โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

17 พฤศจิกายนและธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง 17 พฤศจิกายนและธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515

17 พฤศจิกายน vs. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515

วันที่ 17 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 321 ของปี (วันที่ 322 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 44 วันในปีนั้น. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515 เป็น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 9 ซึ่งได้ประกาศใช้ใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ภายหลังจาก การปฏิวัติยึดอำนาจตัวเองของ จอมพลถนอม กิตติขจร เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 เป็นผลสำเร็จโดยจอมพลถนอมเป็นผู้รับสนอง พระบรมราชโองการ ซึ่งในธรรมนูญฉบับนี้มีจำนวนทั้งสิ้น 23 มาตราและธรรมนูญฉบับนี้ได้นำมาตรา 17 สมัย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งให้อำนาจบริหาร,นิติบัญญัติและตุลาการกลับมาใช้ หมวดหมู่:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 17 พฤศจิกายนและธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515

17 พฤศจิกายนและธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515 มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2514รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514ถนอม กิตติขจร

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

17 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2514 · ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515และพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514

รัฐประหารในประเทศไท..

17 พฤศจิกายนและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514 · ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

17 พฤศจิกายนและถนอม กิตติขจร · ถนอม กิตติขจรและธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง 17 พฤศจิกายนและธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515

17 พฤศจิกายน มี 75 ความสัมพันธ์ขณะที่ ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515 มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 3.49% = 3 / (75 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 17 พฤศจิกายนและธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »