โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

13 กันยายนและพ.ศ. 2535

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง 13 กันยายนและพ.ศ. 2535

13 กันยายน vs. พ.ศ. 2535

วันที่ 13 กันยายน เป็นวันที่ 256 ของปี (วันที่ 257 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 109 วันในปีนั้น. ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 13 กันยายนและพ.ศ. 2535

13 กันยายนและพ.ศ. 2535 มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชวน หลีกภัยพ.ศ. 2459พ.ศ. 2538พรรคประชาธิปัตย์พระเจ้าโอมูกามาโอโย อึนยิมบา กาบามบา อิกูรู รูกิดีที่ 4พฤษภาทมิฬปฏิทินเกรโกเรียน11 พฤศจิกายน

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

13 กันยายนและชวน หลีกภัย · ชวน หลีกภัยและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2459

ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

13 กันยายนและพ.ศ. 2459 · พ.ศ. 2459และพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

13 กันยายนและพ.ศ. 2538 · พ.ศ. 2535และพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

13 กันยายนและพรรคประชาธิปัตย์ · พ.ศ. 2535และพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโอมูกามาโอโย อึนยิมบา กาบามบา อิกูรู รูกิดีที่ 4

มเด็จพระเจ้าโอมูกามาโอโย อึนยิมบา กาบามบา อิกูรู รูกิดีที่ 4 (His Royal Highness Omukama Oyo Nyimba Kabamba Iguru Rukidi IV) พระบรมราชสมภพในวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2535 หลังจากนั้น 3 ปีต่อมา ในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2538 ทรงขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรโตโร ในประเทศยูกันดา (โอมูกามา) ทำให้พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระชนมพรรษาน้อยที่สุดในโลก ตั้งแต่วันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2553 เป็นต้นไป พระองค์จะมีพระราชอำนาจทางราชการงานเมือง ปกครองประชาชนชาวโตโรอย่างสมบูรณ์ ซึ่งผ่านต่อมาจากสมเด็จพระราชินีนาถเบสต์ ผู้เป็นพระราชมารดาที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ โดยมีพิธีนี้ได้มีการจัดงานฉลองขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ถึง 4 วัน 4 คืนติดต่อกัน ที่พระราชวังบนเขาของพระองค์ในเมืองฟอร์ต พอร์ทอล ซึ่งเป็นเมืองหลวงของโตโร โดยมีผู้นำจากมิตรประเทศหลายชาติร่วมเป็นสักขีพยานในครั้งนี้ อาทิ โตกเบ อาเฟเดที่ 14 ทำหน้าที่เป็นประธานในพิธี และมีสักขีพยานคือ 4 ผู้นำจากสาธารณรัฐกานา, มามา อักบลาตสุที่ 3 ราชินีแห่งโฮ บันโค, ชิยิเว มันต์ฟอมบี ราชินีแห่งเผ่าซูลูในแอฟริกาใต้ในพระนามของกษัตริย์สวาติแห่งสวาซิแลนด์ นอกจากนี้ยังมีบรรดาผู้แทนจากสาธารณรัฐเบนิน โกตดิวัวร์ คองโก มาลี มอริเตเนีย ซิมบับเว และอียิปต์ เข้าร่วมเป็นสักขีพยานอีกเป็นจำนวนมาก.

13 กันยายนและพระเจ้าโอมูกามาโอโย อึนยิมบา กาบามบา อิกูรู รูกิดีที่ 4 · พ.ศ. 2535และพระเจ้าโอมูกามาโอโย อึนยิมบา กาบามบา อิกูรู รูกิดีที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาทมิฬ

หตุการณ์พฤษภาทมิฬ เป็นเหตุการณ์ที่ประชาชนเคลื่อนไหวประท้วงรัฐบาลครั้งสำคัญครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองที่มีพลเอกสุจินดา คราประยูร เป็น นายกรัฐมนตรี และต่อต้านการสืบทอดอำนาจของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ระหว่างวันที่ 17-24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นการรัฐประหาร รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นำไปสู่เหตุการณ์ปราบปรามและปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจและทหารกับประชาชนผู้ชุมนุม มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจำนวนมาก (พลเอกสุจินดาแถลงว่ามีผู้เสียชีวิต 40 คน บาดเจ็บ 600 คน) และนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เหตุการณ์ได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ โดยมีหัวหน้าคณะคือ พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในขณะนั้นภายหลังการรัฐประหารได้เลือกนาย อานันท์ ปันยารชุน เป็นรักษาการนายกรัฐมนตรีและได้ร่างรัฐธรรมนูญจนมีการเลือกตั้งผลปรากฏว่านายณรงค์ วงศ์วรรณ หัวหน้าพรรคสามัคคีธรรมที่ตั้งขึ้นและได้รับการสนับสนุนจากบุคคลในคณะ ร. ได้คะแนนมากที่สุด แต่สุดท้ายไม่สามารถดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีได้เนื่องจากถูกรัฐบาลสหรัฐขึ้นบัญชีดำจากความใกล้ชิดกับนักค้ายาเสพติด ทำให้ พล.อ.สุจินดา ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน ซึ่งเป็นการตระบัดสัตย์ที่เคยกล่าวไว้ว่าจะไม่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนได้รับฉายา "เสียสัตย์เพื่อชาติ" จากสื่อมวลชนในเวลาต่อมา จากผลดังกล่าว ทำให้ประชาชนหลายส่วนไม่พอใจการขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีของพล.อ.สุจินดา ซึ่งขัดกับหลักประชาธิปไตย จนนำไปสู่การประท้วงทั้งการอดอาหาร การเดินขบวน และการชุมนุมในสถานที่ต่างๆ ในกรุงเทพฯ ทำให้รัฐบาลพล.อ.สุจินดาใช้คำสั่งสลายการชุมนุม เกิดการปะทะขึ้น มีประชาชนเสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก ในเวลาต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงรับสั่งให้พลเอกสุจินดา คราประยูรและพลตรีจำลอง ศรีเมืองเข้าเฝ้า โดยทรงพระราชทานพระราชดำรัสแก่คณะผู้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ซึ่งได้มีการเผยแพร่ผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย หลังจากนั้นอีก 4 วัน พล.อ.สุจินดา จึงได้ประกาศลาออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรี และนายอานันท์ ปันยารชุน ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ก่อนการเลือกตั้งในเวลาต่อมา การชุมนุมในครั้งนี้ยังเป็นการชุมนุมที่ผู้ประท้วงมีโทรศัพท์มือถือใช้สื่อสารจนถูกเรียกว่าเป็น "ม็อบมือถือ" และรวมถึงการเรียกชื่อฝั่งพรรคซึ่งแตกออกเป็น 2 ฝั่งจากผู้สื่อข่าว โดยเรียกฝั่งพรรคที่เข้าไปทางรัฐบาลของพล.อ.สุจินดา ว่า "พรรคมาร" ส่วนฝั่งพรรคที่คัดค้านการมีอำนาจของพล.อ.สุจินดา เรียกว่า "พรรคเทพ".

13 กันยายนและพฤษภาทมิฬ · พ.ศ. 2535และพฤษภาทมิฬ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2125 (ค.ศ. 1582) เหตุที่มีการคิดค้นปฏิทินเกรกอเรียนขึ้นใช้แทน เนื่องจากปีในปฏิทินจูเลียน ซึ่งยาวนาน 365.25 วันนั้น มีนานกว่าปีฤดูกาลจริง (365.2425 วัน) อยู่เล็กน้อย ทำให้วันวสันตวิษุวัตของแต่ละปี ขยับเร็วขึ้นทีละน้อย เพื่อที่จะให้วันอีสเตอร์ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม (วันวสันตวิษุวัต) จึงจำเป็นต้องปฏิรูปปฏิทิน เนื่องจากสมเด็จพระสันตะปาปาทรงปรับปรุงปฏิทินโดยมีผลย้อนหลัง กำหนดให้ถัดจากวันที่ 4 ตุลาคม..

13 กันยายนและปฏิทินเกรโกเรียน · ปฏิทินเกรโกเรียนและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

11 พฤศจิกายน

วันที่ 11 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 315 ของปี (วันที่ 316 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 50 วันในปีนั้น.

11 พฤศจิกายนและ13 กันยายน · 11 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง 13 กันยายนและพ.ศ. 2535

13 กันยายน มี 71 ความสัมพันธ์ขณะที่ พ.ศ. 2535 มี 251 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 2.48% = 8 / (71 + 251)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 13 กันยายนและพ.ศ. 2535 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »