โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

11 ธันวาคมและพระที่นั่งไกรสรสีหราช (พระที่นั่งเย็น)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง 11 ธันวาคมและพระที่นั่งไกรสรสีหราช (พระที่นั่งเย็น)

11 ธันวาคม vs. พระที่นั่งไกรสรสีหราช (พระที่นั่งเย็น)

วันที่ 11 ธันวาคม เป็นวันที่ 345 ของปี (วันที่ 346 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 20 วันในปีนั้น. มเด็จพระนารายณ์มหาราช ขณะทอดพระเนตรปรากฏการณ์จันทรุปราคา ณ พระตำหนักชุบศร พระที่นั่งไกรสรสีหราช หรือ พระที่นั่งเย็น หรือ พระตำหนักทะเลชุบศร เป็นพระที่นั่งที่ประทับอีกแห่งหนึ่งของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ณ เมืองลพบุรี สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงสร้างเพื่อทรงสำราญพระราชอิริยาบถ โดยสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นก่อน พ.ศ. 2228 นับเป็นสถานที่ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ดาราศาสตร์ของประเทศไทย เนื่องจากสมเด็จพระนารายณ์มหาราชใช้เป็นสถานที่ศึกษาจันทรุปราคา เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2228 ร่วมกับบาทหลวงเยซูอิตและบุคคลในคณะทูตชุดแรกที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ส่งมาเจริญสัมพันธไมตรี เหตุที่ใช้พระที่นั่งเย็นเป็นที่ศึกษาจันทรุปราคามีบันทึกของชาวฝรั่งเศสว่าเป็นสถานที่ที่เหมาะสมมองท้องฟ้าได้ทุกด้าน มีพื้นที่กว้างพอในการติดตั้งเครื่องมือ มีหลักฐานภาพวาดการศึกษาจันทรุปราคาที่วาดโดยชาวฝรั่งเศสแสดงภาพสมเด็จพระนารายณ์ทรงสวมลอมพอก ทรงกล้องยาวบนขา ตั้งทอดพระเนตรดวงจันทร์จากสีหบัญชรและตรงเฉลียงหน้าสีหบัญชรด้านหนึ่งมีขุนนางหมอบกราบ อีกด้านหนึ่งมีนักดาราศาสตร์กำลังสังเกตการณ์โดยใช้กล้องส่องดาว กล่าวได้ว่าการศึกษาดาราศาสตร์เกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ณ พระที่นั่งเย็นเมืองลพบุรีนี่เอง ปัจจุบัน พระที่นั่งไกรสรสีหราชมีราษฎรบุกรุกสร้างบ้านเรือนอยู่ในเขตรัศมีใกล้ชิดโบราณสถาน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 11 ธันวาคมและพระที่นั่งไกรสรสีหราช (พระที่นั่งเย็น)

11 ธันวาคมและพระที่นั่งไกรสรสีหราช (พระที่นั่งเย็น) มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชาวฝรั่งเศสพ.ศ. 2228สมเด็จพระนารายณ์มหาราชจังหวัดลพบุรีจันทรุปราคาดวงจันทร์

ชาวฝรั่งเศส

วฝรั่งเศส (อังกฤษ: French, ฝรั่งเศส: Français) คือกลุ่มผสมของชาวเคลต์ ชาวเยอรมัน ชาวอิตาลี โดยมีประชากรประมาณ 85 ล้านคนทั่วโลก โดยมีประมาณ 66 ล้านคนในประเทศฝรั่งเศส ในสหรัฐอเมริกา 8.3-11 ล้านคน ในประเทศแคนาดา ประมาณ 4.7 ล้านคน และในประเทศแอฟริกาใต้ ประมาณ 2 ล้านคน และที่อื่นๆ ทั่วโลก โดยมีการขยายสังคมเพิ่มในช่วงการล่าอาณานิคม.

11 ธันวาคมและชาวฝรั่งเศส · ชาวฝรั่งเศสและพระที่นั่งไกรสรสีหราช (พระที่นั่งเย็น) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2228

ทธศักราช 2228 ใกล้เคียงกั.

11 ธันวาคมและพ.ศ. 2228 · พ.ศ. 2228และพระที่นั่งไกรสรสีหราช (พระที่นั่งเย็น) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

มเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอ.

