ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 20 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2553
20 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2553 มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2463พ.ศ. 2468พ.ศ. 2470พ.ศ. 2479พ.ศ. 2551พ.ศ. 2559สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ปฏิทินเกรโกเรียนประยูร ยมเยี่ยมประเทศไทย
พ.ศ. 2463
ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
20 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2463 · พ.ศ. 2463และพ.ศ. 2553 ·
พ.ศ. 2468
ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
20 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2468 · พ.ศ. 2468และพ.ศ. 2553 ·
พ.ศ. 2470
ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
20 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2470 · พ.ศ. 2470และพ.ศ. 2553 ·
พ.ศ. 2479
ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.
20 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2479 · พ.ศ. 2479และพ.ศ. 2553 ·
พ.ศ. 2551
ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
20 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2551 · พ.ศ. 2551และพ.ศ. 2553 ·
พ.ศ. 2559
ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.
20 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2559 · พ.ศ. 2553และพ.ศ. 2559 ·
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
หรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (United Arab Emirates; الإمارات العربيّة المتّحدة) เป็นประเทศหนึ่งในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาหรับ ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ริมอ่าวเปอร์เซีย ประกอบด้วยรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirates) 7 รัฐ ได้แก่ อาบูดาบี อัจมาน ดูไบ ฟูไจราห์ ราสอัลไคมาห์ ชาร์จาห์ และอุมม์อัลไกไวน์ ในช่วงก่อนปี พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) กลุ่มรัฐดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันในชื่อ รัฐสงบศึก (Trucial States) หรือ ทรูเชียลโอมาน (Trucial Oman) โดยอ้างอิงตามสัญญาสงบศึกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระหว่างอังกฤษกับเชคอาหรับบางพระองค์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มีพรมแดนติดกับโอมาน ซาอุดีอาระเบีย และกาตาร์ เป็นประเทศหนึ่งที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรน้ำมัน.
20 พฤศจิกายนและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ · พ.ศ. 2553และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ·
ปฏิทินเกรโกเรียน
ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2125 (ค.ศ. 1582) เหตุที่มีการคิดค้นปฏิทินเกรกอเรียนขึ้นใช้แทน เนื่องจากปีในปฏิทินจูเลียน ซึ่งยาวนาน 365.25 วันนั้น มีนานกว่าปีฤดูกาลจริง (365.2425 วัน) อยู่เล็กน้อย ทำให้วันวสันตวิษุวัตของแต่ละปี ขยับเร็วขึ้นทีละน้อย เพื่อที่จะให้วันอีสเตอร์ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม (วันวสันตวิษุวัต) จึงจำเป็นต้องปฏิรูปปฏิทิน เนื่องจากสมเด็จพระสันตะปาปาทรงปรับปรุงปฏิทินโดยมีผลย้อนหลัง กำหนดให้ถัดจากวันที่ 4 ตุลาคม..
20 พฤศจิกายนและปฏิทินเกรโกเรียน · ปฏิทินเกรโกเรียนและพ.ศ. 2553 ·
ประยูร ยมเยี่ยม
ประยูร ยมเยี่ยม เป็นศิลปินเพลงพื้นบ้านที่มีความเชี่ยวชาญเพลงลำตัด ในนาม "ลำตัดแม่ประยูร" เกิดเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2476 ที่จังหวัดนนทบุรี จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนวัดสารวัน จังหวัดนครปฐม เข้าสู่อาชีพแสดงลำตัดเมื่ออายุได้ 13 ปี เพราะคุณตาของประยูรมองเห็นแววจึงสนับสนุน และเริ่มออกแสดงลำตัดเป็นครั้งแรกขณะมีอายุ 15 ปี จากนั้นได้เข้าร่วมกับคณะแม่จำรูญ ซึ่งเป็นคณะลำตัดที่มีชื่อเสียงมากในสมัยนั้น จนได้พบกับ “หวังเต๊ะ” จึงได้ร่วมประชันลำตัดกันบ่อยๆ และกลายเป็นคู่ประชันลำตัดยอดนิยมมายาวนาน จนได้แต่งงานและมีบุตร แล้วหย่าขาดจากกัน แต่ก็ยังคงแสดงร่วมกันตลอดมา นอกจากนี้ แม่ประยูรยังสามารถแสดงเพลงพื้นบ้านได้อีกหลายประเภท เช่น เพลงเกี่ยวข้าว เพลงฉ่อย เพลงอีแซว เพลงเรือ เพลงขอทาน เป็นต้น แม่ประยูรเป็นผู้ริเริ่มนำการแสดงลำตัดมาจัดทำเป็นเทปคาสเซ็ท และวิดีโอเทป ออกจำหน่าย เคยออกเทปเพลงแปลงร่วมกับ บุญธรรม พระประโทน เป็นแขกรับเชิญให้กับ ธงไชย แมคอินไตย์ ในคอนเสิร์ต "แบบ เบิร์ด เบิร์ด" ตอน แบบเบิร์ด เบิร์ด อีกแบบ ในปี พ.ศ. 2530 และตอน ความสุข ความทรงจำ ไม่มีที่สิ้นสุด ในปี พ.ศ. 2534 สามารถนำการแสดงลำตัดไปเผยแพร่ในต่างประเทศ และเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ในการช่วยเหลือสังคมและประเทศชาติ เพื่อสื่อความหมายให้ผู้ฟังได้รับข้อมูลข่าวสารที่ทันต่อเหตุการณ์ด้วยรูปแบบความบันเทิงอย่างสนุกสนานและแยบคาย โดยมีความมุ่งมั่นที่จะเผยแพร่และรักษาเพลงพื้นบ้านของไทยเอาไว้ เพื่อถ่ายทอดศาสตร์และศิลป์ให้แก่รุ่นหลานรวมทั้งนิสิตนักศึกษา จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงพื้นบ้าน-ลำตัด) ประจำปี พ.ศ. 2537 แม่ประยูร ยมเยี่ยม ถึงแก่กรรมด้วยโรคหัวใจกำเริบ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มีอายุได้ 77 ปี.
20 พฤศจิกายนและประยูร ยมเยี่ยม · ประยูร ยมเยี่ยมและพ.ศ. 2553 ·
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ 20 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2553 มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง 20 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2553
การเปรียบเทียบระหว่าง 20 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2553
20 พฤศจิกายน มี 88 ความสัมพันธ์ขณะที่ พ.ศ. 2553 มี 379 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 2.14% = 10 / (88 + 379)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 20 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2553 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: