เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

15 มกราคม

ดัชนี 15 มกราคม

วันที่ 15 มกราคม เป็นวันที่ 15 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 350 วันในปีนั้น (351 วันในปีอธิกสุรทิน).

สารบัญ

  1. 71 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2438พ.ศ. 2451พ.ศ. 2455พ.ศ. 2461พ.ศ. 2470พ.ศ. 2471พ.ศ. 2472พ.ศ. 2486พ.ศ. 2488พ.ศ. 2511พ.ศ. 2514พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2523พ.ศ. 2528พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2537พ.ศ. 2539พ.ศ. 2543พ.ศ. 2544พ.ศ. 2546พ.ศ. 2551พ.ศ. 2553พ.ศ. 2560พ.ศ. 2561พ.ศ. 541พ.ศ. 612กรมประชาสัมพันธ์มาร์ก บาร์ตรามาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์มาร์แชลล์ วอร์เรน ไนเรนเบิร์กมิชิโยะ อะระตะมะลัทธิมากซ์วชิรวิชญ์ เรืองวิวรรธน์วิกิพีเดียสยามสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวีสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสหลวงพ่อเกษม เขมโกอิศอม อัลฮะเฎาะรีอินโดจีนจักรพรรดิกัลบาจักรวรรดิโรมันจิมมี สนูกกาดวงเพชร แสงมรกตปฏิทินสุริยคติปฏิทินเกรโกเรียนประเทศฝรั่งเศสประเทศอังกฤษ... ขยายดัชนี (21 มากกว่า) »

  2. มกราคม

พ.ศ. 2438

ทธศักราช 2438 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1895 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2438

พ.ศ. 2451

ทธศักราช 2451 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1908 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2451

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2455

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2461

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2470

พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2471

พ.ศ. 2472

ทธศักราช 2472 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1929 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2472

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2486

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2488

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2511

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2514

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2516

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2518

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2523

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2528

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2533

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2534

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2537

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2539

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2543

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2544

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2546

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2551

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2553

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 2561

พ.ศ. 541

ทธศักราช 541 ใกล้เคียงกับ 3 ปีก่อนคริสตกาล.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 541

พ.ศ. 612

ทธศักราช 612 ใกล้เคียงกับ คริสต์ศักราช 69.

ดู 15 มกราคมและพ.ศ. 612

กรมประชาสัมพันธ์

กรมประชาสัมพันธ์ เป็นหน่วยงานประชาสัมพันธ์ของรัฐบาลไทย ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เสริมสร้างความเข้าใจ ระหว่างหน่วยงานรัฐกับประชาชน และระหว่างประชาชนกับประชาชนด้วยกัน นอกจากนี้ ยังทำหน้าที่โน้มน้าวชักจูงประชาชน ให้ร่วมมือกับรัฐบาล และหน่วยงานราชการ.

ดู 15 มกราคมและกรมประชาสัมพันธ์

มาร์ก บาร์ตรา

มาร์ก บาร์ตรา อารากัลย์ (Marc Bartra Aregall) เกิดเมื่อวันที่ 15 มกราคม..

ดู 15 มกราคมและมาร์ก บาร์ตรา

มาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์

มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ (Martin Luther King, Jr.; 15 มกราคม พ.ศ. 2472 - 4 เมษายน พ.ศ. 2511) เป็นศาสนาจารย์และนักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน ชาวผิวสี.

ดู 15 มกราคมและมาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์

มาร์แชลล์ วอร์เรน ไนเรนเบิร์ก

นเรนเบิร์ก (ขวา) และเจ. ไฮน์ริช แมทเทในปี ค.ศ. 1961 มาร์แชลล์ วอร์เรน ไนเรนเบิร์ก (Marshall Warren Nirenberg; 10 เมษายน ค.ศ. 1927 – 15 มกราคม ค.ศ.

ดู 15 มกราคมและมาร์แชลล์ วอร์เรน ไนเรนเบิร์ก

มิชิโยะ อะระตะมะ

มิชิโยะ อะระตะมะ (15 มกราคม ค.ศ. 1930 - 17 มีนาคม ค.ศ. 2001) เป็นนักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น เริ่มแสดงภาพยนตร์ในปี..

ดู 15 มกราคมและมิชิโยะ อะระตะมะ

ลัทธิมากซ์

ลัทธิมากซ์ (Marxism) หรือมักใช้ทับศัพท์ว่า มาร์กซิสต์ เป็นวิธีการวิเคราะห์สังคมและเศรษฐกิจซึ่งวิพากษ์ทุนนิยมผ่านกระบวนทัศน์การขูดรีด วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นและความขัดแย้งทางสังคมโดยใช้การตีความพัฒนาการประวัติศาสตร์แบบวัสดุนิยม และทัศนะวิภาษวิธีการแปลงสังคม (social transformation) ถือกำเนิดจากนักปรัชญาชาวเยอรมันสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 คาร์ล มากซ์และฟรีดริช เองเงิลส์ ลัทธิมากซ์ใช้วิธีวิทยาที่เรียก วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์ เพื่อวิเคราะห์และวิพากษ์การพัฒนาของทุนนิยมและบทบาทของการต่อสู้ระหว่างชนชั้นในการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจทั้งระบบ ตามทฤษฎีลัทธิมากซ์ ความขัดแย้งระหว่างชนชั้นเกิดในสังคมทุนนิยมอันเนือ่งจากความขัดกันระหว่างผลประโยชน์ทางวัตถุของชนกรรมาชีพที่ถูกกดขี่ ชนกรรมาชีพคือผู้ใช้แรงงานเอาค่าจ้างที่ชนชั้นกระฎุมพีว่าจ้างเพื่อผลิตสินค้าและบริการ ซึ่งชนชั้นกระฎุมพีนี้เป็นชนชั้นปกครองที่เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตและเอาความมั่งคั่งมาจากการจัดสรรผลิตภัณฑ์ส่วนเกิน (กำไร) ที่ชนกรรมาชีพผลิตขึ้น การต่อสู้ระหว่างชนชั้นนี้ซึ่งมักแสดงออกมาเป็นการกบฏของกำลังการผลิตของสังคม (productive force) ต่อความสัมพันธ์การผลิต (relation of production) ของสังคม ส่งผลให้เกิดวิกฤติระยะสั้นเมื่อชนชั้นกระฎุมพีประสบความลำบากในการจัดการความแปลกแยกของแรงงาน (alienation of labor) ที่ทวีความรุนแรงขึ้นของชนกรรมาชีพ แม้ว่ามีความสำนึกเรื่องชนชั้น (class consciousness) ระดับมากน้อย วิกฤตนี้ลงเอยด้วยการปฏิวัติของชนกรรมาชีพและการสถาปนาสังคมนิยมในที่สุด ซึ่งเป็นระบบทางสังคมและเศรษฐกิจที่ยึดสังคมเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต กระจายให้แต่ละคนตามการมีส่วนร่วมและการผลิตที่จัดระเบียบโดยตรงสำหรับการใช้ เมื่อกำลังการผลิตก้าวหน้าขึ้น มากซ์ตั้งสมมติฐานว่าสังคมนิยมสุดท้ายจะแปลงเป็นสังคมคอมมิวนิสต์ หมายถึง สังคมไร้ชนชั้น ไร้รัฐ และมีมนุษยธรรมที่ยึดกรรมสิทธิ์ร่วมและหลักการพื้นเดิม "จากแต่ละคนตามความสามารถ ให้แต่ละคนตามความต้องการ" (From each according to his ability, to each according to his needs) ลัทธิมากซ์พัฒนาเป็นหลายแขนงและสำนักคิด แม้ปัจจุบันไม่มีทฤษฎีลัทธิมากซ์หนึ่งเดียว สำนักลัทธิมากซ์ต่าง ๆ เน้นแง่มุมบางอย่างของลัทธิมากซ์คลาสสิกต่างกัน และปฏิเสธหรือดัดแปลงแง่มุมบางอย่าง หลายสำนักคิดมุ่งรวมมโนทัศน์ลัทธิมากซ์กับมโนทัศน์ที่มิใช่มากซ์ ซึ่งมักนำไปสู่บทสรุปที่ขัดแย้งกัน ทว่า สมัยหลังมีขบวนการสู่การรับรองวัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์และวัสดุนิยมวิภาษวิธียังเป็นแง่มุมหลักของสำนักคิดลัทธิมากซ์ทุกสำนัก ซึ่งทำให้มีความเห็นตรงกันระหว่างสำนักต่าง ๆ มากขึ้น.

ดู 15 มกราคมและลัทธิมากซ์

วชิรวิชญ์ เรืองวิวรรธน์

วชิรวิชญ์ เรืองวิวรรธน์ ชื่อเล่น ชิม่อน เป็นนักแสดงชายชาวไทย เป็นที่รู้จักจากซีรีส์เรื่อง รุ่นพี่ Secret Love และ ''My Dear Loser รักไม่เอาถ่าน''.

ดู 15 มกราคมและวชิรวิชญ์ เรืองวิวรรธน์

วิกิพีเดีย

วิกิพีเดีย (Wikipedia, หรือ) เป็นสารานุกรมเนื้อหาเสรีหลายภาษาบนเว็บไซต์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร เนื้อหากว่า 35 ล้านบทความ (เฉพาะวิกิพีเดียภาษาอังกฤษมีเนื้อหากว่า 4.9 ล้านบทความ) เกิดขึ้นจากการร่วมเขียนของอาสาสมัครทั่วโลก ทุกคนที่สามารถเข้าถึงวิกิพีเดียสามารถร่วมแก้ไขได้แทบทุกบทความได้อย่างเสรี โดยมีผู้เขียนประจำราว 100,000 คน จนถึงเดือนเมษายน..

ดู 15 มกราคมและวิกิพีเดีย

สยาม

งชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459 สยาม (อักษรละติน: Siam, อักษรเทวนาครี: श्याम) เคยเป็นชื่อเรียกประเทศไทยในอดีต แต่มิใช่ชื่อที่คนไทยเรียกตนเอง ราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ดู 15 มกราคมและสยาม

สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี

นีโทรทัศน์ทีไอทีวี (Thailand Independent Television ชื่อย่อ: TITV) เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟที่อยู่ในการกำกับดูแลโดย กรมประชาสัมพันธ์ ผู้ได้รับมอบอำนาจการออกอากาศจากสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) ในสถานะหน่วยงานรูปแบบพิเศษ (Service Delivery Unit - SDU) ตั้งแต่เวลา 00.00 น.

ดู 15 มกราคมและสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี

สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

นีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินการโดยองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ออกอากาศแทนสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในวันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ.

ดู 15 มกราคมและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

หลวงพ่อเกษม เขมโก

หลวงพ่อเกษม เขมโก หรือ ครูบาเจ้าเกษม เขมโก (นามเดิม เจ้าเกษม ณ ลำปาง) เป็นพระเถระและเกจิอาจารย์ ผู้เคร่งครัดในธุดงควัตร ปลีกวิเวก พุทธศาสนิกชนในจังหวัดลำปางและชาวไทยเคารพนับถือว่าท่านเป็นพระเถราจารย์ปูชนียบุคคลรูปหนึ่งของประเทศไทย และมีผู้มีความเคารพศรัทธาเป็นจำนวนมากในปัจจุบัน อีกทั้งท่านยังเป็นเจ้านายในราชวงศ์ทิพย์จักร ที่ออกผนวชอีกด้ว.

ดู 15 มกราคมและหลวงพ่อเกษม เขมโก

อิศอม อัลฮะเฎาะรี

อิศอม อัลฮะเฎาะรี (عصام الحضري; เกิด 15 มกราคม ค.ศ. 1973) เป็นผู้รักษาประตูฟุตบอลชาวอียิปต์ และเป็นกัปตันทีมของสโมสรฟุตบอลอัลตะอาวุนในซาอุดีโปรเฟสชันนัลลีก และทีมชาติอียิปต์ เขาได้รับฉายาว่า "เขื่อนยักษ์" อัลฮะเฎาะรีใช้ช่วงเวลาส่วนใหญ่ลงเล่นให้กับอัลอะฮ์ลี ซึ่งเขาพาทีมคว้าแชมป์พรีเมียร์ลีกอียิปต์ 8 สมัย, อียิปต์คัพ 4 สมัย, อียิปเตียนซูเปอร์คัพ 4 สมัย, ซีเอเอฟแชมเปียนส์ลีก 4 สมัย, ซีเอเอฟซูเปอร์คัพ 3 สมัย, ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรอาหรับ 1 สมัย และอาหรับซูเปอร์คัพ 2 สมัย สโมสรอื่น ๆ ที่เขาประสบความสำเร็จ อาทิ Sion (ซึ่งเขาพาทีมคว้าแชมป์สวิสคัพ) และ Al Merreikh (ซึ่งเขาพาทีมคว้าแชมป์ซูดานพรีเมียร์ลีกและซูดานคัพ) ณ ปัจจุบัน อัลฮะเฎาะรีลงเล่นให้กับทีมชาติอียิปต์มากเป็นอันดับที่ 3 เขาเคยพาทีมชาติคว้าแชมป์แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 4 สมัย และยังมีชื่อเป็นผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมในรายการนั้นอีก 3 ครั้ง.

ดู 15 มกราคมและอิศอม อัลฮะเฎาะรี

อินโดจีน

มุทรอินโดจีน เมื่อปี ค.ศ. 1886 '''อินโดจีน''': สีเขียวเข้ม: นับรวมเสมอ, สีเขียวอ่อน: นับรวมเป็นส่วนใหญ่, สีแดง: นับรวมเป็นบางครั้ง'''ภูมิภาคอินโดจีน''' (ชีววิทยา): สีเขียวเข้มและอ่อน อินโดจีน (Indochina) หรือ คาบสมุทรอินโดจีน (Indochinese Peninsula) เป็นคาบสมุทรที่ยื่นออกมาจากแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชีย และเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มาของชื่อว่าอินโดจีนนั้น ก็เพราะว่าคาบสมุทรนี้ตั้งอยู่ทางใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และทางตะวันออกของประเทศอินเดีย คำว่า "Indochina" มีที่มาจากคำว่า Indochine ในภาษาฝรั่งเศส และถูกใช้ในระหว่างยุคล่าอาณานิคม ในทางประวัติศาสตร์แล้ว ประเทศในอินโดจีนส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียและจีน ซึ่งแต่ละประเทศต่างก็รับเอาวัฒนธรรมจากทั้งสองชาตินี้เข้ามาระดับที่แตกต่างกัน อย่างเช่น ไทยและลาวได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียเป็นส่วนใหญ่ ส่วนเวียดนามได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากจีนเป็นส่วนใหญ่ ต่อมาในยุคล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก ชาติส่วนใหญ่ในอินโดจีนก็รับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาเช่นกัน.

ดู 15 มกราคมและอินโดจีน

จักรพรรดิกัลบา

แซร์วิอุส ซุลปิกิอุส กัลบา ไกซาร์ เอากุสตุส (SERVIVS SVLPICIVS GALBA CAESAR AVGVSTVS) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งจักรวรรดิโรมันและเป็น จักรพรรดิโรม องค์แรกแห่งยุคที่เรียกว่า ปีสี่จักรพรรดิ ทรงขึ้นครองราชย์สืบต่อจาก จักรพรรดิเนโร เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน ค.ศ.

ดู 15 มกราคมและจักรพรรดิกัลบา

จักรวรรดิโรมัน

ักรวรรดิโรมันในช่วงเวลาต่างๆกัน จักรวรรดิโรมัน (Imperivm Romanvm; Ῥωμαϊκὴ Αὐτοκρατορία หรือ Ἡ Ῥωμαίων βασιλεία; Roman Empire) เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตาล) ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์ มีวันหลายวันที่ได้ถูกเสนอให้เป็นเส้นแบ่งของการเปลี่ยนแปลงระหว่างสาธารณรัฐและจักรวรรดิ ได้แก.

ดู 15 มกราคมและจักรวรรดิโรมัน

จิมมี สนูกกา

มส์ วิลเลียม รีเออร์ (James William Reiher) (1 มีนาคม ค.ศ. 1943 – 15 มกราคม ค.ศ. 2017) ที่คลิฟตัน รัฐนิวเจอร์ซีย์ เป็นนักมวยปล้ำอาชีพและนักแสดงชาวอเมริกัน อดีตนักมวยปล้ำWWE เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ จิมมี "ซุปเปอร์ฟาย" สนูกกา (Jimmy "Superfly" Snuka) เป็นพ่อของจิมมี่ ริเออร์ จูเนียร์และทามีนา สนูกกา ได้เข้าสู่หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอี ประจำปี 1996.

ดู 15 มกราคมและจิมมี สนูกกา

ดวงเพชร แสงมรกต

วงเพชร แสงมรกต หรือ ดวงเพชร ก่อเกียรติยิม มีชื่อจริงว่า มัด ดวงเพชร เกิดเมื่อ 15 มกราคม พ.ศ. 2523 ที่ อำเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี.

ดู 15 มกราคมและดวงเพชร แสงมรกต

ปฏิทินสุริยคติ

รัญ 209 Dido ปฏิทินสุริยคติ (อังกฤษ: solar calendar) คือ ปฏิทินที่สอดคล้องกับฤดูกาลและเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์ ความยาวนานของปีโดยเฉลี่ยมีค่าใกล้เคียงกับปีฤดูกาล ปฏิทินสุริยคติ ได้แก.

ดู 15 มกราคมและปฏิทินสุริยคติ

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู 15 มกราคมและปฏิทินเกรโกเรียน

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ดู 15 มกราคมและประเทศฝรั่งเศส

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ดู 15 มกราคมและประเทศอังกฤษ

ประเทศเปรู

ประเทศเปรู (Perú) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเปรู เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศเอกวาดอร์และประเทศโคลอมเบีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศบราซิลและประเทศโบลิเวีย ทางทิศใต้ติดกับประเทศชิลี และทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศเปรูเป็นที่ตั้งของอารยธรรมการัล ซึ่งเป็นอารยธรรมเก่าแก่อันหนึ่งของโลก และอาณาจักรอินคา จักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาก่อนยุคโคลัมบัส ต่อมาภูมิภาคนี้ตกเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิสเปน และได้รับเอกราชในปี พ.ศ.

ดู 15 มกราคมและประเทศเปรู

ปีอธิกสุรทิน

ปีอธิกสุรทิน (leap year) เป็นปีที่มีการเพิ่มหนึ่งวัน (หรือหนึ่งเดือนในกรณีของปฏิทินสุริยจันทรคติ) เพื่อให้ปีปฏิทินสอดคล้องกับปีดาราศาสตร์หรือปีฤดูกาล เพราะฤดูกาลและเหตุการณ์ทางดาราศาสตร์มิได้เกิดซ้ำในจำนวนเต็มวัน ปฏิทินซึ่งมีจำนวนวันในแต่ละปีเท่าเดิมจึงต้องเลื่อนให้ตรงกับเหตุการณ์ที่ปฏิทินควรจะติดตามเมื่อเวลาผ่านไป โดยการแทรกวันหรือเดือนเพิ่มเข้าไปในปีนั้น การเลื่อนจึงสามารถทำให้ถูกต้องได้ ปีที่มิใช่ปีอธิกสุรทิน เรียกว่า ปีปกติสุรทิน (common year) ตัวอย่างเช่น ในปฏิทินเกรโกเรียน (ปฏิทินสุริยคติสามัญ) เดือนกุมภาพันธ์ในปีอธิกสุรทินมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วันตามปกติ ดังนั้น ปีดังกล่าวจึงมี 366 วัน แทนที่จะมี 365 วันตามปกติ คล้ายกัน ในปฏิทินฮีบรู (ปฏิทินสุริยจันทรคติ) เดือนจันทรคติที่ 13 มีการเพิ่มเจ็ดครั้งทุก 19 ปี เข้าไปในเดือนจันทรคติสิบสองเดือนในปีปกติสุรทินเพื่อให้ปีปฏิทินไม่คาดเคลื่อนจากฤดูกาลเร็วเกินไป.

ดู 15 มกราคมและปีอธิกสุรทิน

โรซา ลุกเซิมบวร์ค

รซา ลุกเซิมบวร์ค (Rosa Luxemburg; Róża Luksemburg) (5 มีนาคม ค.ศ. 1871 - 15 มกราคม ค.ศ. 1919) เป็นนักทฤษฎีมาร์กซิสม์ นักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ และนักกิจกรรมชาวยิวเชื้อสายโปแลนด์ ซึ่งต่อมาได้เป็นพลเมืองเยอรมัน เธอเคยเป็นสมาชิกของพรรคสังคมประชาธิปไตยโปแลนด์และลิทัวเนีย พรรคสังคมประชาธิปไตยเยอรมนี (SPD) พรรคสังคมประชาธิปไตยอิสระเยอรมนี และพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี.

ดู 15 มกราคมและโรซา ลุกเซิมบวร์ค

โดโลเรส โอริออร์แดน

ลเรส แมรี ไอลีน โอริออร์แดน (Dolores Mary Eileen O'Riordan; 6 กันยายน ค.ศ. 1971 – 15 มกราคม ค.ศ. 2018) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงชาวไอริชเป็นอดีตนักร้องนำวงเดอะแครนเบอร์รีส์ นานถึงสิบสามปีก่อนที่ทางวงจะทำการหยุดพักลงในปี 2003 อัลบัมเดี่ยวชุดแรกของเธอ Are You Listening? ออกวางตลาดในเดือนพฤษภาคม 2007.

ดู 15 มกราคมและโดโลเรส โอริออร์แดน

เรเน อาดเลอร์

รเน อาดเลอร์ (René Adler) นักฟุตบอลอาชีพชาว เยอรมัน ในตำแหน่ง ผู้รักษาประตู ปัจจุบันลงเล่นให้กับสโมสร ฮัมบูร์ก ในศึก บุนเดสลีกา และ ทีมชาติเยอรมัน นอกจากนี้อ๊าดเลอร์ยังเป็นรองกัปตันทีมให้กับฮัมบูร์กอีกด้วย เรเนเป็นลูกชายของ เยนส์ อ๊าดเลอร์ อดีตผู้รักษาประตู ทีมชาติเยอรมันตะวันออก ซึ่งเป็นนักฟุตบอลคนสุดท้ายที่ได้ลงเล่นในนามทีมชาติเยอรมันตะวันออก เรเนเข้าร่วมทีมเยาวชนของสโมสร เฟาเอฟเบ ไลป์ซิก ทีมในบ้านเกิดเมื่อ..

ดู 15 มกราคมและเรเน อาดเลอร์

เลโอ โซสเซย์

ลโอ โซสเซย์ เกิดเมื่อวันที่ 15 มกราคม..

ดู 15 มกราคมและเลโอ โซสเซย์

เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์

อ็ดเวิร์ด เทลเลอร์ (Edward Teller, 15 มกราคม ค.ศ. 1908 - 9 กันยายน ค.ศ. 2003) เป็นบิดาของระเบิดไฮโดรเจนที่ใช้ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันแทนปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันในระเบิดนิวเคลียร์แบบดั้งเดิม.

ดู 15 มกราคมและเอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์

เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่

งานสมรสของเจ้าอินทนนท์กับเจ้าสุคันธา เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม: ณ เชียงตุง; พ.ศ. 2456 −15 มกราคม พ.ศ. 2546) เป็นพระธิดาในเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง เจ้าผู้ครองนครเชียงตุงที่ 40 ประสูติแต่เจ้านางบัวทิพย์หลวง ต่อมาเจ้าสุคันธาสมรสกับเจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ พระโอรสของเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่คนสุดท้าย ประดุจสะพานเชื่อมสายสัมพันธ์ระหว่างเชียงตุง-เชียงใหม.

ดู 15 มกราคมและเจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่

เจ้าหญิงไมเคิลแห่งเคนต์

้าหญิงไมเคิลแห่งเคนต์ (พระนามเดิม มารี คริสติน อันนา อักเนซ เฮดวิก อีดา ฟอน ไรบ์นิตซ์; ประสูติ 15 มกราคม พ.ศ. 2488) พระบรมวงศานุวงศ์พระราชวงศ์อังกฤษ พระชายาในเจ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์ พระราชนัดดาในพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร.

ดู 15 มกราคมและเจ้าหญิงไมเคิลแห่งเคนต์

เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่

้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ (พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2534) เป็นราชโอรสองค์สุดท้ายในพลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 (องค์สุดท้าย) กับหม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ ชายารองในเจ้าแก้วนวรัฐ สมรสกับเจ้าสุคันธา ณ เชียงตุง ราชธิดาในเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง เจ้าฟ้าหลวงนครเชียงตุง องค์ที่ 40 กับเจ้าบัวทิพย์หลวง มเหสีพระองค์หนึ่ง การสมรสระหว่างเจ้าอินทนนท์ กับเจ้าสุคันธา นับเป็นการสานสัมพันธ์อันดีระหว่างนครเชียงตุง กับนครเชียงใหม่อย่างดียิ่ง.

ดู 15 มกราคมและเจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่

เดอะแครนเบอร์รีส์

อะ แครนเบอร์รีส์ เป็นวงดนตรีแนวออลเทอร์นาทิฟร็อก จากสาธารณรัฐไอร์แลนด์ ก่อตั้งวงขึ้นในปี..

ดู 15 มกราคมและเดอะแครนเบอร์รีส์

เดอะเพนตากอน

อะเพนตากอน (The Pentagon) หรือ อาคารเพนตากอน เป็นอาคารที่ทำการของกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เคานตีอาร์ลิงตัน รัฐเวอร์จิเนีย อาคารเพนตากอนรูปห้าเหลี่ยมเป็นสัญลักษณ์ทางการทหารของสหรัฐอเมริกา อาคารเพนตากอนเปิดใช้งานเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ.

ดู 15 มกราคมและเดอะเพนตากอน

เซฟฟานี่ อาวะนิค

ซฟฟานี่ อาวะนิค เป็นนักแสดงลูกครึ่งไทย-ออสเตรีย ผู้ชนะเลิศมิสทีนไทยแลนด์ ปี 2009 และเซ็นสัญญาเป็นนักแสดงของช่อง 7.

ดู 15 มกราคมและเซฟฟานี่ อาวะนิค

10 เมษายน

วันที่ 10 เมษายน เป็นวันที่ 100 ของปี (วันที่ 101 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 265 วันในปีนั้น.

ดู 15 มกราคมและ10 เมษายน

17 มีนาคม

วันที่ 17 มีนาคม เป็นวันที่ 76 ของปี (วันที่ 77 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 289 วันในปีนั้น.

ดู 15 มกราคมและ17 มีนาคม

18 พฤษภาคม

วันที่ 18 พฤษภาคม เป็นวันที่ 138 ของปี (วันที่ 139 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 227 วันในปีนั้น.

ดู 15 มกราคมและ18 พฤษภาคม

24 ธันวาคม

วันที่ 24 ธันวาคม เป็นวันที่ 358 ของปี (วันที่ 359 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 7 วันในปีนั้น.

ดู 15 มกราคมและ24 ธันวาคม

28 พฤศจิกายน

วันที่ 28 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 332 ของปี (วันที่ 333 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 33 วันในปีนั้น.

ดู 15 มกราคมและ28 พฤศจิกายน

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ดู 15 มกราคมและ4 เมษายน

6 กันยายน

วันที่ 6 กันยายน เป็นวันที่ 249 ของปี (วันที่ 250 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 116 วันในปีนั้น.

ดู 15 มกราคมและ6 กันยายน

9 กันยายน

วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.

ดู 15 มกราคมและ9 กันยายน

ดูเพิ่มเติม

มกราคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ 15 ม.ค.๑๕ มกราคม

ประเทศเปรูปีอธิกสุรทินโรซา ลุกเซิมบวร์คโดโลเรส โอริออร์แดนเรเน อาดเลอร์เลโอ โซสเซย์เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่เจ้าหญิงไมเคิลแห่งเคนต์เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่เดอะแครนเบอร์รีส์เดอะเพนตากอนเซฟฟานี่ อาวะนิค10 เมษายน17 มีนาคม18 พฤษภาคม24 ธันวาคม28 พฤศจิกายน4 เมษายน6 กันยายน9 กันยายน