11 ธันวาคมและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช · พระที่นั่งไกรสรสีหราช (พระที่นั่งเย็น)และสมเด็จพระนารายณ์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

11 ธันวาคมและจังหวัดลพบุรี · จังหวัดลพบุรีและพระที่นั่งไกรสรสีหราช (พระที่นั่งเย็น) · ดูเพิ่มเติม »

จันทรุปราคา

ันทรุปราคาเต็มดวง 15 เมษายน 2557 จันทรุปราคา (ชื่ออื่น เช่น จันทรคาธ, จันทรคราส, ราหูอมจันทร์ หรือ กบกินเดือน; lunar eclipse) เป็นปรากฏการณ์ที่ดวงจันทร์ผ่านหลังโลก ซึ่งเกิดขึ้นได้เฉพาะเมื่อดวงอาทิตย์ โลกและดวงจันทร์เรียงตรงกันพอดีหรือใกล้เคียงมาก โดยมีโลกอยู่กลาง ชนิดและระยะของอุปราคาขึ้นอยู่กับตำแหน่งของดวงจันทร์เทียบกับปมวงโคจร (orbital node) จันทรุปราคาสามารถดูได้จากทุกที่ในฝั่งกลางคืนของโลก ซึ่งต่างกับสุริยุปราคาซึ่งมองเห็นได้จากพื้นที่ค่อนข้างเล็กของโลก จันทรุปราคากินเวลาเป็นชั่วโมง ขณะที่สุริยุปราคาเต็มดวงกินเวลาเพียงไม่กี่นาทีในที่หนึ่ง ๆ เนื่องจากเงาของดวงจันทร์มีขนาดเล็กกว่า นอกจากนี้ จันทรุปราคายังสามารถดูได้โดยไม่ต้องมีสิ่งป้องกันดวงตาหรือการป้องกันเป็นพิเศษ เพราะมืดกว่าจันทร์เพ็ญ.

11 ธันวาคมและจันทรุปราคา · จันทรุปราคาและพระที่นั่งไกรสรสีหราช (พระที่นั่งเย็น) · ดูเพิ่มเติม »

ดวงจันทร์

วงจันทร์เป็นวัตถุดาราศาสตร์ที่โคจรรอบโลก เป็นดาวบริวารถาวรดวงเดียวของโลก เป็นดาวบริวารใหญ่ที่สุดอันดับที่ 5 ในระบบสุริยะ และเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่สุดเมื่อเทียบกับกขนาดของดาวเคราะห์ที่โคจร ดวงจันทร์เป็นดาวบริวารที่มีความหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับที่ 2 รองจากไอโอของดาวพฤหัสบดี ซึ่งบางส่วนไม่ทราบความหนาแน่น คาดว่าดวงจันทร์ก่อกำเนิดประมาณ 4.51 พันล้านปีก่อน ไม่นานหลังจากโลก คำอธิบายที่ได้รับการยอมรับกว้างขวางที่สุดคือดวงจันทร์ก่อกำเนิดจากเศษที่เหลือจากการชนขนาดยักษ์ระหว่างโลกกับเทห์ขนาดประมาณดาวอังคารชื่อเธียอา ดวงจันทร์หมุนรอบโลกแบบประสานเวลา จะหันด้านเดียวเข้าหาโลกเสมอคือด้านใกล้ที่มีลักษณะเป็นทะเลภูเขาไฟมืด ๆ ซึ่งเติมที่ว่างระหว่างที่สูงเปลือกโบราณสว่างและหลุมอุกกาบาตที่เห็นได้ชัดเจน เมื่อสังเกตจากโลก เป็นเทห์ฟ้าที่เห็นได้เป็นประจำสว่างที่สุดอันดับสองในท้องฟ้าของโลกรองจากดวงอาทิตย์ พื้นผิวแท้จริงแล้วมืด แม้เทียบกับท้องฟ้าราตรีแล้วจะดูสว่างมาก โดยมีการสะท้อนสูงกว่าแอสฟอลต์เสื่อมเล็กน้อย อิทธิพลความโน้มถ่วงของดวงจันทร์ทำให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร และทำให้หนึ่งวันยาวขึ้นเล็กน้อย มีระยะห่างจากโลกเฉลี่ยนับจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลางประมาณ 384,403 กิโลเมตร เทียบเท่ากับ 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก จุดศูนย์กลางมวลร่วมของระบบตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง 1700 กิโลเมตรใต้ผิวโลก หรือประมาณ 1 ใน 4 ของรัศมีของโลก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ 27.3 วันตัวเลขอย่างละเอียดคือ คาบโคจรแท้จริงเฉลี่ยของดวงจันทร์ (sideral orbit) คือ 27.321661 วัน (27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที 11.5วินาที) และคาบโคจรเฉลี่ยแบบทรอปิคัล (tropical orbit) อยู่ที่ 27.321582 วัน (27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที 4.7 วินาที) (Explanatory Supplement to the Astronomical Ephemeris, 1961, at p.107).

11 ธันวาคมและดวงจันทร์ · ดวงจันทร์และพระที่นั่งไกรสรสีหราช (พระที่นั่งเย็น) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง 11 ธันวาคมและพระที่นั่งไกรสรสีหราช (พระที่นั่งเย็น)

11 ธันวาคม มี 90 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระที่นั่งไกรสรสีหราช (พระที่นั่งเย็น) มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 5.94% = 6 / (90 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 11 ธันวาคมและพระที่นั่งไกรสรสีหราช (พระที่นั่งเย็น) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »