราเธอส์เรคคอร์ด ผลงานการเปิดตัวอัลบั้มแรก Headstrong นั้นประสบความสำเร็จเป็นอย่างมากจนได้รับแผ่นเสียงทองคำจากสมาคมผู้ประกอบกิจการเพลงของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและแอชลีย์ ทิสเดล · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ เฮสเซอ

แฮร์มันน์ เฮสเซอ right แฮร์มันน์ เฮสเซอ (Hermann Hesse) (2 กรกฎาคม ค.ศ. 1877 — 9 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นกวี นักเขียน และจิตรกรชาวเยอรมัน-สวิส เกิดที่เมืองคาลฟ์ในประเทศเยอรมนี ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี ค.ศ. 1945 ผลงานที่มีชื่อเสียงคือ สิทธารถะ และ เกมลูกแก้ว เฮสเซอเริ่มสร้างสรรค์งานประพันธ์ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองเมื่อมีอายุได้ 21 ปี จนเมื่อมีอายุได้ 26 ปี จึงเริ่มเป็นที่รู้จักแพร่หลาย นอกจากความสามารถทางด้านการประพันธ์แล้ว เฮสเซอยังมีความสามารถทางจิตรกรรมสีน้ำอีกด้วย เฮสเซอเสียชีวิตเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1962 ในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและแฮร์มันน์ เฮสเซอ · ดูเพิ่มเติม »

โลก

"เดอะบลูมาร์เบิล" ภาพถ่ายดาวเคราะห์โลกจากยาน ''อพอลโล 17'' โลก (loka; world) มีความหมายโดยปริยายหมายถึงหมู่มนุษย์ รวมทั้งอารยธรรมมนุษย์โดยรวมทั้งหมด โดยเฉพาะในด้านประสบการณ์ ประวัติศาสตร์ หรือสภาพของมนุษย์โดยทั่ว ๆ ไป ทั้งนี้ คำว่า ทั่วโลก หมายถึงสถานที่ใด ๆ บนดาวเคราะห์โลก ในทางปรัชญามองโลกอยู่ 2 แบบ คือ.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและโลก · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ แชมเบอร์เลน

ซฟ เชมเบอร์เลน (Joseph Chamberlain) (ค.ศ. 1863-1914 หรือ พ.ศ. 2379-2457) เป็นนักการเมืองที่สำคัญที่สุดคนหนึ่งของอังกฤษระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาได้รับการยกย่องว่าเป็นนักปฏิรูปสังคม นักปฏิรูปภาษีศุลกากร และนักจักรวรรดนิยมที่วางรากฐานระบบการปกครองอาณานิคมแบบเครือจักรภพให้แก่อังกฤษ จนสามารถบริหารอาณานิคมให้เป็นปึกแผ่นได้อย่างมีประสิท.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและโจเซฟ แชมเบอร์เลน · ดูเพิ่มเติม »

เส้นศูนย์สูตร

้นศูนย์สูตรบนแผนที่โลก ในทางภูมิศาสตร์ เส้นศูนย์สูตร (Equator) คือ เส้นที่ลากผ่านศูนย์กลางวงกลมในแนวทิศตะวันตก-ตะวันออก และตั้งฉากกับแกนหมุนของโลก เป็นเส้นสมมุติที่ลากผ่านเส้นศูนย์กลางวงกลม แบ่งโลกออกเป็นสองซีกเท่า ๆ กัน ผู้สังเกตที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตร มีระยะเวลาของกลางวันกับกลางคืนยาวนานเกือบเท่ากันตลอดทั้งปี และเห็นดวงอาทิตย์ผ่านจุดเหนือศีรษะในเวลาเที่ยงของวันวิษุวัต เส้นศูนย์สูตรของโลกมีความยาวประมาณ 40,075 กิโลเมตร ลากผ่าน 13 ประเทศ และเป็นหนึ่งในละติจูด 5 เส้นสำคัญของโลก เป็นละติจูดที่เรียกว่า "Great Circle" ที่ลากแบ่งครึ่งโลกเป็นวงกลมขนาดใหญ่ที่มีจุดศูนย์กลางและมีรัศมีเท่า ๆ กัน เมื่อขยายเส้นศูนย์สูตรโลกเป็นระนาบศูนย์สูตร (Equatorial Plane) ออกไปตัดทรงกลมฟ้า เกิดเป็นวงกลมใหญ่ เรียกว่า เส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า (Celestial Equator).

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและเส้นศูนย์สูตร · ดูเพิ่มเติม »

เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์

ออร์เนสต์ มิลเลอร์ เฮมิงเวย์ (Ernest Miller Hemingway; พ.ศ. 2442-2504) นักประพันธ์นวนิยายและนักเขียนเรื่องสั้นชาวอเมริกันผู้ใช้ลีลาภาษาที่สั้นกระชับ เกิดที่ โอค ปาร์ก รัฐอิลลินอยส์ เริ่มทำงานเป็นผู้สื่อข่าวกับหนังสือพิมพ์ เดอะแคนซัสซิตีสตาร์ เข้าเป็นทหารในสงครามโลกครั้งที่ 1 ประจำรถพยาบาลทหารจนได้รับบาดเจ็บเมื่อปี..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์

้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ (فوزية بنت فؤاد الأول.; فوزیه فؤاد; ประสูติ: 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1921 — สิ้นพระชนม์: 2 กรกฎาคม ค.ศ. 2013) เจ้าหญิงแห่งอียิปต์และอดีตสมเด็จพระราชินีในโมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์อิหร่าน หลังจากการเสกสมรสอีกครั้งใน..

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและเจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่

้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่ (170px) (4 มกราคม พ.ศ. 2456 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2547) เกิดในสายตระกูลเจ้าเจ็ดตน ซึ่งมีพระยาสุลวฦาชัยสงคราม หรือเจ้าหนานทิพย์ช้าง ผู้เป็นบรรพบุรุษของเจ้าชาย 7 องค์ ที่เป็นต้นสกุลสำคัญฝ่ายเหนือ อันได้แก่ ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง สิโรรส ธนันชยานนท์ และลังกาพินธุ์ โดยท่านอยู่ในสายตรงของเจ้านครเชียงใหม่ องค์ที่ 2 คือ พระเจ้าช้างเผือกธรรมลังก.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและเจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

14 ธันวาคม

วันที่ 14 ธันวาคม เป็นวันที่ 348 ของปี (วันที่ 349 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 17 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและ14 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและ15 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

15 ตุลาคม

วันที่ 15 ตุลาคม เป็นวันที่ 288 ของปี (วันที่ 289 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 77 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและ15 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 มกราคม

วันที่ 16 มกราคม เป็นวันเกิดของผมเอง.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและ16 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

17 สิงหาคม

วันที่ 17 สิงหาคม เป็นวันที่ 229 ของปี (วันที่ 230 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 136 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและ17 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 กรกฎาคม

วันที่ 21 กรกฎาคม เป็นวันที่ 202 ของปี (วันที่ 203 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 163 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและ21 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 กรกฎาคม

วันที่ 24 กรกฎาคม เป็นวันที่ 205 ของปี (วันที่ 206 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 160 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและ24 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 มิถุนายน

วันที่ 28 มิถุนายน เป็นวันที่ 179 ของปี (วันที่ 180 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 186 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและ28 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

5 พฤศจิกายน

วันที่ 5 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 309 ของปี (วันที่ 310 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 56 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและ5 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

5 กรกฎาคม

วันที่ 5 กรกฎาคม เป็นวันที่ 186 ของปี (วันที่ 187 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 179 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและ5 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 มีนาคม

วันที่ 6 มีนาคม เป็นวันที่ 65 ของปี (วันที่ 66 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 300 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและ6 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 กรกฎาคม

วันที่ 7 กรกฎาคม เป็นวันที่ 188 ของปี (วันที่ 189 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 177 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและ7 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 กรกฎาคม

วันที่ 8 กรกฎาคม เป็นวันที่ 189 ของปี (วันที่ 190 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 176 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและ8 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 สิงหาคม

วันที่ 9 สิงหาคม เป็นวันที่ 221 ของปี (วันที่ 222 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 144 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 2 กรกฎาคมและ9 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

2 ก.ค.๒ กรกฎาคม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »