โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

13 เมษายนและศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง 13 เมษายนและศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์

13 เมษายน vs. ศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์

วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น. ลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ (Bundesverfassungsgericht, ย่อว่า BVerfG) เป็นศาลรัฐธรรมนูญชั้นสูงสุดแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี จัดตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญซึ่งเรียกว่า "กฎหมายหลักสำหรับสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี" (Basic Law for the Federal Republic of Germany) มีบัลลังก์อยู่ ณ เมืองคาร์ลสรูอา (Karlsruhe) โดยเจตนาจะให้อยู่ห่างจากหน่วยงานรัฐบาลกลางทั้งหลายในกรุงเบอร์ลินและเมืองอื่น ๆ ภารกิจหลักของศาล คือ การทบทวนโดยฝ่ายตุลาการ ศาลจึงสามารถวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย และกฎหมายที่ศาลวินิจฉัยว่าไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญจะสิ้นผลไป ในแง่นี้ ศาลมีอำนาจทำนองเดียวกับศาลสูงสุดอื่น ๆ ที่สามารถพิจารณาทบทวนการกระทำของรัฐได้ แต่ศาลยังมีอำนาจเพิ่มเติมอีกหลายประการ บรรดานักนิยมการแทรกแซง (interventionist) จึงถือว่า ศาลนี้เป็นศาลระดับชาติที่มีอำนาจมากที่สุดในโลก อย่างไรก็ดี แม้เป็นศาลสูง แต่ศาลไม่รับชำระอุทธรณ์จากศาลอื่น เขตอำนาจของศาลนั้นมุ่งไปที่ประเด็นความชอบด้วยรัฐธรรมนูญและหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐในอันที่จะปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ ศาลมีอำนาจทบทวนการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญซึ่งฝ่ายนิติบัญญัติให้ความเห็นชอบแล้ว เพื่อให้เป็นที่มั่นใจว่า การแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าวไม่ขัดกับหลักการในกฎหมายหลักตามที่บทนิรันดร์ (eternity clause) ระบุไว้ ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา การที่ศาลใช้อำนาจควบคุมรัฐธรรมนูญอย่างมหาศาลและเป็นนิจ แต่ก็ตั้งอยู่บนหลักการยับยั้งชั่งใจของฝ่ายตุลาการและการปรับปรุงการเมืองมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้ศาลมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในระบอบประชาธิปไตยสมัยใหม่ของประเทศเยอรมนี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 13 เมษายนและศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์

13 เมษายนและศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

13 เมษายนและประเทศเยอรมนี · ประเทศเยอรมนีและศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง 13 เมษายนและศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์

13 เมษายน มี 73 ความสัมพันธ์ขณะที่ ศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.19% = 1 / (73 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 13 เมษายนและศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »