เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

12 กันยายน

ดัชนี 12 กันยายน

วันที่ 12 กันยายน เป็นวันที่ 255 ของปี (วันที่ 256 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 110 วันในปีนั้น.

สารบัญ

  1. 119 ความสัมพันธ์: บีทีเอส (กลุ่มนักร้อง)ฟลอเรนซ์พ.ศ. 1728พ.ศ. 1756พ.ศ. 1838พ.ศ. 2035พ.ศ. 2037พ.ศ. 2062พ.ศ. 2090พ.ศ. 2152พ.ศ. 2226พ.ศ. 2255พ.ศ. 2268พ.ศ. 2335พ.ศ. 2380พ.ศ. 2391พ.ศ. 2435พ.ศ. 2440พ.ศ. 2450พ.ศ. 2453พ.ศ. 2457พ.ศ. 2464พ.ศ. 2466พ.ศ. 2485พ.ศ. 2487พ.ศ. 2488พ.ศ. 2493พ.ศ. 2499พ.ศ. 2500พ.ศ. 2501พ.ศ. 2508พ.ศ. 2516พ.ศ. 2520พ.ศ. 2522พ.ศ. 2523พ.ศ. 2524พ.ศ. 2527พ.ศ. 2529พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2537พ.ศ. 2542พ.ศ. 2546พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2556พระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส... ขยายดัชนี (69 มากกว่า) »

  2. กันยายน

บีทีเอส (กลุ่มนักร้อง)

ีทีเอส (BTS), บียอนด์เดอะซีน (Beyond The Scene) หรือ บังทันบอยส์ (Bangtan Boys) เป็นกลุ่มดนตรีชายเกาหลีใต้แนวเคป็อปและฮิปฮอป สังกัดบิกฮิตเอนเตอร์เทนเมนต์ ประกอบด้วยสมาชิกจำนวนเจ็ดคนคือ จิน, ชูกา, เจ-โฮป, แร็ปมอนสเตอร์, จีมิน, วี และจ็องกุก เปิดตัวครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน..

ดู 12 กันยายนและบีทีเอส (กลุ่มนักร้อง)

ฟลอเรนซ์

ฟลอเรนซ์ (Florence) หรือ ฟีเรนเซ (Firenze) เป็นเมืองหลวงของแคว้นทัสกานีและมณฑลฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ระหว่าง..

ดู 12 กันยายนและฟลอเรนซ์

พ.ศ. 1728

ทธศักราช 1728 ใกล้เคียงกั.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 1728

พ.ศ. 1756

ทธศักราช 1756 ใกล้เคียงกั.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 1756

พ.ศ. 1838

ทธศักราช 1838 ใกล้เคียงกั.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 1838

พ.ศ. 2035

ทธศักราช 2035 ใกล้เคียงกั.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2035

พ.ศ. 2037

ทธศักราช 2037 ใกล้เคียงกั.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2037

พ.ศ. 2062

ทธศักราช 2062 ใกล้เคียงกั.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2062

พ.ศ. 2090

ทธศักราช 2090 ใกล้เคียงกั.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2090

พ.ศ. 2152

ทธศักราช 2152 ใกล้เคียงกั.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2152

พ.ศ. 2226

ทธศักราช 2226 ใกล้เคียงกั.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2226

พ.ศ. 2255

ทธศักราช 2255 ใกล้เคียงกั.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2255

พ.ศ. 2268

ทธศักราช 2268 ใกล้เคียงกั.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2268

พ.ศ. 2335

ทธศักราช 2335 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1792 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2335

พ.ศ. 2380

ทธศักราช 2380 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1837.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2380

พ.ศ. 2391

ทธศักราช 2391 ใกล้เคียงกั.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2391

พ.ศ. 2435

ทธศักราช 2435 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1892 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2435

พ.ศ. 2440

ทธศักราช 2440 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1897 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2440

พ.ศ. 2450

ทธศักราช 2450 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1907 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2450

พ.ศ. 2453

ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2453

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2457

พ.ศ. 2464

ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2464

พ.ศ. 2466

ทธศักราช 2466 ตรงกั.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2466

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2485

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2487

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2488

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2493

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2499

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2500

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2501

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2508

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2516

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2520

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2522

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2523

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2524

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2527

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2529

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2533

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2534

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2535

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2537

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2542

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2546

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2548

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2549

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2551

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2552

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 12 กันยายนและพ.ศ. 2556

พระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (François Ier) (12 กันยายน ค.ศ. 1494 ถึง 31 มีนาคม ค.ศ. 1547) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสตั้งแต่ ค.ศ.

ดู 12 กันยายนและพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้าอาฟงซูที่ 6 (Afonso VI; 21 สิงหาคม พ.ศ. 2186 - 12 กันยายน พ.ศ. 2226) เป็นพระมหากษัตริย์โปรตุเกสและอัลเกรฟลำดับที่ 22 และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์บรากังซา พระองค์ทรงได้พระสมัญญานามว่า "ผู้ชนะ" (o Vitorioso).

ดู 12 กันยายนและพระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส

พอล วอล์กเกอร์

อล วิลเลียม วอล์กเกอร์ ที่ 4 (12 กันยายน ค.ศ. 1973 — 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 2013) เป็นนักแสดงชาวอเมริกันและอดีตนายแบบ มีผลงานการแสดงที่เป็นที่รู้จักคือบทไบรอัน โอคอนเนอร์จาก เดอะฟาสต์แอนด์เดอะฟิวเรียส และเรื่อง Varsity Blues กับการว่ายน้ำและเล่นเซิร์ฟไปทั่วชายหาดต่าง ๆ ทางด้านใต้ของรัฐ การดำน้ำเป็นส่วนหนึ่งของเขาโดยแสดงในภาพยนตร์เรื่อง Into the Blue ในปี 2002 วอล์กเกอร์ ติด 1 ใน 50 หนุ่มหล่อสาวสวยที่สุดในโลกจากการจัดอันดับของนิตยสารพีเพิล.

ดู 12 กันยายนและพอล วอล์กเกอร์

กุสตาฟ มาห์เลอร์

กุสตาฟ มาห์เลอร์ ในวัยเด็ก กุสตาฟ มาห์เลอร์ (เกิด 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1860 - เสียชีวิต 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1911) เป็นคีตกวีและวาทยกรชาวโบฮีเมียน-ออสเตรียน มาห์เลอร์เป็นที่รู้จักในยุคของเขา ในฐานะวาทยากรชื่อดังแห่งยุค แต่ในปัจจุบัน เขากลับเป็นที่ยอมรับในฐานะคีตกวีแห่งยุคนีโอโรแมนติก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากซิมโฟนี และบทเพลงในลักษณะซิมโฟนี เช่น เพลง Das Lied von der Erde (บทเพลงแห่งโลก) ที่เป็นจุดสุดยอดของบทเพลงขับร้องที่เขาประพันธ์ ส่วนซิมโฟนีหมายเลข 3 ความยาว 95 นาที นับเป็นซิมโฟนีที่ยาวที่สุดที่เคยมีการเปิดแสดง และยังชื่อได้ว่าเป็นซิมโฟนีที่ยาวที่สุดในบรรดาซิมโฟนีทั้งหลายอีกด้ว.

ดู 12 กันยายนและกุสตาฟ มาห์เลอร์

กีโยม เลอ ฌ็องตี

กีโยม โฌแซ็ฟ อียาแซ็งต์ ฌ็อง-บาติสต์ เลอ ฌ็องตี เดอ ลา กาแลซีแยร์ (Guillaume Joseph Hyacinthe Jean-Baptiste Le Gentil de la Galaisière, 12 กันยายน พ.ศ. 2268 - 22 ตุลาคม พ.ศ.

ดู 12 กันยายนและกีโยม เลอ ฌ็องตี

มาตราริกเตอร์

มาตราริกเตอร์ (Richter magnitude scale) หรือที่รู้จักกันว่า มาตราท้องถิ่น (local magnitude scale; ML) เป็นการกำหนดตัวเลขเพื่อบอกปริมาณของพลังงานแผ่นดินไหวที่ปลดปล่อยออกมาจากแผ่นดินไหวครั้งหนึ่ง มันเป็นมาตราส่วนเชิงลอการิทึมฐานสิบ ซึ่งสามารถคำนวณได้จากลอการิทึมของแอมพลิจูดการสั่นของการกระจัดที่มีค่ามากที่สุดจากศูนย์บนเครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหวบางประเภท (Wood–Anderson torsion) ยกตัวอย่างเช่น แผ่นดินไหวที่สามารถวัดค่าได้ 5.0 ตามมาตราริกเตอร์จะมีแอพลิจูดการสั่นมากเป็น 10 เท่าของแผ่นดินไหวที่วัดค่าได้ 4.0 ตามมาตราริกเตอร์ ขีดจำกัดบนที่มีประสิทธิภาพของการวัดตามมาตราริกเตอร์นี้ควรต่ำกว่า 9 และต่ำกว่า 10 สำหรับมาตราโมเมนต์แมกนิจูด เมื่อตรวจวัดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ ปัจจุบันมาตราริกเตอร์ถูกแทนที่ด้วยมาตราขนาดโมเมนต์ ซึ่งเป็นมาตรฐานที่จะให้ค่าที่โดยทั่วไปแล้วจะมีค่าใกล้เคียงกันสำหรับแผ่นดินไหวขนาดกลาง (3-7 แมกนิจูด) แต่ที่ไม่เหมือนกับมาตราริกเตอร์คือ มาตราโมเมนต์แมกนิจูดจะรายงานสมบัติพื้นฐานของแผ่นดินไหวจากข้อมูลเครื่องตรวจวัด แทนที่จะเป็นการรายงานข้อมูลเครื่องตรวจวัด ซึ่งไม่สามารถเปรียบเทียบกันได้ในแผ่นดินไหวทุกครั้ง และค่าที่ได้จะไม่สมบูรณ์ในแผ่นดินไหวความรุนแรงสูง เนื่องจากมาตราโมเมนต์แมกนิจูดมักจะให้ค่าที่ใกล้เคียงกันกับมาตราริกเตอร์ แมกนิจูดของแผ่นดินไหวที่ได้รับรายงานในสื่อมวลชนจึงมักจะรายงานโดยไม่ระบุว่าเป็นการวัดความรุนแรงตามมาตราใด พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาของแผ่นดินไหว ซึ่งสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับพลังทำลายล้างของมัน สามารถวัดได้จาก 3/2 เท่าของแอมพลิจูดการสั่น ดังนั้น แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงแตกต่างกัน 1 แมกนิจูดจึงมีค่าเท่ากับพหุคูณของ 31.6 (.

ดู 12 กันยายนและมาตราริกเตอร์

ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน

ัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน (Jan van der Heyden; 5 มีนาคม ค.ศ. 1637 - 12 กันยายน ค.ศ. 1712) เป็นจิตรกร ช่างดราฟต์ ช่างพิมพ์ และนักประดิษฐ์ชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดินมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดินเป็นผู้ปรับปรุงสายดับเพลิงในปี..

ดู 12 กันยายนและยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน

ยุมิโกะ ฟุจิตะ

มิโกะ ฟุจิตะ (藤田 弓子; เกิดเมื่อวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1945 ที่เมืองเมะงุโระ, โตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น) เป็นนักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น.

ดู 12 กันยายนและยุมิโกะ ฟุจิตะ

ยุทธการที่เวียนนา

ทธการเวียนนา (Schlacht am Kahlenberg, İkinci Viyana Kuşatması, Battle of Vienna) เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 11 ถึง 12 กันยายน ค.ศ. 1683 หลังจากเวียนนาถูกล้อมโดยจักรวรรดิออตโตมันอยู่เป็นเวลาสองเดือน ยุทธการเวียนนาเป็นการต่อสู้ระหว่างสันนิบาตศักดิ์สิทธิ์กับฝ่ายจักรวรรดิออตโตมันและรัฐบริวารไม่ไกลจากเนินเขาคาห์เลนแบร์กในเวียนนา ยุทธการเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างอำนาจของราชวงศ์ฮับส์บวร์กในยุโรปกลาง กองทัพเวียนนานำโดยเอิร์นสท์ รืดิเกอร์ กราฟ ฟอน สตาร์เฮมแบร์กภายใต้การบังคับบัญชาของสมเด็จพระจักรพรรดิลีโอโพลด์ที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ชัยชนะของยุทธการใหญ่เป็นของฝ่ายกองทัพโปแลนด์, ออสเตรีย และ เยอรมัน ภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์โปแลนด์พระเจ้าจอห์นที่ 3 โซบีสกี ในการต่อสู้กับกองทัพของจักรวรรดิออตโตมันและกองทัพของรัฐบริวารที่นำโดยมหาเสนาบดีปาชาคารา มุสตาฟา ตามความเห็นบางความเห็นกล่าวว่ายุทธการครั้งนี้เป็นจุดเปลี่ยนแปลงของสงครามออตโตมัน-ฮับส์บวร์กซึ่งเป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐอำนาจต่างๆ ในยุโรปกลางกับจักรวรรดิออตโตมันที่ดำเนินมาร่วมสามร้อยปี อีกความเห็นหนึ่งก็ว่าเป็นลมหายใจเฮือกสุดท้ายของจักรวรรดิออตโตมันที่เมื่อถึงจุดนั้นก็เป็นช่วงที่ขยายตัวจนเกินตัวอยู่แล้ว สิบหกปีหลังจากการที่ยุทธการสิ้นสุดลงราชวงศ์ฮับส์บวร์กแห่งออสเตรียก็เริ่มเข้ามามีอำนาจทางตอนใต้ของฮังการี และ ทรานซิลเวเนียที่เดิมอยู่ภายใต้อำนาจของออตโตมัน.

ดู 12 กันยายนและยุทธการที่เวียนนา

ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ

ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ ดยุคแห่งเออร์บิโน (Lorenzo II de’ Medici, Duke of Urbino) (12 กันยายน ค.ศ. 1492 - (5 เมษายน ค.ศ. 1519) ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ ดยุคแห่งเออร์บิโนเกิดเมื่อวันที่ (12 กันยายน ค.ศ.

ดู 12 กันยายนและลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ

วงจรรวม

วงจรรวม วงจรรวม หรือ วงจรเบ็ดเสร็จ (integrated circuit; IC) หมายถึง วงจรที่นำเอาไดโอด, ทรานซิสเตอร์, ตัวต้านทาน, ตัวเก็บประจุ และองค์ประกอบวงจรต่าง ๆ มาประกอบรวมกันบนแผ่นวงจรขนาดเล็ก ในปัจจุบันแผ่นวงจรนี้จะทำด้วยแผ่นซิลิคอน บางทีอาจเรียก ชิป (Chip) และสร้างองค์ประกอบวงจรต่าง ๆ ฝังอยู่บนแผ่นผลึกนี้ ส่วนใหญ่เป็นชนิดที่เรียกว่า Monolithic การสร้างองค์ประกอบวงจรบนผิวผลึกนี้ จะใช้กรรมวิธีทางด้านการถ่ายภาพอย่างละเอียด ผสมกับขบวนการทางเคมีทำให้ลายวงจรมีความละเอียดสูงมาก สามารถบรรจุองค์ประกอบวงจรได้จำนวนมาก ภายในไอซี จะมีส่วนของลอจิกมากมาย ในบรรดาวงจรเบ็ดเสร็จที่ซับซ้อนสูง เช่น ไมโครโปรเซสเซอร์ ซึ่งใช้ทำงานควบคุม คอมพิวเตอร์ จนถึงโทรศัพท์มือถือ แม้กระทั่งเตาอบไมโครเวฟแบบดิจิทัล สำหรับชิปหน่วยความจำ (RAM) เป็นอีกประเภทหนึ่งของวงจรเบ็ดเสร็จ ที่มีความสำคัญมากในยุคปัจจุบัน.

ดู 12 กันยายนและวงจรรวม

ศรัณยู วินัยพานิช

รัณยู วินัยพานิช เป็น ซึ่งมีชื่อเสียงจากการชนะเลิศรายการ "เฟิร์สต์สเตจโชว์" (First Stage Show) ประจำปี..

ดู 12 กันยายนและศรัณยู วินัยพานิช

สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 6

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 6 (Innocent VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1352 ถึง ค.ศ. 1362 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.

ดู 12 กันยายนและสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 6

สหพันธรัฐ

แผนที่ประเทศสหพันธรัฐอย่างเป็นทางการ รัฐเดี่ยว สหพันธรัฐ (federation) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า รัฐสหพันธ์ เป็นรัฐอธิปไตยประเภทหนึ่งซึ่งมีลักษณะของสหภาพรัฐหรือภูมิภาคที่ปกครองตนเองบางส่วน ที่รวมเข้าด้วยกันโดยรัฐบาลกลาง หรือรัฐบาลสหพันธ์ ในสหพันธรัฐ สถานะการปกครองตนเองของรัฐองค์ประกอบนั้นตามแบบได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญและไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้โดยการตัดสินใจฝ่ายเดียวของรัฐบาลกลาง ระบอบการปกครองหรือโครงสร้างตามรัฐธรรมนูญที่พบในสหพันธรัฐนั้นทราบกันในชื่อ ระบอบสหพันธรัฐ เป็นระบอบการปกครองที่ตรงข้ามกับรูปแบบรัฐอีกประเภทหนึ่ง คือ รัฐเดี่ยว ตัวอย่างสหพันธรัฐ เช่น ประเทศเยอรมนี ซึ่งประกอบด้วยสิบหกรัฐ (Länder) ที่รวมเข้ากันเป็นสหพันธ์ สหพันธรัฐนั้นอาจประกอบไปด้วยประชาชนที่หลากหลายทางเชื้อชาติ และมีพื้นที่กว้างใหญ่ (ดังเช่น ความหลากหลายอย่างที่สุดในอินเดีย) แม้สหพันธรัฐจะไม่จำเป็นต้องประกอบด้วยทั้งสองประการที่กล่าวมาก็ตาม สหพันธรัฐนั้นส่วนมากก่อตั้งขึ้นจากความตกลงแต่เดิมระหว่างรัฐอธิปไตยจำนวนหนึ่งโดยตั้งอยู่บนความกังวลหรือผลประโยชน์ร่วมกัน ความตกลงแรกเริ่มได้สร้างเสถียรภาพซึ่งเกื้อหนุนผลประโยชน์ร่วมกันข้ออื่น นำดินแดนที่แตกต่างกันสิ้นเชิงมาใกล้ชิดกัน และให้ดินแดนทั้งหมดมีหลักความเห็น (common ground) กว่าแต่ก่อน ในขณะเดียวกัน ความตกลงนี้ได้รับการรับรองและมีการจัดขบวนการเพื่อผสานรวมกันให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้น แต่ก็มีบางช่วง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปัจจัยวัฒนธรรมร่วมเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น เชื้อชาติหรือภาษา บางขั้นตอนในแบบนี้ถูกเร่งให้เร็วขึ้นหรือบีบอัด องค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ คือ องค์ประชุมกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ (Forum of Federations) มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงออตตาวา รัฐออนตาริโอ ประเทศแคนาดา ซึ่งมีจุดประสงค์ในการแบ่งปันแนวคิดและแนวปฏิบัติในการจัดการระบบการปกครองแบบสหพันธ์ ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 9 ประเท.

ดู 12 กันยายนและสหพันธรัฐ

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ดู 12 กันยายนและสหราชอาณาจักร

สิทธา สภานุชาติ

ทธา สภานุชาติ ชื่อเล่น เอี๊ยง เกิดเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2533 เป็นนักร้อง นักแสดงชายชาวไทย เป็นหนึ่งในศิลปินบอยแบนด์วง "รูกกีบีบี (Rookie BB)" สังกัดอาร์เอ.

ดู 12 กันยายนและสิทธา สภานุชาติ

สงครามครูเสดแอลบิเจนเซียน

แผนที่ของล็องก์ด็อกก่อนสงครามครูเสดแอลบิเจนเซียน สงครามครูเสดแอลบิเจนเซียน หรือ สงครามครูเสดแคทาร์ (Albigensian Crusade หรือ Cathar Crusade; ค.ศ.

ดู 12 กันยายนและสงครามครูเสดแอลบิเจนเซียน

สตาญิสวัฟ แลม

ตาญิสวัฟ แลม (Stanisław Lem; 12 กันยายน ค.ศ. 1921 – 27 มีนาคม ค.ศ. 2006) เป็นนักเขียนชาวโปแลนด์ มีผลงานที่เป็นที่รู้จักคือ Solaris ที่ถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์แล้ว 3 ครั้ง ผลงานของเขาได้รับการแปลไปแล้วกว่า 41 ภาษาและขายได้มากกว่า 45 ล้านเล่มทั่วโลก.

ดู 12 กันยายนและสตาญิสวัฟ แลม

หยาง มี่

thumb หยาง มี่ เป็นนักแสดงชาวจีน เกิดเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2529 ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน เริ่มมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักจากบท ก๊วยเซียง ในละครเรื่อง มังกรหยก ตอน ศึกเทพอินทรี (2004) ที่กำลังออกอากาศทางช่อง 3.

ดู 12 กันยายนและหยาง มี่

หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุกแห่งเฮสส์และไรน์

แกรนด์ดยุคหลุยส์ที่ 4 แห่งเฮสส์และไรน์ หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ (ฟรีดรีช วิลเฮล์ม ลุดวิก คาร์ล; 12 กันยายน ค.ศ.

ดู 12 กันยายนและหลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุกแห่งเฮสส์และไรน์

อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี

อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี (Irène Joliot-Curie; 12 กันยายน พ.ศ. 2440 – 17 มีนาคม พ.ศ. 2499) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส เธอเป็นลูกสาวของมารี กูว์รี และปีแยร์ กูว์รี และเป็นภรรยาของเฟรเดริก ฌอลีโย-กูว์รี เธอได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีร่วมกับสามีของเธอจากการค้นพบกัมมันตรังสีเหนี่ยวนำ ทำให้ครอบครัวกูว์รีเป็นครอบครัวที่มีผู้ได้รับรางวัลโนเบลมากที่สุดในขณะนั้นเอแลนและปีแยร์ บุตรของอีแรนกับเฟรเดริกก็เป็นนักวิทยาศาสตร์เช่นกัน.

ดู 12 กันยายนและอีแรน ฌอลีโย-กูว์รี

ฮันส์ ซิมเมอร์

ันส์ โฟลเรียน ซิมเมอร์ (Hans Florian Zimmer; 12 กันยายน ค.ศ. 1957 -) นักแต่งเพลง นักแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์ชาวเยอรมันเชื้อสายเฮสเซิน ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงทั้งรางวัลออสการ์ รางวัลลูกโลกทองคำ รางวัลบาฟตา และรางวัลแกรมมีหลายครั้ง ดนตรีของเขาเป็นแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ผสมผสานกับการบรรเลงด้วยวงออเคสตรา ซิมเมอร์เกิดที่แฟรงก์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี เมื่อเป็นวัยรุ่นได้ย้ายมาอยู่ที่ลอนดอน ประเทศอังกฤษ เริ่มอาชีพนักดนตรีตั้งแต่ปี..

ดู 12 กันยายนและฮันส์ ซิมเมอร์

ฮ่องกง

องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.

ดู 12 กันยายนและฮ่องกง

จอห์นนี แคช

อห์นนี แคช (Johnny Cash) (26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 – 12 กันยายน ค.ศ. 2003) เป็นนักร้อง-นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน และเป็นหนึ่งในนักดนตรีที่มีอิทธิพลมากที่สุดในศตวรรษที่ 20 โดยหลักแล้วเป็นศิลปินในแนวคันทรี เพลงและดนตรีของเขามีหลากหลายแนวเพลง อย่างร็อกอะบิลลี และร็อกแอนด์โรล (โดยเฉพาะในช่วงเริ่มแรกของอาชีพเขา) เช่นเดียวกับแนวบลูส์, โฟล์ก และกอสเปล แคชเป็นที่รู้จักในเรื่อง มีนำเสียงเด่นชัดในโทนเบส-แบริโทน และเสียงขบวนรถไฟจากวงแบ็กอัปของเขาที่ชื่อ เทนเนสซีทรี เขามักแต่งกายสีเข้ม โดยเขามีชื่อลำลองว่า "ผู้ชายในชุดดำ" เขามักจะเริ่มต้นแนะนำตัวเองในคอนเสิร์ตด้วยคำว่า "เฮลโล, ผมจอห์นนี แคช" เพลงโดยมากของแคช โดยเฉพาะในยุคหลัง จะสะท้อนถึงความเศร้าโศก ความทุกข์ของจิตใจและการไถ่บาป เพลงประจำตัวของเขาเช่น "I Walk the Line", "Folsom Prison Blues", "Ring of Fire", "Get Rhythm" และ "Man in Black" เขายังมีเพลงตลกขบขันอย่าง "One Piece at a Time" และ "A Boy Named Sue" และเพลงเกี่ยวกับรถไฟอย่าง "Hey Porter" และ "Rock Island Line".

ดู 12 กันยายนและจอห์นนี แคช

จักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 1 โคมเนนอส

ักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 1 โคมเนนอส (Andronikos I Komnenos) (ราว ค.ศ. 1118 – 12 กันยายน ค.ศ. 1185) อันโดรนิคอสที่ 1 โคมเนนอสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์โคมเนนอส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ ค.ศ.

ดู 12 กันยายนและจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 1 โคมเนนอส

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ.

ดู 12 กันยายนและจักรวรรดิออตโตมัน

จารุจินต์ นภีตะภัฏ

ร.จารุจินต์ นภีตะภัฏ (22 มกราคม พ.ศ. 2493 - 12 กันยายน พ.ศ. 2551) อดีตผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ หรือ อพว.

ดู 12 กันยายนและจารุจินต์ นภีตะภัฏ

ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์

นันต์ธรญ์ นีระสิงห์ หรือ ฟาง หนึ่งในสมาชิกวงเกิร์ลกรุ๊ป เฟย์ ฟาง แก้ว อดีตสมาชิก เฟย์ ฟาง แก้ว ค่ายกามิกาเซ่ ในเครืออาร์เอส ฟางเกิดเมื่อวันที่ 12 กันยายน..

ดู 12 กันยายนและธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู 12 กันยายนและทวีปยุโรป

ตอร์ปิโด

ตอร์ปิโดของเยอรมัน ค.ศ. 1900 ตอร์ปิโด (torpedo) (หรือในอดีตเรียกว่า automotive, automobile, locomotive, หรือ fish torpedo; ภาษาพูดเรียก "fish") คืออาวุธยิงบรรจุระเบิดที่ขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเอง ปล่อยเหนือหรือใต้ผิวน้ำ และขับเคลื่อนใต้น้ำเข้าหาเป้าหมาย ออกแบบให้ระเบิดเมื่อสัมผัสหรือเข้าใกล้เป้าหมาย เดิมคำว่าตอร์ปิโดใช้เรียกอุปกรณ์ที่หลากหลายแต่ส่วนมากใช้เรียกสิ่งที่ปัจจุบันเรียกว่าทุ่นระเบิด จากประมาณปี..

ดู 12 กันยายนและตอร์ปิโด

ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์)

รงละคร Neue Musik-Festhalle สถานที่แสดงรอบปฐมทัศน์ ภาพนี้ถ่ายขึ้นในวันซ้อมใหญ่ก่อนการแสดงจริง กระท่อมที่มาห์เลอร์ใช้เป็นสถานที่ประพันธ์แต่งซิมโฟนีหมายเลข 8 ในปี 1906 ซิมโฟนีหมายเลข 8 ในบันไดเสียง อี แฟลต เมเจอร์ ผลงานของกุสตาฟ มาห์เลอร์ เป็นงานประพันธ์ดนตรีสำหรับการร้องประสานเสียงประกอบดนตรีจากวงออร์เคสตรา เป็นหนึ่งในงานดนตรีคลาสสิกระดับใหญ่ที่ต้องใช้กลุ่มเครื่องดนตรี และนักร้องประสานเสียงจำนวนมากที่สุด จนบางครั้งมีผู้เรียกซิมโฟนีบทนี้ว่า "ซิมโฟนีของคนนับพัน" (Symphony of a Thousand, หมายความว่า ต้องใช้นักดนตรีและนักร้องประสานเสียงถึงหนึ่งพันคนในการแสดง) โดยตัวมาห์เลอร์เองก็ไม่ได้โต้แย้งใดๆ ที่มีคนเรียกซิมโฟนีบทนี้เช่นนั้น มาห์เลอร์ประพันธ์ซิมโฟนีบทนี้ในช่วงฤดูร้อนของปี..

ดู 12 กันยายนและซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์)

ปกรณ์ ลัม

ปกรณ์ ลัม มีชื่อเดิมว่า ปกรณ์ คูภิรมย์ เกิดเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2522 เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย มีเชื้อสายสิงคโปร์-ไทยเชื้อสายจีน-เยอรมัน เคยเป็นนักร้องวง โนโลโก้ ในค่ายมอร์มิวสิก เครือแกรมมี่มีผลงาน 3 ชุด คือ How To Be The Rock Star, Mosaic และ Gravity..

ดู 12 กันยายนและปกรณ์ ลัม

ปฏิทินสุริยคติ

รัญ 209 Dido ปฏิทินสุริยคติ (อังกฤษ: solar calendar) คือ ปฏิทินที่สอดคล้องกับฤดูกาลและเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์ ความยาวนานของปีโดยเฉลี่ยมีค่าใกล้เคียงกับปีฤดูกาล ปฏิทินสุริยคติ ได้แก.

ดู 12 กันยายนและปฏิทินสุริยคติ

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู 12 กันยายนและปฏิทินเกรโกเรียน

ประเทศกาบูเวร์ดี

กาบูเวร์ดี (Cabo Verde) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐกาบูเวร์ดี (República de Cabo Verde) เป็นประเทศเกาะที่ตั้งอยู่บนกลุ่มเกาะภูเขาไฟประมาณ 10 เกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนกลาง ห่างจากชายฝั่งทวีปแอฟริกาไปทางทิศตะวันตก 570 กิโลเมตร (350 ไมล์) ทุกเกาะมีเนื้อที่รวมกันประมาณ 4,000 ตารางกิโลเมตร (1,500 ตารางไมล์) เกาะสามเกาะในจำนวนนี้ (ได้แก่ เกาะซัล, เกาะโบอาวิชตา และเกาะไมยู) มีลักษณะค่อนข้างราบ แห้ง และเต็มไปด้วยทราย ส่วนเกาะอื่น ๆ โดยทั่วไปจะมีภูมิประเทศที่ขรุขระและมีพืชพรรณขึ้นอยู่มากกว่า ก่อนที่ชาวยุโรปจะเข้ามานั้น บนหมู่เกาะกาบูเวร์ดีไม่มีผู้คนอาศัยอยู่จนกระทั่งนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้ค้นพบและเข้ายึดครองเป็นอาณานิคมในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมอย่างยิ่งสำหรับการค้าทาสข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก หมู่เกาะแห่งนี้จึงทวีความมั่งคั่งขึ้นเรื่อย ๆ และดึงดูดให้บรรดาโจรสลัดเข้ามาปล้นสะดมอยู่หลายครั้ง หนึ่งในจำนวนนั้นได้แก่ ฟรานซิส เดรก โจรสลัดหลวงของราชินีอังกฤษซึ่งเข้าปล้นเมืองรีไบรากรังดือ (เมืองหลักของหมู่เกาะในขณะนั้น) ถึงสองครั้งในคริสต์ทศวรรษ 1580 นอกจากนี้เรือหลวงบีเกิล (ที่มีชาลส์ ดาร์วิน เดินทางไปด้วย) ก็เข้ามาจอดแวะที่กาบูเวร์ดีในปี ค.ศ.

ดู 12 กันยายนและประเทศกาบูเวร์ดี

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ดู 12 กันยายนและประเทศสวิตเซอร์แลนด์

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ดู 12 กันยายนและประเทศอินโดนีเซีย

ประเทศซิมบับเว

ซิมบับเว (Zimbabwe) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซิมบับเว (Republic of Zimbabwe) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ทวีปแอฟริกา อยู่ระหว่างแม่น้ำซัมเบซีและแม่น้ำลิมโปโป มีอาณาเขตทิศเหนือติดกับประเทศแซมเบีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศโมซัมบิก ทิศตะวันตกติดกับประเทศบอตสวานา และทิศใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ มีพื้นที่ประเทศ 390,580 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวงคือ กรุงฮาราเร.

ดู 12 กันยายนและประเทศซิมบับเว

ปีอธิกสุรทิน

ปีอธิกสุรทิน (leap year) เป็นปีที่มีการเพิ่มหนึ่งวัน (หรือหนึ่งเดือนในกรณีของปฏิทินสุริยจันทรคติ) เพื่อให้ปีปฏิทินสอดคล้องกับปีดาราศาสตร์หรือปีฤดูกาล เพราะฤดูกาลและเหตุการณ์ทางดาราศาสตร์มิได้เกิดซ้ำในจำนวนเต็มวัน ปฏิทินซึ่งมีจำนวนวันในแต่ละปีเท่าเดิมจึงต้องเลื่อนให้ตรงกับเหตุการณ์ที่ปฏิทินควรจะติดตามเมื่อเวลาผ่านไป โดยการแทรกวันหรือเดือนเพิ่มเข้าไปในปีนั้น การเลื่อนจึงสามารถทำให้ถูกต้องได้ ปีที่มิใช่ปีอธิกสุรทิน เรียกว่า ปีปกติสุรทิน (common year) ตัวอย่างเช่น ในปฏิทินเกรโกเรียน (ปฏิทินสุริยคติสามัญ) เดือนกุมภาพันธ์ในปีอธิกสุรทินมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วันตามปกติ ดังนั้น ปีดังกล่าวจึงมี 366 วัน แทนที่จะมี 365 วันตามปกติ คล้ายกัน ในปฏิทินฮีบรู (ปฏิทินสุริยจันทรคติ) เดือนจันทรคติที่ 13 มีการเพิ่มเจ็ดครั้งทุก 19 ปี เข้าไปในเดือนจันทรคติสิบสองเดือนในปีปกติสุรทินเพื่อให้ปีปฏิทินไม่คาดเคลื่อนจากฤดูกาลเร็วเกินไป.

ดู 12 กันยายนและปีอธิกสุรทิน

นอร์แมน บอร์ล็อก

นอร์แมน อี. บอร์ล็อก นอร์แมน เออร์เนสต์ บอร์ล็อก (Norman Ernest Borlaug) (25 มีนาคม ค.ศ. 1914 - 12 กันยายน ค.ศ. 2009) นักวิชาการการเกษตรชาวอเมริกัน ผู้ก่อตั้งมูลนิธิเวิลด์ฟู้ดไพรส์ ผู้ได้รับการยกย่องให้เป็น "บิดาแห่งการปฏิวัติสีเขียว" ในฐานะที่เป็นผู้นำการคิดค้น และนำเสนอเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตอาหารจากการเกษตรในเม็กซิโก อินเดีย และปากีสถาน ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 การคิดค้นของบอร์ล็อก ทำให้ประเทศผู้ผลิตสามารถเพิ่มปริมาณผลผลิตได้เป็นสองเท่า และประมาณการว่าสามารถช่วยเหลือประชากรโลกจากความอดอยากได้มากกว่าพันล้านคน The phrase "over a billion lives saved" is often cited by others in reference to Norman Borlaug's work (e.g.).

ดู 12 กันยายนและนอร์แมน บอร์ล็อก

แบร์รี ไวต์

แบร์รี ไวต์ (Barry White; 12 กันยายน ค.ศ. 1944-4 กรกฎาคม ค.ศ. 2003) เป็นโปรดิวเซอร์ นักร้อง-นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เขาเคยได้รับรางวัลแกรมมี่ 5 ครั้ง มีเสียงแบบเบสและภาพลักษณ์ในการร้องเพลงรัก ไวต์ประสบความสำเร็จที่สุดในคริสต์ทศวรรษ 1970 กับวงเดอะเลิฟอันลิมิเต็ดออร์เคสตรา เขามีเพลงฮิตในแนวดนตรีโซล ฟังก์ ดิสโก้ มียอดขายอัลบั้มหลายแผ่นเสียงทองคำและทองคำขาวทั้งอัลบั้มและซิงเกิล ที่รวมแล้วมียอดรวม 100 ล้าน.

ดู 12 กันยายนและแบร์รี ไวต์

แม่น้ำฮัดสัน

แม่น้ำฮัดสัน (Hudson River; ชนพื้นเมืองอิโรควอยส์:เมอห์-ฮี-คัน-เน-ทัก, แปลว่าโมเฮแกนใหญ่.

ดู 12 กันยายนและแม่น้ำฮัดสัน

แร็ปมอนสเตอร์

ม นัม-จุน (อังกฤษ:Kim Namjoon เกาหลี:김남준) เป็นที่รู้จักในชื่อ อาร์เอ็ม (อังกฤษ:RM เกาหลี:알엠) เป็นแร็ปเปอร์และนักแต่งเพลงชาวเกาหลี หัวหน้าวงบังทันบอยส์ วงฮิปฮอปบอยแบนด์สัญชาติเกาหลีใต้ ภายใต้สังกัดบิ้กฮิตเอนเตอร์เทนเมนต.

ดู 12 กันยายนและแร็ปมอนสเตอร์

แอฟริกาตะวันตก

นแดนแอฟริกาตะวันตก แอฟริกาตะวันตก เป็นภูมิภาคที่อยู่ทางตะวันตกของทวีปแอฟริกา ซึ่งประกอบไปด้วย 15 ประเทศคือ.

ดู 12 กันยายนและแอฟริกาตะวันตก

แอนดรูว์ บิ๊กส์

แอนดรูว์ บิ๊กส์ (Andrew Biggs; 12 กันยายน พ.ศ. 2508 —) เป็นชาวออสเตรเลียที่รู้จักกันดีในประเทศไทย ด้วยประสบการณ์การสอนภาษาอังกฤษผ่านทางรายการวิทยุและโทรทัศน์ และคอลัมน์ทางหน้าหนังสือพิมพ์และนิตยสารมากว่า 15 ปี แอนดรูว์ บิ๊กส์ เพิ่งจะได้รับรางวัลเพชรสยาม สำหรับความสามารถในการใช้ภาษาไทยยอดเยี่ยม ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งรองกรรมการผู้จัดการของบริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) มีผลงานเขียนหนังสือสอนภาษาอังกฤษหลายเล่ม เขียนคอลัมน์รายวันให้กับหนังสือพิมพ์ คม ชัด ลึก จัดรายการโทรทัศน์ให้กับไทยทีวีสีช่อง 3 และอื่นๆ อีกมากม.

ดู 12 กันยายนและแอนดรูว์ บิ๊กส์

แผ่นดินไหว

แผนที่โลกแสดงจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวระหว่างปี พ.ศ. 2506–2541 ทั้งสิ้น 358,214 จุด แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์สั่นสะเทือนหรือเขย่าของพื้นผิวโลก เพื่อปรับตัวให้อยู่ในสภาวะสมดุล ซึ่งแผ่นดินไหวสามารถก่อให้เกิดความเสียหายและภัยพิบัติต่อบ้านเมือง สิ่งมีชีวิต ส่วนสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวนั้นส่วนใหญ่เกิดจากธรรมชาติ โดยแผ่นดินไหวบางลักษณะสามารถเกิดจากการกระทำของมนุษย์ได้ แต่มีความรุนแรงน้อยกว่าที่เกิดขึ้นเองจากธรรมชาติ นักธรณีวิทยาประมาณกันว่าในวันหนึ่ง ๆ จะเกิดแผ่นดินไหวประมาณ 1,000 ครั้ง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นแผ่นดินไหวที่มีการสั่นสะเทือนเพียงเบา ๆ เท่านั้น คนทั่วไปจะไม่รู้สึกถึงแรงสั่นสะเทือน แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (แนวระหว่างรอยต่อธรณีภาค) ทำให้เกิดการเคลื่อนตัวของชั้นหินขนาดใหญ่เลื่อน เคลื่อนที่ หรือแตกหักและเกิดการโอนถ่ายพลังงานศักย์ ผ่านในชั้นหินที่อยู่ติดกัน พลังงานศักย์นี้อยู่ในรูปคลื่นไหวสะเทือน ศูนย์เกิดแผ่นดินไหวมักเกิดตามรอยเลื่อน อยู่ในระดับความลึกต่าง ๆ ของผิวโลก เท่าที่เคยวัดได้ลึกสุดอยู่ในชั้นแมนเทิล ส่วนจุดที่อยู่ในระดับสูงกว่า ณ ตำแหน่งผิวโลก เรียกว่า จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว โดยการศึกษาเรื่องแผ่นดินไหวและคลื่นสั่นสะเทือนที่ถูกส่งออกมา เรียกว่า วิทยาแผ่นดินไหว เมื่อจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่อยู่นอกชายฝั่ง อาจเกิดคลื่นสึนามิตามมาได้ นอกจากนี้ แผ่นดินไหวยังอาจก่อให้เกิดดินถล่ม และบางครั้งกิจกรรมภูเขาไฟตามมาได้ แผ่นดินไหววัดโดยใช้การสังเกตจากไซสโมมิเตอร์ (seismometer) มาตราขนาดโมเมนต์เป็นมาตราที่ใช้มากที่สุดซึ่งทั่วโลกรายงานแผ่นดินไหวที่มีขนาดมากกว่าประมาณ 5 สำหรับแผ่นดินไหวอีกจำนวนมากที่ขนาดเล็กกว่า 5 แมกนิจูด สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหวแต่ละประเทศจะวัดด้วยมาตราขนาดท้องถิ่นเป็นส่วนใหญ่ หรือเรียก มาตราริกเตอร์ สองมาตรานี้มีพิสัยความถูกต้องคล้ายกันในเชิงตัวเลข แผ่นดินไหวขนาด 3 หรือต่ำกว่าส่วนใหญ่แทบไม่รู้สึกหรือรู้สึกได้เบามาก ขณะที่แผ่นดินไหวตั้งแต่ขนาด 7 อาจก่อความเสียหายรุนแรงเป็นบริเวณกว้าง ขึ้นอยู่กับความลึก แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์มีขนาดมากกว่า 9 เล็กน้อย แม้จะไม่มีขีดจำกัดว่าขนาดจะมีได้ถึงเท่าใด แผ่นดินไหวใหญ่ล่าสุดที่มีขนาด 9.0 หรือมากกว่า คือ แผ่นดินไหวขนาด 9.0 ที่ประเทศญี่ปุ่นเมื่อปี 2554 และเป็นแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึกในญี่ปุ่น ความรุนแรงของการสั่นสะเทือนวัดโดยมาตราเมร์กัลลีที่ถูกดัดแปลง หากตัวแปรอื่นคงที่ แผ่นดินไหวที่อยู่ตื้นกว่าจะสร้างความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างมากกว่าแผ่นดินไหวที่อยู่ลึกกว.

ดู 12 กันยายนและแผ่นดินไหว

แจ็ก คิลบี

แจ็ค เซนต์แคลร์ คิลบี (8 พฤศจิกายน 2466 – 20 มิถุนายน 2548) เป็นวิศวกรไฟฟ้าชาวอเมริกันผู้มีส่วนในการประดิษฐ์วงจรรวมชิ้นแรกขึ้น ร่วมกับโรเบิร์ต นอยซ์ ขณะทำงานอยู่ที่เท็กซัสอินสทรูเมนท์ในปี 2501 เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี 2543 เขายังเป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องคิดเลขมือถือและเครื่องพิมพ์แบบใช้ความร้อนด้ว.

ดู 12 กันยายนและแจ็ก คิลบี

แคว้นอารากอน

แผนที่การกระจายภาษาในแคว้นอารากอน ภาษาสเปนใช้พูดทั่วไปในแคว้น และเป็นภาษาราชการเพียงภาษาเดียว อารากอน (สเปนและAragón) หรือ อะราโก (Aragó) เป็นแคว้นปกครองตนเองทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสเปน มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดต่อกับประเทศฝรั่งเศส ทางทิศตะวันออกติดต่อกับแคว้นกาตาลุญญา ทางทิศใต้ติดต่อกับแคว้นบาเลนเซีย และทางทิศตะวันตกติดต่อกับแคว้นกัสติยา-ลามันชา แคว้นกัสติยาและเลออน แคว้นลารีโอคา และแคว้นนาวาร์ ประกอบด้วยจังหวัดซาราโกซา จังหวัดอูเอสกา และจังหวัดเตรูเอล มีแม่น้ำเอโบรไหลผ่านในพื้นที่ ตอนเหนือเป็นภูเขาสูง มีหุบเขาที่อุดมสมบูรณ์และสวยงาม ส่วนตอนใต้ค่อนข้างแห้งแล้ง นอกจากจังหวัดทั้งสามแล้ว แคว้นอารากอนยังแบ่งย่อยออกเป็น 33 เทศมณฑล (comarcas) อีกด้ว.

ดู 12 กันยายนและแคว้นอารากอน

โวจเทค อดัม

วจเทค อดัม (เกิด 12 กันยายน ค.ศ. 1950) เป็นนักการเมืองชาวเช็กเกีย ปัจจุบันเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมืองเซาท์ โมราเวียน สังกัดพรรคคอมมิวนิสต์เชโกสโลวาเกียเป็นกรรมาธิการด้านสาธารณสุขและการบริหารรัฐกิจและการพัฒนาภูมิภาค ตั้งแต่เดือนธันวาคม..

ดู 12 กันยายนและโวจเทค อดัม

เฟย์ ฟาง แก้ว

ฟย์ ฟาง แก้ว (FFK) เป็นกลุ่มศิลปินหญิงสัญชาติไทยและเป็นศิลปินกลุ่มแรกในสังกัดค่ายกามิกาเซ่ ในเครือ อาร์เอส มีสมาชิกอันประกอบด้วย เฟย์ - พรปวีณ์ นีระสิงห์ ฟาง - ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ และแก้ว - จริญญา ศิริมงคลสกุล เปิดตัวอย่างเป็นทางการกับค่ายกามิกาเซ่ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ.

ดู 12 กันยายนและเฟย์ ฟาง แก้ว

เกาะลันเตา

ที่ตั้งของเกาะลันเตา (สีแดง) ในเขตบริหารพิเศษฮ่องกง (สีเขียว) เกาะลันเตา (Lantau Island) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน.

ดู 12 กันยายนและเกาะลันเตา

เรอัลเบติส

รอัลเบติสบาลอมปีเอ (Real Betis Balompié) เป็นสโมสรฟุตบอลสเปน ของเมืองเซบียา แคว้นอันดาลูซีอา ก่อตั้งเมื่อวันที่ 12 กันยายน..

ดู 12 กันยายนและเรอัลเบติส

เลสลี จาง

ลสลี จาง (อังกฤษ: Leslie Cheung) อดีตนักแสดงและนักร้องฮ่องกงที่มีชื่อเสียง เลสลี จาง เกิดเมื่อวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1956 ที่เกาลูน มีชื่อเป็นภาษาจีนว่า จาง กั๊วหยง (อักษรจีนตัวเต็ม: 張國榮, อักษรจีนตัวย่อ: 张国荣, พินอิน: Zhāng Guóróng) โดยมีชื่อแรกเกิดว่า จาง ฟะฉุง (張發宗; Chong Koet-yùng; Chong Fat-chûng) เลสลี จาง เป็นลูกคนสุดท้องในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 10 คน โดยที่พี่คนที่ 9 นั้นอายุห่างกันมากถึง 8 ปี บิดานั้นมีอาชีพเป็นช่างตัดเสื้อรายใหญ่ที่เคยตัดเสื้อให้กับบุคคลที่มีชื่อเสียงมาแล้ว เช่น วิลเลียม โฮลเดน หรือ อัลเฟรด ฮิตช์ค็อก ในวัยเด็กนั้นเลสลี จาง เคยเผยว่าตัวเองรู้สึกเหงามากที่ต้องถูกทิ้งให้อยู่โดดเดี่ยวกับบรรดาตุ๊กตาของเล่นต่าง ๆ และพ่อก็ไม่เคยควบคุมอารมณ์ตนเองได้เลย ซึ่งชีวิตในครอบครัวนั้นเต็มไปด้วยการทะเลาะเบาะแว้งและการใช้อารมณ์ ดังนั้นจึงโตมาด้วยการที่ยายเป็นผู้เลี้ยงดู เลสลี จาง เข้าศึกษาด้านสิ่งทอที่มหาวิทยาลัยลีดส์ ประเทศอังกฤษ เพื่อสืบทอดกิจการของครอบครัว แต่ต้องกลับมาก่อนเรียนจบ เพราะบิดาป่วยหนัก เริ่มต้นอาชีพในวงการบันเทิงด้วยการเป็นนักร้องในช่วงต้นทศวรรษที่ 80 มีผลงานเพลงมากมาย ซึ่งในส่วนของการโปรโมตผลงานเพลงนี้ เลสลี จาง เคยมาโปรโมตในประเทศไทยด้วยในปี พ.ศ.

ดู 12 กันยายนและเลสลี จาง

เหยา หมิง

หยา หมิง เหยา หมิง เกิดเมื่อวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1980 เป็นนักบาสเกตบอลอาชีพชาวจีน เล่นให้กับทีมฮิวสตัน รอกเก็ตส์ ในเอ็นบีเอ เขายังเป็นนักกีฬาที่สูงที่สุดในเกมรวมดาราเอ็นบีเอ ด้วยความสูง 7 ฟุต 6 นิ้ว (229 ซม) เหยา เกิดในเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน เริ่มเล่นให้กับ Shanghai Sharks เมื่อตอนวัยรุ่น และเล่นให้กับ Chinese Basketball Association (CBA) เป็นเวลา 5 ปี และได้เป็นแชมป์ในปีสุดท้าย เขาเริ่มเข้าใน NBA Draft ในปี 2002 หลังจากนั้นได้มีการต่อรองกับ CBA และ Sharks จนได้เป็นส่วนหนึ่งในฮิวสตัน รอกเก็ตส์ เขาได้รับตำแหน่งเป็นเซ็นเตอร์ จนได้รางวัลผู้เล่นดาวรุ่งในปี 2002 และติดทีมรวมดาราในปี 2003-2004 เหยาแต่งงานกับเย้ ลี้ อดีตนักบาสเกตบอลทีมชาติจีน เขายังเป็นนักกีฬาที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่งในจีน มีสินค้าสนับสนุนเขาหลายบริษัท และเป็นคนดังที่รวยที่สุดในจีน 5 ปีติดต่อกัน ชีวิตในเอ็นบีเอของเขายังถูกสร้างให้เป็นหนังสารคดีที่ชื่อว่า Yao: A Life in Two Worlds.

ดู 12 กันยายนและเหยา หมิง

เอ็มมี รอสซัม

อ็มมี รอสซัม (Emmy Rossum) เกิดเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) เป็นนักแสดง นักร้อง ชาวอเมริกัน ผลงานเด่นคือนางเอกภาพยนตร์เรื่อง วิกฤติวันสิ้นโลก, Poseidon (2006), The Phantom of the Opera และผลงานที่ดัดแปลงมาจากการ์ตูนเรื่อง ดราก้อนบอล ฉบับภาพยนตร์ ที่เธอแสดงเป็น บลูม่า เอ็มมี เกิดที่นครนิวยอร์ก โดยมีแม่ชื่อ เชริล (Cheryl) ที่ทำงานเป็นพนักงานธนาคาร โดยแม่ของเธอเลี้ยงเอ็มมีมาโดยลำพังโดยไร้เงาพ่อของเธอ (ซึ่งเธอก็ได้นำไปแต่งเป็นเพลง โดยใช้ชื่อว่า Anymore ซึ่งเป็นเพลงสุดท้ายในชุด Inside Out) โดยเธอก็ฉายแววครั้งแรก หลังจากที่ร้องเพลง Happy Birthday ได้ถึง 12 คีย์ จึงได้ถูกดึงไปร่วมวง Metropolitan Opera Children's Chorus ตั้งแต่อายุเพียง 7 ขวบ โดยที่เมื่อเธออายุได้ 12 ปีก็ได้ทิ้งวงไป เพราะตัวเธอใหญ่เกินกว่าที่จะเป็นคอรัสเด็กได้แล้ว เธอจึงได้ชิมลางงานแสดงครั้งแรก โดยเป็นแขกรับเชิญในซีรีส์ Law & Order และเธอก็ได้เข้าชิงดาวรุ่งยอดเยี่ยมในปี 2542 จากหนังทางทีวีเรื่อง Genius เอมมี ได้เล่นหนังจอใหญ่เป็นครั้งแรกในปี 2543 เรื่อง Songcatcher โดยเปิดตัวที่ เทศกาลหนังซันแดนซ์ และเธอก็ได้รับเสนอชื่อเข้าชิง Independent Spirit Award สาขาดาวรุ่งยอดเยี่ยม โดยในต่อมา เธอก็ได้แสดงในหนังดรามาชิงรางวัลของ คลินต์ อีสต์วูด เรื่อง Mystic River ในปี 2546 โดยเล่นเป็นลูกสาวที่ถูกฆาตกรรมของ ฌอน เพนน์ จนมาโด่งดังจากเรื่อง The Day After Tomorrow ที่เล่นกับ เดนนิส เควด และ เจค จิลเลนฮอลเมื่อปี 2547 แต่ก็ยังไม่เท่ากับบท คริสทีน ที่เธอได้แสดงทั้งความสามารถในการร้องเพลงกับการแสดงไปพร้อมๆ กัน ในเรื่อง The Phantom of the Opera ในปีเดียวกัน หลังจากเว้นงานแสดงจอเงินมา 2 ปี ในปี 2549 โดยรับงานหนังรีเมคเรื่อง Poseidon โดยเล่นกับ เคิร์ต รัสเซลล์ และเว้นไป 3 ปี เธอก็เล่นเรื่อง DragonBall Evolution โดยมีหนังสะท้อนปัญหาวัยรุ่น อย่าง Dare ออกมาในปีเดียวกัน โดยเป็นหนังที่ได้ไปเปิดตัวในเทศกาลหนังซันแดนซ์ ผลงานปัจจุบันของเธอ คือ ซีรีส์เรื่อง Shameless ฉายที่ช่อง Showtime และในปี 2556 นี้ เธอก็มีผลงานทางจอเงินเรื่องใหม่ คือ Beautiful Creatures (แม่มดแคสเตอร์) นอกจากนี้ เอ็มมียังมีผลงานเพลงอยู่ด้วย ชุดแรกชื่อ Inside Out วางแผงเมื่อปี 2007 และยัง มี EP (มินิอัลบั้ม) เป็นเพลงคริสต์มาส ออกช่วงท้ายปีเดียวกัน ชื่อ Carol of the Bells ส่วนอัลบั้มที่ 2 ชื่อว่า Sentimental Journey ก็วางแผงในปี 2556 โดยเป็นการเรียบเรียงเพลงเก่ามาร้องใหม่ในรูปแบบของเธอเอง.

ดู 12 กันยายนและเอ็มมี รอสซัม

เฮนรี ฮัดสัน

นรี ฮัดสัน เฮนรี ฮัดสัน (Henry Hudson; คริสต์ทศวรรษ 1560/70 – ค.ศ. 1611) นักสำรวจชาวอังกฤษ เป็นผู้ค้นพบอ่าวฮัดสัน.

ดู 12 กันยายนและเฮนรี ฮัดสัน

เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน

นนิเฟอร์ เคต ฮัดสัน เกิดเมื่อวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1981 VH1.

ดู 12 กันยายนและเจนนิเฟอร์ ฮัดสัน

เดสมอนด์ เลเวลีน

180px เดสมอนด์ เลเวลีน (Desmond Llewelyn) เป็นดารานักแสดงชาวอังกฤษที่รู้จักกันมากที่สุดจากการรับบทคิว (Q) ในภาพยนตร์ชุดเจมส์ บอนด์เดอะซีรีส์ ที่ค่ายภาพยนตร์อีโอเอ็นโปรดัคชั่นส์ (EON Productions) จัดทำขึ้นเป็นจำนวนถึง 17 เรื่อง จาก 19 เรื่องที่คิวปรากฏตัวในภาพยนตร์เจมส์บอนด์เดอะซีรี.

ดู 12 กันยายนและเดสมอนด์ เลเวลีน

เค็นอิชิ ซุซุมุระ

็นอิชิ ซุซุมุระ (เกิด 12 กันยายน พ.ศ. 2517) เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น มีผลงานเปิดตัวคือบท มอร์ลีย์ จากมาครอส 7 บ่อยครั้งที่ซุซุมุระได้ตัวละครซึ่งมีอุปนิสัยร่าเริง อย่างเช่น ฮิตาจิอิง ฮิคารุ จากชมรมรัก คลับมหาสนุก ราวี่ จากดี.เกรย์แมน เป็นต้น นอกจากนี้ เขายังได้พากย์ร่วมกับทะกะฮิโระ ซะกุระอิ และจุนอิจิ สุวาเบะ หลายเรื่อง ทั้งยังสนิทกับ ฮิโรกิ ทากาฮาชิ อีกด้ว.

ดู 12 กันยายนและเค็นอิชิ ซุซุมุระ

เซาเทิร์นโรดีเชีย

ซาเทิร์นโรดีเชีย (Southern Rhodesia) เป็นชื่อของอาณานิคมปกครองตนเองของอังกฤษ ตั้งอยู่ทางเหนือของแม่น้ำลิมโปโปกับสหภาพแอฟริกาใต้ พื้นที่ซึ่งเซาเทิร์นโรดีเชียครอบครองอยู่ถูกเรียกว่า "ซิมบับเว" มาตั้งแต..

ดู 12 กันยายนและเซาเทิร์นโรดีเชีย

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ดู 12 กันยายนและ1 เมษายน

13 มีนาคม

วันที่ 13 มีนาคม เป็นวันที่ 72 ของปี (วันที่ 73 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 293 วันในปีนั้น.

ดู 12 กันยายนและ13 มีนาคม

17 มีนาคม

วันที่ 17 มีนาคม เป็นวันที่ 76 ของปี (วันที่ 77 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 289 วันในปีนั้น.

ดู 12 กันยายนและ17 มีนาคม

19 ธันวาคม

วันที่ จันทร์ 19 ธันวาคม เป็นวันที่ 353 ของปี (วันที่ 354 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน.

ดู 12 กันยายนและ19 ธันวาคม

22 ตุลาคม

วันที่ 22 ตุลาคม เป็นวันที่ 295 ของปี (วันที่ 296 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 70 วันในปีนั้น.

ดู 12 กันยายนและ22 ตุลาคม

27 มีนาคม

วันที่ 27 มีนาคม เป็นวันที่ 86 ของปี (วันที่ 87 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 279 วันในปีนั้น.

ดู 12 กันยายนและ27 มีนาคม

30 พฤศจิกายน

วันที่ 30 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 334 ของปี (วันที่ 335 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 31 วันในปีนั้น.

ดู 12 กันยายนและ30 พฤศจิกายน

31 มีนาคม

วันที่ 31 มีนาคม เป็นวันที่ 90 ของปี (วันที่ 91 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 275 วันในปีนั้น.

ดู 12 กันยายนและ31 มีนาคม

4 กรกฎาคม

วันที่ 4 กรกฎาคม เป็นวันที่ 185 ของปี (วันที่ 186 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 180 วันในปีนั้น.

ดู 12 กันยายนและ4 กรกฎาคม

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ดู 12 กันยายนและ5 เมษายน

ดูเพิ่มเติม

กันยายน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ 12 ก.ย.๑๒ กันยายน

พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกสพอล วอล์กเกอร์กุสตาฟ มาห์เลอร์กีโยม เลอ ฌ็องตีมาตราริกเตอร์ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดินยุมิโกะ ฟุจิตะยุทธการที่เวียนนาลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิวงจรรวมศรัณยู วินัยพานิชสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 6สหพันธรัฐสหราชอาณาจักรสิทธา สภานุชาติสงครามครูเสดแอลบิเจนเซียนสตาญิสวัฟ แลมหยาง มี่หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุกแห่งเฮสส์และไรน์อีแรน ฌอลีโย-กูว์รีฮันส์ ซิมเมอร์ฮ่องกงจอห์นนี แคชจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 1 โคมเนนอสจักรวรรดิออตโตมันจารุจินต์ นภีตะภัฏธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ทวีปยุโรปตอร์ปิโดซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์)ปกรณ์ ลัมปฏิทินสุริยคติปฏิทินเกรโกเรียนประเทศกาบูเวร์ดีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศอินโดนีเซียประเทศซิมบับเวปีอธิกสุรทินนอร์แมน บอร์ล็อกแบร์รี ไวต์แม่น้ำฮัดสันแร็ปมอนสเตอร์แอฟริกาตะวันตกแอนดรูว์ บิ๊กส์แผ่นดินไหวแจ็ก คิลบีแคว้นอารากอนโวจเทค อดัมเฟย์ ฟาง แก้วเกาะลันเตาเรอัลเบติสเลสลี จางเหยา หมิงเอ็มมี รอสซัมเฮนรี ฮัดสันเจนนิเฟอร์ ฮัดสันเดสมอนด์ เลเวลีนเค็นอิชิ ซุซุมุระเซาเทิร์นโรดีเชีย1 เมษายน13 มีนาคม17 มีนาคม19 ธันวาคม22 ตุลาคม27 มีนาคม30 พฤศจิกายน31 มีนาคม4 กรกฎาคม5 เมษายน