เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

28 มิถุนายน

ดัชนี 28 มิถุนายน

วันที่ 28 มิถุนายน เป็นวันที่ 179 ของปี (วันที่ 180 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 186 วันในปีนั้น.

สารบัญ

  1. 114 ความสัมพันธ์: ชาตินิยมบีเอพีพ.ศ. 2120พ.ศ. 2183พ.ศ. 2255พ.ศ. 2294พ.ศ. 2321พ.ศ. 2359พ.ศ. 2379พ.ศ. 2399พ.ศ. 2401พ.ศ. 2406พ.ศ. 2437พ.ศ. 2445พ.ศ. 2457พ.ศ. 2462พ.ศ. 2466พ.ศ. 2475พ.ศ. 2483พ.ศ. 2485พ.ศ. 2491พ.ศ. 2493พ.ศ. 2501พ.ศ. 2502พ.ศ. 2509พ.ศ. 2512พ.ศ. 2514พ.ศ. 2518พ.ศ. 2521พ.ศ. 2522พ.ศ. 2524พ.ศ. 2529พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2536พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2544พ.ศ. 2547พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)พระที่นั่งอนันตสมาคมพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงาพายุ คลาร์คกัฟรีโล ปรินซีปการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475... ขยายดัชนี (64 มากกว่า) »

  2. มิถุนายน

ชาตินิยม

ชาตินิยม (nationalism) คืออุดมการณ์ที่สร้างและบำรุงรักษาชาติในลักษณะที่เป็นมโนทัศน์ แสดงอัตลักษณ์ของกลุ่มของมนุษย์ ตามบางทฤษฎี การรักษาลักษณะพิเศษของอัตลักษณ์ การเป็นอิสระในทุก ๆ เรื่อง การกินดีอยู่ดี และการชื่นชมความยิ่งใหญ่ของชาติตนเอง ล้วนจัดว่าเป็นคุณค่าพื้นฐานของความเป็นชาตินิยม นักชาตินิยมวางพื้นฐานของความเป็นชาติอยู่บนแนวคิดเกี่ยวกับความชอบธรรมทางการเมืองหลายๆ ประการ โดยความชอบธรรมนั้นอาจสร้างขึ้นผ่านทางทฤษฎีโรแมนติกของ "อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม" การให้เหตุผลเชิงเสรีนิยมที่กล่าวว่า ความชอบธรรมทางการเมืองนั้น เกิดจากการยอมรับของประชากรในท้องถิ่นนั้น ๆ หรืออาจจะเป็นการผสมผสานระหว่างสองสิ่งนี้ การใช้คำว่า ชาตินิยม ในสมัยใหม่ มักหมายถึงการใช้อำนาจทางการเมือง (และทหาร) ของกลุ่มชาตินิยมเชิงเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ชนเผ่าหรือเชิงศาสนา นักรัฐศาสตร์โดยทั่วไปแล้วมีแนวโน้มที่จะวิจัยและมุ่งเป้าไปที่รูปแบบสุดขั้วของชาตินิยม ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับสังคมนิยมเชิงชาตินิยม การแบ่งแยกดินแดน และอื่น ๆ หมวดหมู่:ทฤษฎีการเมือง หมวดหมู่:คตินิยมเชื้อชาติ หมวดหมู่:การอพยพของมนุษย์.

ดู 28 มิถุนายนและชาตินิยม

บีเอพี

ีเอพี (B.A.P ย่อมาจาก Best Absolute Perfect) เป็นกลุ่มศิลปินฮิปฮอปจากประเทศเกาหลีใต้ ภายใต้การดูแลของค่าย TS Entertainment มีสัญลักษณ์ประจำวงคือ กระต่ายเรียกว่า มาโทกิ B.A.P เปิดตัวครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มกราคม..

ดู 28 มิถุนายนและบีเอพี

พ.ศ. 2120

ทธศักราช 2120 ใกล้เคียงกั.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2120

พ.ศ. 2183

ทธศักราช 2183 ใกล้เคียงกั.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2183

พ.ศ. 2255

ทธศักราช 2255 ใกล้เคียงกั.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2255

พ.ศ. 2294

ทธศักราช 2294 ใกล้เคียงกั.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2294

พ.ศ. 2321

ทธศักราช 2321 ใกล้เคียงกั.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2321

พ.ศ. 2359

ทธศักราช 2359 ใกล้เคียงกั.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2359

พ.ศ. 2379

ทธศักราช 2379 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1836 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2379

พ.ศ. 2399

ทธศักราช 2399 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1856.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2399

พ.ศ. 2401

ทธศักราช 2401 ตรงกับคริสต์ศักราช 1858 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2401

พ.ศ. 2406

ทธศักราช 2406 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1863.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2406

พ.ศ. 2437

ทธศักราช 2437 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1894 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2437

พ.ศ. 2445

ทธศักราช 2445 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1902 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2445

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2457

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2462

พ.ศ. 2466

ทธศักราช 2466 ตรงกั.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2466

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2475

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2483

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2485

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2491

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2493

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2501

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2502

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2509

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2512

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2514

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2518

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2521

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2522

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2524

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2529

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2530

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2531

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2533

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2534

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2536

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2539

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2540

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2544

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2547

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2549

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2550

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ดู 28 มิถุนายนและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)

มหาอำมาตย์โท พระยามโนปกรณนิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย ชื่อเดิมว่า "ก้อน หุตะสิงห์" เกิดวันที่ 15 กรกฎาคม..

ดู 28 มิถุนายนและพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)

พระที่นั่งอนันตสมาคม

ระที่นั่งอนันตสมาคม เป็นท้องพระโรงเดิมของพระราชวังดุสิต ชื่อของพระที่นั่งนี้ นำมาจากพระที่นั่งองค์หนึ่งในพระบรมมหาราชวัง พระที่นั่งอนันตสมาคมสร้างขึ้นในปี พ.ศ.

ดู 28 มิถุนายนและพระที่นั่งอนันตสมาคม

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงา บ้างออกพระนามว่า พังงา หรือใหญ่ (28 มิถุนายน พ.ศ. 2359 — 18 ตุลาคม พ.ศ. 2399) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาเขียว (สกุลเดิม: สุนทรกุล ณ ชลบุรี) โดยพระชนนีเป็นพระธิดาในกรมขุนสุนทรภูเบศร์ เศรษฐีเมืองบางปลาสร้อยที่มีสัมพันธ์เป็นภราดาร่วมสาบานกับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท จึงได้รับการสถาปนาให้เป็นเจ้าจุลลดา ภักดีภูมินทร.

ดู 28 มิถุนายนและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงา

พายุ คลาร์ค

ลาร์ค หรือ พายุ เกิดเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน..

ดู 28 มิถุนายนและพายุ คลาร์ค

กัฟรีโล ปรินซีป

กัฟรีโล ปรินซีป (อักษรซีริลลิก: Гаврило Принцип Gavrilo Printsip; Gavrilo Princip; 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1894 — 28 เมษายน ค.ศ. 1918) เป็นคนชาวเซอร์เบีย กลุ่มยิว และเป็นสมาชิกกลุ่ม "มือดำ" ปรินซีปเป็นผู้ลอบปลงพระชนม์ อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย มกุฎราชกุมารแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และโซฟี ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์กพระชายาที่ เมืองซาราเยโว ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซึ่งขณะนั้น ยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีอยู่ ในวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ.

ดู 28 มิถุนายนและกัฟรีโล ปรินซีป

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

การปฏิวัติสยาม..

ดู 28 มิถุนายนและการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

ภูมิภาฑิต นิตยารส

ูมิภาฑิต นิตยารส (ชื่อเดิม:เหมวรรษ นิตยารส) เป็นนักแสดงชายชาวไทย ชื่อเดิมคือ เหมวรรษ และเปลี่ยนเป็น "ภูมิภาฑิต" เกิดเมื่อ 28 มิถุนายน..

ดู 28 มิถุนายนและภูมิภาฑิต นิตยารส

มาร์ชราชนาวิกโยธิน

หรือ Royal Marines March เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒๙ ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อ..

ดู 28 มิถุนายนและมาร์ชราชนาวิกโยธิน

มูฮัมหมัด ยูนูส

มูฮัมหมัด ยูนูส (ภาษาเบงกาลี: মুহাম্মদ ইউনুস Muhammôd Iunus) เป็นนายธนาคารและนักเศรษฐศาสตร์ชาวบังกลาเทศผู้ริเริ่มและพัฒนาแนวคิด “ไมโครเครดิต” หรือ การให้กู้เงินโดยไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน โดยจะให้กู้แก่ผู้ประกอบการหรือชาวบ้านซึ่งยากจนเกินกว่าจะมีคุณสมบัติพอเพียงที่จะกู้เงินจากธนาคารทั่วไป นอกจากนั้น ยูนูสยังเป็นผู้ก่อตั้ง “กรามีนแบงค์” หรือ ธนาคารกรามีน อีกด้วย ทั้งยูนูสและธนาคารที่เขาก่อตั้งขึ้นได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพร่วมกันในปี..

ดู 28 มิถุนายนและมูฮัมหมัด ยูนูส

รัฐสภาไทย

รัฐสภาแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นสภานิติบัญญัติระดับชาติของประเทศไทย เป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอันเป็นส่วนหนึ่งของอำนาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทยตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้รัฐสภาประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นการปกครองโดยใช้ระบบสองสภา โดยทั้งสองสภาจะประชุมร่วมกันหรือแยกกันแล้วแต่ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา โดยตำแหน่ง อย่างไรก็ดีตามบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติที่ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ยังคงทำหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาต่อไป และให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติแห่งชาติสิ้นสุดลงในวันก่อนวันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ดู 28 มิถุนายนและรัฐสภาไทย

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ดู 28 มิถุนายนและรายนามนายกรัฐมนตรีไทย

ริชาร์ด ร็อดเจอร์ส

ริชาร์ด ชาร์ลส ร็อดเจอร์ส (28 มิถุนายน ค.ศ. 1902 - 30 ธันวาคม ค.ศ. 1979) นักแต่งเพลง และละครเพลงชาวอเมริกัน มีผลงานแต่งทำนองเพลงมากกว่า 900 เพลง และละครบรอดเวย์ 40 เรื่อง รวมไปถึงเพลงประกอบภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ โดยมีชื่อเสียงจากผลงานร่วมกับนักแต่งคำร้อง ลอเรนซ์ ฮาร์ท ในชื่อ "ร็อดเจอร์ส และฮาร์ท" (Rodgers and Hart) ระหว่างปี ค.ศ.

ดู 28 มิถุนายนและริชาร์ด ร็อดเจอร์ส

วันแรงงาน

หรดวันแรงงานในโทรอนโตในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1900 วันแรงงาน (Labour Day) เป็นวันหยุดประจำปีที่เฉลิมฉลองไปทั่วโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการเคลื่อนไหวของสหภาพแรงงาน เพื่อที่จะฉลองผลงานทางการเศรษฐกิจและสังคมของผู้ใช้แรงงาน.

ดู 28 มิถุนายนและวันแรงงาน

สมศักดิ์ รุจิรวัฒน์

ตราจารย์ สมศักดิ์ รุจิรวัฒน์ เกิดวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2485 นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญในสาขาเคมีอินทรีย์ ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เมื่อปี..

ดู 28 มิถุนายนและสมศักดิ์ รุจิรวัฒน์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ

มหาอำมาตย์นายก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม ในรัชกาลที่ 4) ร่วมพระชนนีเดียวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี โดยเป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 42 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระอง.

ดู 28 มิถุนายนและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ดู 28 มิถุนายนและสหภาพโซเวียต

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ดู 28 มิถุนายนและสหรัฐ

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ดู 28 มิถุนายนและสหประชาชาติ

สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (เอสไอไอที) เป็นสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และการจัดการ สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์Nishino, Fumio and Taweep Chaisomphob, 1997,, Inauguration of the Institute's New Name 'Sirindhorn International Institute of Technology', Commemorative publication, pp.18-24.

ดู 28 มิถุนายนและสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สงครามอิรัก

งครามอิรัก เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในประเทศอิรักตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม..

ดู 28 มิถุนายนและสงครามอิรัก

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ดู 28 มิถุนายนและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.

ดู 28 มิถุนายนและสนธิสัญญาแวร์ซาย

หู

หู เป็นอวัยวะของสัตว์ที่ใช้การดักคลื่นเสียง เป็นส่วนหนึ่งของระบบประสาทการได้ยิน สัตว์แต่ละประเภทจะมีตำแหน่งหูที่แตกต่างกันออกไป.

ดู 28 มิถุนายนและหู

หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน

หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน (Royal Thai Marine Corps) มีหน้าที่บังคับบัญชา นาวิกโยธิน คือ ทหารที่ได้รับการฝึกฝนเป็นพิเศษ เพื่อปฏิบัติภารกิจ โดยมุ่งเน้นการรบภาคพื้นดิน นับ เป็นการรบสะเทินน้ำสะเทินบก เพื่อสนับสนุนการรบของทหารเรือ และอาจทำการรบร่วมกับทหารจากหน่วยรบอื่นๆ เช่น ทหารบก หรือ ทหารอากาศก็ได้ นาวิกโยธินจึงเปรียบเสมือนทหารเหล่าราบของกองทัพเรือนั่นเอง ทหารเรือฝ่ายนาวิกโยธินนับว่ามีขีดความสามารถสูง ได้รับการฝึกทั้งการรบทางทะเลและการรบทางบก สามารถปฏิบัติการได้คล่องตัว เช่น เมื่อต้องการยกพลขึ้นบก การยุทธที่มีความคาบเกี่ยวกับสถานการณ์บกและน้ำ นอกจากนี้ยังสามารถปฏิบัติงานในท้องที่ชายฝั่ง รักษาความสงบตลอดน่านน้ำ เป็นต้น.

ดู 28 มิถุนายนและหน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน

อลงกรณ์ ประทุมวงศ์

อลงกรณ์ ประทุมวงศ์ (เกิด 28 มิถุนายน พ.ศ. 2529) เป็นนักฟุตบอลและอดีตนักฟุตซอลชาวไทย ปัจจุบันลงเล่นตำแหน่งกองหลังให้กับสโมสรฟุตบอลชลบุรีในไทยลีก ตั้งแต่ปี..

ดู 28 มิถุนายนและอลงกรณ์ ประทุมวงศ์

อารยา เอ ฮาร์เก็ต

อารยา เอ ฮาร์เก็ต มีชื่อเต็มว่า อารยา อัลเบอร์ตา ฮาร์เก็ต (เกิด 28 มิถุนายน พ.ศ. 2524) เป็นนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรียนวิมลทิพย์ ระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนกาญมณี ระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี), ระดับปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอังกฤษ จากมหาวิทยาลัยรังสิต.

ดู 28 มิถุนายนและอารยา เอ ฮาร์เก็ต

อารียา สิริโสภา

อารียา สิริโสภา หรือ อารียา สิริโสดา หรือชื่อเล่นว่า ป๊อป (เกิด: 28 มิถุนายน พ.ศ. 2514) เป็นนางสาวไทย ประจำปี พ.ศ. 2537 (คนที่ 32 ของประเทศไทย) และเป็นตัวแทนสาวไทยไปประกวดนางงามจักรวาล 1994 ที่ ฟิลิปปินส์ อารียาเป็นบุตรของปทุมวรรณ ชุมสาย ซึ่งเป็นชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เธอมีน้องชายชื่อเล่นว่า เป้ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต ประเทศสหรัฐอเมริกา เคยรับราชการเป็นอาจารย์สอนในโรงเรียนทหาร มียศร้อยโทหญิง จนมีฉายาที่คนทั่วไปเรียกกันว่า "หมวดป๊อป" ภายหลังได้ลาออก ปัจจุบันเป็นนักแสดง พิธีกร นักเขียน และผู้กำกับภาพยนตร์ ครอบครัวของอารียาเคยใช้นามสกุลว่า "เย้าเยือน" ต่อมาได้เปลี่ยนนามสกุลเป็น "ชุมสาย" เมื่อใช้ชีวิตอยู่ในสหรัฐอเมริกา ตามชื่อของญาติผู้ใหญ่ ซึ่งพ้องกับราชสกุลชุมสาย ณ อยุธยา ทั้งๆ ที่ไม่ได้เป็นญาติกัน เมื่ออารียาเริ่มมีชื่อเสียงจากการประกวดนางสาวไทย และถูกเข้าใจผิดจากสื่อมวลชน บางครั้งได้ลงข่าวโดยเติม "ณ อยุธยา" ที่ท้ายนามสกุล จนถูกทักท้วงจากกลุ่มราชนิกูลในราชสกุลชุมสาย ในปี..

ดู 28 มิถุนายนและอารียา สิริโสภา

อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย

ฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์ คาร์ล ลุดวิก โยเซฟ มารีอา (Franz Ferdinand Carl Ludwig Joseph Maria) ทรงเป็นอาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย-เอสเต และยังทรงเป็นราชกุมารแห่งฮังการีและโบฮีเมีย และเป็นรัชทายาทลำดับหนึ่งแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีอีกด้วย พระองค์ทรงเป็นองค์รัชทายาทจวบจนถูกลอบปลงพระชนม์โดยนักชาตินิยมหัวรุนแรงชาวเซอร์เบีย ที่เมืองซาราเยโวในแคว้นบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (ขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี) หลังพระองค์และพระชายาสิ้นพระชนม์ก็ทำให้จักรวรดริออสเตรีย-ฮังการี ประกาศสงครามกับราชอาณาจักรเซอร์เบียทันที ถือเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 1.

ดู 28 มิถุนายนและอาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย

อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด

อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในอำเภอสามร้อยยอดและอำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขัน.

ดู 28 มิถุนายนและอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด

อดุล อดุลเดชจรัส

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส หรือ หลวงอดุลเดชจรัส (28 มิถุนายน พ.ศ. 2437 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2512) นามเดิม บัตร พึ่งพระคุณ อดีตองคมนตรี รองนายกรัฐมนตรี อธิบดีกรมตำรวจ ผู้บัญชาการทหารบก มีสมญานามว่า "นายพลตาดุ" เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.

ดู 28 มิถุนายนและอดุล อดุลเดชจรัส

ฮา จี-ว็อน

ี-วอน หรือชื่อจริงว่า จอน แฮ-ริม (28 มิถุนายน 2521 —) เป็นนักแสดงและนักร้องชาวเกาหลีใต้ เป็นนางเอกจากละครเรื่อง "Secret Garden" "Empresski" "Hwang Jini" "What Happened in Bali" และผลงานภาพยนตร์เรื่อง "Love So Divine" และ "The Duelist".

ดู 28 มิถุนายนและฮา จี-ว็อน

ฌ็อง-ฌัก รูโซ

็อง-ฌัก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2255 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2321) เป็นนักปรัชญา นักเขียน นักทฤษฎีการเมือง และนักประพันธ์เพลงที่ฝึกหัดด้วยตนเองแห่งยุคเรืองปัญญ.

ดู 28 มิถุนายนและฌ็อง-ฌัก รูโซ

จริยา แซร่าฮ์ เอชเวิท

ริยา แซร่าฮ์ เอชเวิท ชื่อเล่น: แจ๊สกี้; เกิดเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2530 เป็นนักร้องและนางแบบ เข้าสู่วงการด้วยการเล่นมิวสิควีดีโอเพลง "Virus" ของ เจอาร์ วอย แจ๊สกี้ถูกกล่าวถึงว่าเป็นบุคคลหน้าคล้ายกับนักแสดงสาวชื่อดัง ชมพู่-อารยา เอ ฮาร์เก็ต เริ่มมีชื่อเสียงโด่งดังในช่วงยุค 90 จากการเป็นหนึ่งในนักร้องคู่หูดูโอ้อย่าง นาตาลี-แจ๊สกี้ ซึ่งออกอัลบั้มในช่วงวัยเพียง 12 ปี โดยมีเพลงฮิตต่างๆมายมายเช่น STRAWBERRY (เพลงแจ้งเกิด), แค่อยากให้เธอรู้, ฝันเล็กๆ, เจ็บนะ, ยิ่งทุ่มยิ่งเจ็บ และเพลง ช่วยทำให้เสียใจ เป็นต้น.

ดู 28 มิถุนายนและจริยา แซร่าฮ์ เอชเวิท

จอห์น คูแซก

อห์น พอล คูแซก เกิดเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1966 เป็นนักแสดง นักเขียนชาวอเมริกัน.

ดู 28 มิถุนายนและจอห์น คูแซก

คิอิชิ มิยะซะวะ

อิชิ มิยะซะวะ (8 ตุลาคม พ.ศ. 2462-28 มิถุนายน พ.ศ. 2550) นายกรัฐมนตรี คนที่ 78 อดีตรัฐมนตรีการค้าและอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ และอดีตรัฐมนตรีคลัง ของญี่ปุ่น นายมิยะซะวะ เกิดที่เมืองฟูกุยามา จังหวัดฮิโรชิมา เมื่อ..

ดู 28 มิถุนายนและคิอิชิ มิยะซะวะ

คณะราษฎร

ณะราษฎร (อ่านว่า "คะ-นะ-ราด-สะ-ดอน"; มักสะกดผิดเป็น คณะราษฎร์) คือ กลุ่มบุคคลที่ดำเนินการการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ยึดอำนาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของประเทศสยาม จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อาจได้ชื่อว่าเป็นพรรคการเมืองพรรคแรกของไท.

ดู 28 มิถุนายนและคณะราษฎร

ซอฮย็อน

ซอ จู-ฮย็อน (서주현; Seo Ju-hyeon หรือ Seo Joo-hyun) ชื่อในการว่า ซอฮย็อน (서현; Seohyun) เป็นนักร้องชาวเกาหลีใต้ เป็นสมาชิกของวงเกิลส์เจเนอเรชัน ตำแหน่งนักร้องนำ มักเน่ เซ็นเตอร.

ดู 28 มิถุนายนและซอฮย็อน

ซีเอ็นบลู

ซีเอ็นบลู (CNBLUE; 씨엔블루) เป็นวงดนตรีแนวร็อกอินดี จากเกาหลีใต้ จากค่าย FNC Entertainment ประกอบด้วยสมาชิก 4 คน คือ ยงฮวา จงฮย็อน มินฮย็อก และจ็องชิน.

ดู 28 มิถุนายนและซีเอ็นบลู

ปฏิทินสุริยคติ

รัญ 209 Dido ปฏิทินสุริยคติ (อังกฤษ: solar calendar) คือ ปฏิทินที่สอดคล้องกับฤดูกาลและเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์ ความยาวนานของปีโดยเฉลี่ยมีค่าใกล้เคียงกับปีฤดูกาล ปฏิทินสุริยคติ ได้แก.

ดู 28 มิถุนายนและปฏิทินสุริยคติ

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู 28 มิถุนายนและปฏิทินเกรโกเรียน

ประเทศมอลโดวา

มอลโดวา (Moldova) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมอลโดวา (Republica Moldova) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปตะวันออก ตั้งอยู่ระหว่างประเทศโรมาเนียทางทิศตะวันตก และประเทศยูเครนทางทิศตะวันออก มีพรมแดนกับโรมาเนียตามแม่น้ำพรุต (Prut River) และแม่น้ำดานูบ (Danube River) ในอดีตพื้นที่ประเทศมอลโดวาอยู่ในอาณาบริเวณของราชรัฐมอลดาเวีย (Principality of Moldavia) ต่อมาถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซียในปี พ.ศ.

ดู 28 มิถุนายนและประเทศมอลโดวา

ประเทศมอนเตเนโกร

มอนเตเนโกร (Montenegro ออกเสียง:; มอนเตเนโกร: มีความหมายว่า "ภูเขาสีดำ") เป็นประเทศเอกราชซึ่งตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตจรดทะเลเอเดรียติกและโครเอเชียทางทิศตะวันตก จรดบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาทางทิศเหนือ จรดเซอร์เบียทางทิศตะวันออก และจรดแอลเบเนียทางทิศใต้ มีพอดกอรีตซาเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ในอดีต มอนเตเนโกรมีสถานะเป็นสาธารณรัฐในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย และต่อมาได้เป็นส่วนหนึ่งในสหภาพการเมืองของเซอร์เบีย-มอนเตเนโกร หลังจากมีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู 28 มิถุนายนและประเทศมอนเตเนโกร

ประเทศอิรัก

ประเทศอิรัก (العراق; عێراق อังกฤษ: Iraq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิรัก (جمهورية العراق; كؤماری عێراق) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีอาณาเขตทางทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทางทิศตะวันออกจดประเทศอิหร่าน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศคูเวต ทางทิศใต้จดประเทศซาอุดีอาระเบีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศจอร์แดน และทางทิศตะวันตกจดประเทศซีเรีย กรุงแบกแดด ซึ่งเป็นเมืองหลวง ตั้งอยู่ในกลางประเทศ ราว 97% ของประชากรอิรัก 36 ล้านคนเป็นชาวมุสลิม ส่วนใหญ่มีเชื้อสายซุนนีย์ ชีอะฮ์และเคิร์ด ประเทศอิรักมีแนวชายฝั่งส่วนแคบวัดความยาวได้ 58 กิโลเมตรทางเหนือของอ่าวเปอร์เซีย และอาณาเขตของประเทศครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย ปลายทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาซากรอส และทะเลทรายซีเรียส่วนตะวันออก สองแม่น้ำหลัก แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ไหลลงใต้ผ่านใจกลางประเทศและไหลลงสู่ชัฏฏุลอะร็อบใกล้อ่าวเปอร์เซีย แม่น้ำเหล่านี้ทำให้ประเทศอิรักมีดินแดนอุดมสมบูรณ์มากมาย ภูมิภาคระหว่างแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสมักเรยกว่า เมโสโปเตเมีย และคาดว่าเป็นบ่อเกิดของการเขียนและอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดของโลก พื้นที่นี้ยังเป็นที่ตั้งของอารยธรรมที่สืบทอดต่อกันมานับแต่ 6 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ อิรักเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิอัคคาเดีย ซูเมเรีย อัสซีเรีย และบาบิโลเนีย นอกจากนี้ยังเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมีเดีย อะคีเมนิด เฮลเลนนิสติก พาร์เธีย แซสซานิด โรมัน รอชิดีน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะห์ มองโกล ซาฟาวิด อาฟชาริยะห์และออตโตมัน และเคยเป็นอาณาเขตในอาณัติสันนิบาตชาติภายใต้การควบคุมของอังกฤษ พรมแดนสมัยใหม่ของประเทศอิรักส่วนใหญ่ปักใน..

ดู 28 มิถุนายนและประเทศอิรัก

ประเทศโรมาเนีย

รมาเนีย (Romania; România) แต่ก่อนเรียกว่า รูมาเนีย (Rumania หรือ Roumania) เป็นประเทศในทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศยูเครนและประเทศมอลโดวา ทิศตะวันตกจดประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย ทิศใต้จดประเทศบัลแกเรีย โรมาเนียมีชายฝั่งบนทะเลดำด้ว.

ดู 28 มิถุนายนและประเทศโรมาเนีย

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู 28 มิถุนายนและประเทศไทย

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ดู 28 มิถุนายนและประเทศเกาหลีใต้

ประเทศเกาหลีเหนือ

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People's Republic of Korea: DPRK) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (North Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น..

ดู 28 มิถุนายนและประเทศเกาหลีเหนือ

ประเทศเซอร์เบีย

ซอร์เบีย (Serbia; Србија, Srbija) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเซอร์เบีย (Republic of Serbia; Република Србија, Republika Srbija) เป็นประเทศสาธารณรัฐตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป เมืองหลวงคือกรุงเบลเกรด เซอร์เบียมีอาณาเขตติดต่อกับฮังการีทางทิศเหนือ ติดต่อกับโรมาเนียและบัลแกเรียทางทิศตะวันออก ติดต่อกับมาซิโดเนียและแอลเบเนียทางทิศใต้ (พื้นที่ชายแดนทางด้านนี้กำลังมีปัญหาเรื่องการเรียกร้องเอกราชของคอซอวอ) และติดต่อกับมอนเตเนโกร โครเอเชีย และบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนาทางทิศตะวันตก.

ดู 28 มิถุนายนและประเทศเซอร์เบีย

ปิติพน พรตรีสัตย์

ปิติพน พรตรีสัตย์ เป็นนักแสดงชาวไทย เคยประกวดหนุ่มคลีโอปี2012 จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 2 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขา การแสดงและกำกับการแสดงภาพยนตร์ ปัจจุบันเป็นนักแสดงสังกัดสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7.

ดู 28 มิถุนายนและปิติพน พรตรีสัตย์

ปีอธิกสุรทิน

ปีอธิกสุรทิน (leap year) เป็นปีที่มีการเพิ่มหนึ่งวัน (หรือหนึ่งเดือนในกรณีของปฏิทินสุริยจันทรคติ) เพื่อให้ปีปฏิทินสอดคล้องกับปีดาราศาสตร์หรือปีฤดูกาล เพราะฤดูกาลและเหตุการณ์ทางดาราศาสตร์มิได้เกิดซ้ำในจำนวนเต็มวัน ปฏิทินซึ่งมีจำนวนวันในแต่ละปีเท่าเดิมจึงต้องเลื่อนให้ตรงกับเหตุการณ์ที่ปฏิทินควรจะติดตามเมื่อเวลาผ่านไป โดยการแทรกวันหรือเดือนเพิ่มเข้าไปในปีนั้น การเลื่อนจึงสามารถทำให้ถูกต้องได้ ปีที่มิใช่ปีอธิกสุรทิน เรียกว่า ปีปกติสุรทิน (common year) ตัวอย่างเช่น ในปฏิทินเกรโกเรียน (ปฏิทินสุริยคติสามัญ) เดือนกุมภาพันธ์ในปีอธิกสุรทินมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วันตามปกติ ดังนั้น ปีดังกล่าวจึงมี 366 วัน แทนที่จะมี 365 วันตามปกติ คล้ายกัน ในปฏิทินฮีบรู (ปฏิทินสุริยจันทรคติ) เดือนจันทรคติที่ 13 มีการเพิ่มเจ็ดครั้งทุก 19 ปี เข้าไปในเดือนจันทรคติสิบสองเดือนในปีปกติสุรทินเพื่อให้ปีปฏิทินไม่คาดเคลื่อนจากฤดูกาลเร็วเกินไป.

ดู 28 มิถุนายนและปีอธิกสุรทิน

โทะโมะโนะบุ ชิมิซุ

ทะโมะโนะบุ ชิมิซุ (Tomonobu Shimizu, 清水 智信) นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1981 ที่เมืองฟุกุอิ จังหวัดฟุกุอิ ประเทศญี่ปุ่น จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โตเกียว ชิมิซุ มีส่วนสูง 171 เซนติเมตร เคยชิงแชมป์โลกในรุ่นฟลายเวทมาแล้ว 2 ครั้ง กับพงษ์ศักดิ์เล็ก ศิษย์คนองศักดิ์ และไนโตะ ไดสุเกะ แต่เป็นฝ่ายแพ้น็อกไปทั้ง 2 ครั้ง ต่อมาได้เลื่อนรุ่นขึ้นมาชกในรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท สามารถเอาชนะคะแนน อูโก คาซาเรส นักมวยชาวเม็กซิกันไปได้ในปลายเดือนสิงหาคม ค.ศ.

ดู 28 มิถุนายนและโทะโมะโนะบุ ชิมิซุ

โซล

ซล (ซออุล) ชื่ออย่างเป็นทางการ นครพิเศษโซล เป็นเมืองหลวงและมหานครที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเกาหลีใต้ มีประชากรประมาณ 10 ล้านคน เป็นปริมณฑลที่ใหญ่ มีประชากรประมาณ 25 ล้านคนซึ่งเป็นบริเวณที่อยู่อาศัยซึ่งประกอบด้วยบริเวณมหานครอินช็อนและจังหวัดคย็องกี เกือบหนึ่งในสี่ของประชากรชาวเกาหลีใต้อาศัยอยู่ในโซลและชาวต่างชาติอีกประมาณ 275, 000 คน นครโซลได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ระดับหลายเหตุการณ์ โดยการใช้ความพยายามอย่างมากที่จะเพิ่มอิทธิพลในฐานะประเทศที่เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมนานาชาติมากเป็นอันดับที่ 5 ในปี 2553 โซลได้รับการโหวตให้เป็นเป้าหมายยอดนิยมในการท่องเที่ยวจากนักท่องเที่ยวชาวจีน, ญี่ปุ่นและไทย 3 ปีต่อเนื่องกันในปี 2554 สถานีรถไฟโซลเป็นสถานีปลายทางหลักของรถไฟความเร็วสูงเคทีเอ๊กซ์และสถานีรถไฟใต้ดินโซลยังเป็นสถานีที่มีผู้ใช้งานมากเป็นอับดับที่สองของโลกโดยมีลักษณะเป็นสายวงรอบที่ยาวที่สุดและและมีเส้นทางรถไฟไต้ดินจนสุดสายที่ยาวเป็นอับดับที่สองของโลก โซลนั้นได้รวมระบบขนส่งมวลชนเข้ากับเมืองอินช็อนและจังหวัดคย็องกี โดยสามารถให้ผู้โดยสารสามารถใช้บริการรถโดยสารประจำทางหรือรถไฟไต้ดินได้อย่างอิสระโดยใช้บัตรที-มันนี่และเชื่อมต่อโดยทางเอเร็กซ์เพื่อไปยังท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน ซึ่งถูกจัดเป็นสนามบินยอดเยี่ยมตั้งแต่ปี 2548 โดยสภาการท่าอากาศยานนานาชาติ โซลเคยเป็นเจ้าภาพเอเชียนเกมส์ 1986, โอลิมปิกฤดูร้อน 1988, ฟุตบอลโลก 2002 และการประชุมสุดยอด จี-20 2010 โซลได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่งการออกแบบในปี 2553 โดยสมาคมออกแบบอุตสาหกรรมนานาชาต.

ดู 28 มิถุนายนและโซล

ไมก์ ไทสัน

มก์ ไทสัน (Mike Tyson) เป็นอดีตนักชกมวยชาวอเมริกัน แชมป์โลกเฮฟวี่เวท 3 สถาบันคนแรกของโลก เจ้าของสถิติเป็นแชมป์โลกเฮฟวี่เวทที่อายุน้อยที่สุดในโลก ด้วยวัยเพียง 20 ปี 4 เดือนกับ 22 วัน ไทสันชนะการชกมวยระดับมืออาชีพ 19 ครั้งแรก ด้วยการน็อกเอาท์ โดยจำนวนนั้นเป็นการน็อกคู่ต่อสู้ในยกแรกถึง 12 ครั้ง.

ดู 28 มิถุนายนและไมก์ ไทสัน

เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ลงพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชปรีชาญาณในเรื่องของดนตรี ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองเพลงตั้งแต่ยังทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช รวมบทเพลงพระราชนิพนธ์ทั้งสิ้น 48 เพลง เพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนอง และคำร้องภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เอง มี 5 เพลง คือ "Echo", "Still on My Mind", "Old-Fashioned Melody", "No Moon" และ "Dream Island" นอกจากนี้ มีเพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองขึ้นภายหลังใส่ในคำร้องที่มีผู้ประพันธ์ไว้แล้ว คือ ความฝันอันสูงสุด เราสู้ และ รัก ผู้ที่โปรดเกล้าฯ ให้แต่งคำร้องประกอบเพลงพระราชนิพนธ์มีหลายท่าน ได้แก่ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์, ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา, ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร, ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา, นายจำนงราชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์), ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ม.ล.ประพันธ์สนิทวงศ์ และท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นต้น ในยุคแรก หลังจากที่เพลงพระราชนิพนธ์มีทำนองและคำร้องสมบูรณ์แล้ว จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ครูเอื้อ สุนทรสนาน นำไปบรรเลงในวงดนตรีกรมโฆษณาการหรือวงกรมประชาสัมพันธ์ เพื่อให้แพร่หลายทั่วไป และโดยพระองค์ท่านเองทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรี วง อ.ส.

ดู 28 มิถุนายนและเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

เกิลส์เจเนอเรชัน

กิลส์เจเนอเรชัน (소녀시대 Sonyeo Shidae; Girls' Generation) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ เอสเอ็นเอสดี หรือ โซชิ (소시) ซึ่งย่อมาจากชื่อของกลุ่มในภาษาเกาหลี เป็นกลุ่มนักร้องหญิงของประเทศเกาหลีใต้ สังกัดค่ายเอสเอ็มเอนเตอร์เทนเมนต์ในปี..

ดู 28 มิถุนายนและเกิลส์เจเนอเรชัน

เก็จมณี วรรธนะสิน

ก็จมณี วรรธนะสิน (สกุลเดิม: พิชัยรณรงค์สงคราม; 4 มกราคม พ.ศ. 2517) มีชื่อเล่นว่า ปิ่น เป็นนักร้องและนักแสดงหญิงชาวไทย และเป็นภรรยาของเจตริน วรรธนะสินซึ่งเป็นนักร้องและนักแสดงเช่นกัน.

ดู 28 มิถุนายนและเก็จมณี วรรธนะสิน

เจมส์ แมดิสัน

มส์ แมดิสัน (James Madison) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 4 แห่งสหรัฐอเมริกา เกิดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 1751 และเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ.

ดู 28 มิถุนายนและเจมส์ แมดิสัน

เจตริน วรรธนะสิน

ตริน วรรธนะสิน ชื่อเล่น เจ (28 ตุลาคม พ.ศ. 2513) หรือที่นิยมเรียกและรู้จักกันดีในชื่อ เจ เจตริน เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย ที่มีผลงานเพลงแนวแร็ปยุคแรกของประเทศไทย และนักกีฬาเจ็ตสกี และยังทำงานอีกหลายอย่าง เช่น พิธีกรโทรทัศน์และเป็นเจ้าของบริษัทผลิตรายการโทรทัศน์อีกด้ว.

ดู 28 มิถุนายนและเจตริน วรรธนะสิน

เคธี เบตส์

แคธลีน ดอยล์ "เคธี" เบตส์ (Kathleen Doyle "Kathy" Bates) เกิดเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1948 เป็นนักแสดงและผู้กำกับชาวอเมริกัน เธอมีบทบาทเล็กในทั้งในภาพยนตร์และโทรทัศน์ ก่อนที่จะมีชื่อเสียงจากผลงานการแสดงภาพยนตร์เรื่อง Misery (1990) ที่เธอได้รับรางวัลทั้งรางวัลออสการ์และรางวัลลูกโลกทองคำในสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม หลังจากนั้นแสดงนำใน Fried Green Tomatoes (1991) และ Dolores Claiborne (1995) ก่อนที่จะมารับบทมอลลี บราวน์ ในภาพยนตร์เรื่อง ไททานิก ซึ่งเป็นตัวละครทีมีชีวิตจริงจากประสบอุบัติเหตุเรืออาร์เอ็มเอส ไททานิก ล่ม ในปี 1912 หลังจากนั้นเธอจึงเริ่มบทบาทเป็นผู้กำกับโดยเฉพาะทางโทรทัศน์เป็นส่วนใหญ่ เธอยังได้รับรางวัลแซกอวอร์ดส จากการแสดงในภาพยนตร์เรื่อง Primary Colors (1998) ซึ่งเธอยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ในสาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม เธอยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ในสาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยมจากเรื่อง About Schmidt (2002) ส่วนผลงานด้านโทรทัศน์ เธอเคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลเอมมีมาแล้ว 7 ครั้ง เธอป่วยเป็นโรคมะเร็งรังไข่ในปี 2003 ซึ่งเธอกล่าวว่าเธอได้หายเป็นปกติแล้ว.

ดู 28 มิถุนายนและเคธี เบตส์

เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์

ปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ (Peter Paul Rubens,; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2120 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2183) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชที่มีชื่อเสียงในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีผลงานในรูปแบบศิลปะบาโรก.

ดู 28 มิถุนายนและเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์

16 มีนาคม

วันที่ 16 มีนาคม เป็นวันที่ 75 ของปี (วันที่ 76 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 290 วันในปีนั้น.

ดู 28 มิถุนายนและ16 มีนาคม

17 ธันวาคม

วันที่ 17 ธันวาคม เป็นวันที่ 351 ของปี (วันที่ 352 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 14 วันในปีนั้น.

ดู 28 มิถุนายนและ17 ธันวาคม

18 ธันวาคม

วันที่ 18 ธันวาคม เป็นวันที่ 352 ของปี (วันที่ 353 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 13 วันในปีนั้น.

ดู 28 มิถุนายนและ18 ธันวาคม

18 ตุลาคม

วันที่ 18 ตุลาคม เป็นวันที่ 291 ของปี (วันที่ 292 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 74 วันในปีนั้น.

ดู 28 มิถุนายนและ18 ตุลาคม

2 กรกฎาคม

วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.

ดู 28 มิถุนายนและ2 กรกฎาคม

27 พฤศจิกายน

วันที่ 27 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 331 ของปี (วันที่ 332 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 34 วันในปีนั้น.

ดู 28 มิถุนายนและ27 พฤศจิกายน

28 กรกฎาคม

วันที่ 28 กรกฎาคม เป็นวันที่ 209 ของปี (วันที่ 210 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 156 วันในปีนั้น.

ดู 28 มิถุนายนและ28 กรกฎาคม

30 พฤษภาคม

วันที่ 30 พฤษภาคม เป็นวันที่ 150 ของปี (วันที่ 151 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 215 วันในปีนั้น.

ดู 28 มิถุนายนและ30 พฤษภาคม

30 ธันวาคม

วันที่ 30 ธันวาคม เป็นวันที่ 364 ของปี (วันที่ 365 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 1 วันในปีนั้น.

ดู 28 มิถุนายนและ30 ธันวาคม

8 ตุลาคม

วันที่ 8 ตุลาคม เป็นวันที่ 281 ของปี (วันที่ 282 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 84 วันในปีนั้น.

ดู 28 มิถุนายนและ8 ตุลาคม

ดูเพิ่มเติม

มิถุนายน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ 28 มิ.ย.๒๘ มิถุนายน

ภูมิภาฑิต นิตยารสมาร์ชราชนาวิกโยธินมูฮัมหมัด ยูนูสรัฐสภาไทยรายนามนายกรัฐมนตรีไทยริชาร์ด ร็อดเจอร์สวันแรงงานสมศักดิ์ รุจิรวัฒน์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการสหภาพโซเวียตสหรัฐสหประชาชาติสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สงครามอิรักสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสนธิสัญญาแวร์ซายหูหน่วยบัญชาการนาวิกโยธินอลงกรณ์ ประทุมวงศ์อารยา เอ ฮาร์เก็ตอารียา สิริโสภาอาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรียอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอดอดุล อดุลเดชจรัสฮา จี-ว็อนฌ็อง-ฌัก รูโซจริยา แซร่าฮ์ เอชเวิทจอห์น คูแซกคิอิชิ มิยะซะวะคณะราษฎรซอฮย็อนซีเอ็นบลูปฏิทินสุริยคติปฏิทินเกรโกเรียนประเทศมอลโดวาประเทศมอนเตเนโกรประเทศอิรักประเทศโรมาเนียประเทศไทยประเทศเกาหลีใต้ประเทศเกาหลีเหนือประเทศเซอร์เบียปิติพน พรตรีสัตย์ปีอธิกสุรทินโทะโมะโนะบุ ชิมิซุโซลไมก์ ไทสันเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเกิลส์เจเนอเรชันเก็จมณี วรรธนะสินเจมส์ แมดิสันเจตริน วรรธนะสินเคธี เบตส์เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์16 มีนาคม17 ธันวาคม18 ธันวาคม18 ตุลาคม2 กรกฎาคม27 พฤศจิกายน28 กรกฎาคม30 พฤษภาคม30 ธันวาคม8 ตุลาคม