โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

15 ค่ำ เดือน 11และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง 15 ค่ำ เดือน 11และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

15 ค่ำ เดือน 11 vs. รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

15 ค่ำ เดือน 11 เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายเมื่อ11 ตุลาคม พ.ศ. 2545 เป็นผลงานกำกับเรื่องแรกของ จิระ มะลิกุล เป็นภาพยนตร์ที่สร้างมาจากความเชื่อ ของชาวท้องถิ่นในแถบอีสาน เกี่ยวกับปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาค ซึ่งเป็นการเรียกขานลูกไฟประหลาดสีชมพูจำนวนมาก ที่พวยพุ่งขึ้นจากลำน้ำโขง ในคืนวันออกพรรษา ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปี โดยลูกไฟนั้นไม่มีกลิ่น ไม่มีเสียง พุ่งขึ้นสูงประมาณ 20-30 เมตร แล้วก็หายไป โดยไม่มีการโค้งลงมา เช่นเดียวกับไฟที่เกิดจากพลุทั่วไป และเกิดขึ้นเป็นจำนวนไม่แน่นอน ในท้องที่อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย 15 ค่ำ เดือน 11 เป็นภาพยนตร์อื้อฉาวแห่งปี.. รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม เป็นรางวัลที่จัดเป็นประจำทุกปีโดย สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ (สสภช) เพื่อเป็นเกียรติแก่ผู้เขียนบทภาพยนตร์ที่ทำผลงานได้โดดเด่นและดีเยี่ยม เป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 จัดขึ้นครั้งแรกใน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 15 ค่ำ เดือน 11และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

15 ค่ำ เดือน 11และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระพุทธเจ้ารางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12จิระ มะลิกุล15 ค่ำ เดือน 11

พระพุทธเจ้า

ระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือ พระพุทธเจ้า เป็นพระสมัญญานามที่ใช้เรียกพระบรมศาสดาของศาสนาพุทธ พระพุทธศาสนาทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานต่างนับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตนเหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกัน ฝ่ายเถรวาทให้ความสำคัญกับพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันคือ "พระโคตมพุทธเจ้า" ซึ่งเชื่อว่าเป็นพระองค์ที่ 4 ในภัทรกัปนี้ และมีกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความสำคัญเท่า ฝ่ายมหายานนับถือพระพุทธเจ้าของฝ่ายเถรวาททั้งหมดและเชื่อว่านอกจากพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ ที่ระบุในพุทธวงศ์ของพระไตรปิฎกภาษาบาลีแล้ว ยังมีพระพุทธเจ้าอีกมากมายเพิ่มเติมขึ้นมาจากตำนานของเถรวาท ผู้ปรารถนาจะเป็นพระพุทธเจ้าต้องบำเพ็ญบารมีเป็นพระโพธิสัตว์ก่อน เมื่อบารมีเต็มแล้วจึงจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย พระพุทธเจ้าทุกพระองค์มีลักษณะพิเศษตรงกันคือ เป็นมนุษย์เพศชายเกิดในวรรณะกษัตริย์หรือพราหมณ์ พระวรกายสมบูรณ์ด้วยมหาปุริสลักขณะ ก่อนออกผนวชจะอภิเษกสมรสมีพระโอรสพระองค์หนึ่ง หลังจากนั้นทรงพบเทวทูตทำให้ตัดสินใจออกผนวช วันออกผนวชจะตรงกับวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ตามคัมภีร์ฝ่ายพุทธ ถือกันว่าพระโคตมพุทธเจ้าดำรงพระชนม์ชีพอยู่ระหว่าง 80 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพาน ตรงกับ 543 ปีก่อนคริสตกาลตามตำราไทยอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินจันทรคติไทย และ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล.

15 ค่ำ เดือน 11และพระพุทธเจ้า · พระพุทธเจ้าและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12 ประจำปี..

15 ค่ำ เดือน 11และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12 · รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

จิระ มะลิกุล

ระ มะลิกุล หรือ เก้ง (24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2504 -) เป็นผู้กำกับ นักเขียนบท และโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์ชาวไทย และเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการบริหารหอภาพยนตร์ โดยปัจจุบันมีผลงานการกำกับภาพยนตร์สี่เรื่อง คือ 15 ค่ำ เดือน 11, มหา'ลัยเหมืองแร่, รัก 7 ปี ดี 7 หน (ตอน 42.195) และ พรจากฟ้า (ตอน พรปีใหม่) รวมทั้งเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์เรื่อง สตรีเหล็ก ซึ่งเป็นผลงานที่เริ่มสร้างชื่อในนาม "หับ โห้ หิ้น".

15 ค่ำ เดือน 11และจิระ มะลิกุล · จิระ มะลิกุลและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

15 ค่ำ เดือน 11

15 ค่ำ เดือน 11 เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายเมื่อ11 ตุลาคม พ.ศ. 2545 เป็นผลงานกำกับเรื่องแรกของ จิระ มะลิกุล เป็นภาพยนตร์ที่สร้างมาจากความเชื่อ ของชาวท้องถิ่นในแถบอีสาน เกี่ยวกับปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาค ซึ่งเป็นการเรียกขานลูกไฟประหลาดสีชมพูจำนวนมาก ที่พวยพุ่งขึ้นจากลำน้ำโขง ในคืนวันออกพรรษา ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปี โดยลูกไฟนั้นไม่มีกลิ่น ไม่มีเสียง พุ่งขึ้นสูงประมาณ 20-30 เมตร แล้วก็หายไป โดยไม่มีการโค้งลงมา เช่นเดียวกับไฟที่เกิดจากพลุทั่วไป และเกิดขึ้นเป็นจำนวนไม่แน่นอน ในท้องที่อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย 15 ค่ำ เดือน 11 เป็นภาพยนตร์อื้อฉาวแห่งปี..

15 ค่ำ เดือน 11และ15 ค่ำ เดือน 11 · 15 ค่ำ เดือน 11และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง 15 ค่ำ เดือน 11และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

15 ค่ำ เดือน 11 มี 28 ความสัมพันธ์ขณะที่ รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม มี 174 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 1.98% = 4 / (28 + 174)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 15 ค่ำ เดือน 11และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »