โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ร็อกคูน

ดัชนี ร็อกคูน

ร็อกคูน (Rockoon; ロックーン) เป็นอัลบั้มชุดที่สี่ ของ ที-สแควร์ ออกวางแผงในปี พ.ศ. 2524.

9 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2523พ.ศ. 2524พ.ศ. 2525สตูดิโออัลบั้มที-สแควร์ซีบีเอสแจ๊สฟิวชันเมกมีอะสตาร์เมจิก (อัลบั้มที-สแควร์)

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ร็อกคูนและพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ร็อกคูนและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: ร็อกคูนและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

สตูดิโออัลบั้ม

ตูดิโออัลบั้ม เป็นอัลบั้มเพลงใหม่ของศิลปิน โดยปกติจะไม่รวมเพลงแสดงสดหรือรีมิกซ์ ถ้ามีจะไม่เป็นเพลงส่วนใหญ่ของอัลบั้ม มักจะเรียกว่า โบนัสแทร็ก และเนื่องจากมีระยะเวลาในการทำงานเป็นธรรมชาติอยู่แล้ว จึงทำให้มีความสละสลวย เทคนิคในภาคผลิตที่ดี เสียงซาวด์เอฟเฟกต์ การใช้วงดนตรีร่วม ทางอุตสาหกรรมดนตรี สตูดิโออัลบั้มมักจะมีความหมายตรงข้ามกับ อัลบั้มรวมเพลง และอัลบั้มบันทึกการแสดงสด และมักจะมียอดขายสูง อย่างในสหราชอาณาจักร มี 18 อัลบั้ม ใน 24 อัลบั้มของสตูดิโออัลบั้มที่มียอดขายเกิน 2.5 ล้านชุดึ.

ใหม่!!: ร็อกคูนและสตูดิโออัลบั้ม · ดูเพิ่มเติม »

ที-สแควร์

ที-สแควร์ (T-Square) คือวงดนตรีแนวแจ๊สฟิวชันจากประเทศญี่ปุ่น ที่ประสบความสำเร็จที่สุดในประเทศญี่ปุ่น เดิมชื่อวงว่า เดอะสแควร์ (The Square) ก่อตั้งวงโดย มาซาฮิโระ อันโดะ ในปี 1976 ขณะที่เขาศึกษาอยู่ในวิทยาลัย โดยออกผลงานอัลบั้มชุดแรกชุด Lucky Summer Lady ในปี 1978 โดยมีสมาชิกแรกเริ่มคือ ทาเคชิ อิโต้ (Sax),คิโยฮิโกะ เซมบ้า (เพอร์คัสชั่น), ยูจิ มิคุริยะ (กีต้าร์), ยูจิ นากามูระ (เบส), ไมเคิ่ล เซนจิ คาวาอิ (กลอง), มิยางิ จุนโกะ (เปียโน) และ ชิโร่ ซางิสึ (คียบอร์ด) หลังจากออกอัลบั้ม Midnight Lover มาในปีเดียวกัน Mikuriya ก็ออกจากวงไป สมาชิกของวงจึงเหลือหกคน (ซางิสึเป็นเพียง Support Member จนถึงชุด Make Me A Star) หลังจากทำชุด Make Me A Star ในปี1979 อัลบั้มชุด Rockoon ก็ได้ ยุน อาโอยาม่า ก็เข้ามาเป็นมือกลองแทน คาวาอิ และได้คุเมะ ไดซากุ อดีตมือคียบอร์ดวง Prism เข้ามาแทน จุนโกะ Rockoon เป็นอัลบั้มแรกที่ T-Square มีเพลงฮิตคือ Tomorrow Affair ซึ่งถูกนำไปเป็นเพลงประกอบละครแนวดรามาเรื่องหนึ่งในญี่ปุ่น หลังจากนั้นในปี1981 ก็ออกอัลบั้มชุด Magic โดยมีโทโยยูกิ ทานากะ เข้ามาเป็นมือเบสแทนนากามูระ ส่วนอาโอยาม่า ได้เอจิ ซิมิสึมาแทน ส่วนเซมบ้า ก็ออกจากวงไป อัลบั้มชุดนี้เริ่มเข้าสู่ยุคที่T-Squareกลายเป็นแจ๊สฟิวชั่นแบบที่เราคุ้นเคยกันดี (ซึ่งเพลง It's Magic ในชุดนี้ต่อมาถูก มาร์ลีน นักร้องชาวฟิลิปปินส์ ที่ไปดังในญี่ปุ่นเอามาร้องใหม่จนดังระเบิด) ปี1982อัลบั้มชุด 脚線美の誘惑 (Kyakusenbi No Yuhwaku) ออกมาพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงสมาชิกอีกครั้งโดยได้ ฮิโรทากะ อิซึม เข้ามาเป็นมือคียบอร์ด/เปียโนแทนที่ ไดซากุ และ โทรุ ฮาเซเบ้ เข้ามาเป็นมือกลอง T-Square กับไลน์อัพยุคนี้เก็บเกี่ยวชื่อเสียงได้มากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งในปี1984 ที่ออกอัลบั้มชุด Adventures T-Square ก็มีคอนเสิร์ตใหญ่เป็นครั้งแรกที่มีชื่อว่า Live Adventures จนกระทั่งปี 1985 กับอัลบั้มชุด R.E.S.O.R.T ที่เพลง Omens Of Love และ Forgotten Saga กลายเป็นเพลงในตำนานของวงไป หลังจากนั้น ฮิโรยูกิ โนริทากะ ก็เข้ามาแทน ฮาเซเบ้ ในปีต่อมา กับชุด S.P.O.R.T.S และ มิตซึรุ ซูโต้ เข้ามาเป็นมือเบสแทน ทานากะ ในชุด Truth ในปี 1987 เพลง ‘Truth’ ของ The Square ถูกนำไปประกอบการแข่งรถ F1 Grand Prix ทำให้ชื่อเสียงของวงโด่งดังถึงขีดสุด และ อันโดะ ถูกว่าจ้างให้ทำเพลงให้กับ Gran Turismo Series ซึ่งอัลบั้มนี้ถูกขายไปกว่า 36 ล้านแผ่นทั่วโลก ต่อมาในปี 1989 วงเปลี่ยนชื่อมาเป็น ที-สแควร์ ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในการทัวร์คอนเสิร์ตในสหรัฐอเมริกา หลังจากชุด Natural ในปี1990 มาซาโตะ ฮอนดะ เข้ามาเป็นมือแซ็ก/EWI แทน อิโต้ พร้อมกับแนวเพลงที่หนักขึ้นมา ยุค90ยังคงเป็นยุคที่T-Square รักษาชื่อเสียงและความสำเร็จไว้ได้อย่างดี จนกระทั่งปี1998 ทาดาชิ นัมบะ เข้ามาแทน อิซึมิ และ ทากาฮิโร่ มิยาซากิ เข้ามาแทน ฮอนดะ ในชุด Gravity พร้อมกับมีคอนเสิร์ตใหญ่ฉลองครบ20ปีของวง โดยมีสมาชิกทั้งหมดจากยุคแรกจนปัจจุบันเข้ามาร่วมเล่นกัน แต่ไลน์อัพนี้อยู่ถึงปี 1999 ในชุด T-Square เท่านั้น อัลบั้มFriendship ในปี2000 ที-สแควร์เหลือสมาชิกเพียง อันโดะ เท่านั้น แต่ก็ได้ อิโต้ กลับมาอีกครั้ง ส่วนสมาชิกนอกนั้นให้นักดนตรีสตูดิโอแทนจากนั้นกลับมาใช้ชื่อ The Square อีกครั้งในปี 2003 ในการออกอัลบั้มฉลองครบรอบ 25 ปี คืออัลบั้ม Spirits โดย อิซึมิ, โนริทาเกะ และ ซูโต้ กลับเข้าร่วมวงอีกครั้ง รวมทั้งมีสมาชิกใหม่ด้วยคือ เคย์โซ คาวาโน่ (คียบอร์ด) ในปีนี้ยังมีการจัดคอนเสิร์ตครบรอบ 25ปีเช่นกัน หลังจากชุดSpirits จบไป ในปี 2004 อัลบั้มชุด "Groove Globe" ก็ได้มือกลองคนใหม่คือ ซาโตชิ บันโดะ และออกอัลบั้ม Passion Flower ในปี 2005 และออกทัวร์คอนเสิร์ตกว่า 19 เมืองทั่วญี่ปุ่น และ ออกอัลบั้มที่ 33 ในชื่อ 33rd ในปี 2007 พวกเขาออกอัลบั้มที่ 34 ชุด Wonderful Days เพื่อฉลองครบรอบ 30 ปี โดยเป็นการรวมสมาชิก ของวง The Square และ T-Square ซึ่งมีสมาชิกรวมกันมากถึง 9 ชีวิตในนาม T-Square Super Band โดยมี อันโดะ (กีต้าร์), อิโต้ และ มิยาซากิ (แซ็ก, EWI & ฟลุต), อิซึมิ (เปียโน), คาวาโน่ (คียบอร์ด), ทานากะ และ ซูโต้ (เบส) และ โนริทาเกะ กับ บันโดะ (กลอง) และก็จัดคอนเสิร์ตใหญ่ที่โปรโมตอัลบั้มนี้โดยเฉพาะคือ T-SQUARE SUPER BAND Concert Tour 2008 Final “Wonderful Days” และคอนเสิร์ตใหญ่อีกงานที่ฉลองครบรอบ 30 ปีของวง.

ใหม่!!: ร็อกคูนและที-สแควร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีบีเอส

ซีบีเอส (CBS หรือ CBS Broadcasting Inc.) เป็นเครือข่ายสถานีโทรทัศน์อเมริกัน หนึ่งในสามผู้ยิ่งใหญ่ แห่งวงการโทรทัศน์ของสหรัฐอเมริกา โดยอีกสองสถานีคือ เอ็นบีซี และเอบีซี และเช่นเดียวกับทั้งเอ็นบีซี ทางซีบีเอสเริ่มจากการเป็นสถานีวิทยุมาก่อน ชื่อมาจากชื่อเก่าของสถานีที่ใช้ชื่อว่า โคลัมเบีย บรอดแคสติง ซิสเตม (Columbia Broadcasting System) ในบางครั้งจะเรียกว่าสถานี "อายเน็ตเวิร์ก" (Eye Network) หรือเรียกง่าย ๆ ว่า "ดิอาย" (The Eye) เนื่องจากรูปร่างโลโก้ของบริษัทที่มีลักษณะเป็นดวงตา หรือในบางครั้งก็เรียกว่า "ทิฟฟานีเน็ตเวิร์ก" (Tiffany Network) เช่นกัน ที่หมายถึงความมีคุณภาพสูงของรายการของซีบีเอสในช่วงระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งของผู้ก่อตั้ง วิลเลียม เอส. แพเลย์ (1927–1990) (พ.ศ. 2470-2533) และยังอาจหมายถึงการเริ่มออกอากาศทางโทรทัศน์สีครั้งแรกของช่องอีกด้วย ที่เกิดขึ้นในตึก ทิฟฟานี แอน.

ใหม่!!: ร็อกคูนและซีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

แจ๊สฟิวชัน

แจ๊สฟิวชัน (Jazz fusion) ในบางครั้งอาจเรียกว่า ฟิวชัน (fusion) หรือ แจ๊สร็อก (jazz-rock) เป็นแนวดนตรีประสานที่พัฒนามาจากการผสมของดนตรีฟังก์และอาร์แอนด์บี จังหวะและการพัฒนามาและเอฟเฟกอิเล็กทรอนิกส์ของเพลงร็อก มีเครื่องหมายประจำจังหวะที่ซับซ้อน ที่ไม่ได้เอามาจากดนตรีตะวันตก เครื่องดนตรีทั่วไปมีส่วนประกอบเข้าใกล้ดนตรีแจ๊สไปยังการแสดงของกลุ่มยืดยาว โดยมักจะใช้เครื่องเป่าลมและทองเหลืองและการแสดงในระดับสูงของเทคนิคในการใช้เครื่องดนตรี คำว่า "แจ๊สร็อก" มักถูกใช้เป็นคำพ้องกับ "แจ๊สฟิวชัน" เช่นเดียวกับดนตรีที่เล่นในปลายทศวรรษที่ 1960 และ 1970 ยุคที่วงร็อกได้เพิ่มองค์ประกอบของดนตรีแจ๊ส หลังจากได้รับความนิยมในช่วงปีทศวรรษ 1970 ที่ฟิวชันขยายแนวทางการแสดงสด และการทดลองปฎิบัติต่อในทศวรรษที่ 1980 และ 1990 อัลบัมฟิวชันเหล่านั้นจะทำโดยกลุ่มเดียวกันหรือศิลปินที่อาจรวมถึงความหลากหลายของสไตล์ ตรงกันข้ามกว่าการรวบรวมสไตล์ดนตรี ฟิวชันสามารถมองได้ว่าประเพณีดนตรีหรือการกระชั้นชิด หมวดหมู่:แนวดนตรี หมวดหมู่:ดนตรีแจ๊ส.

ใหม่!!: ร็อกคูนและแจ๊สฟิวชัน · ดูเพิ่มเติม »

เมกมีอะสตาร์

มกมีอะสตาร์ (Make Me A Star;メイク・ミー・ア・スター) เป็นอัลบั้มชุดที่สาม ของ ที-สแควร์ ออกวางแผงในปี พ.ศ. 2523.

ใหม่!!: ร็อกคูนและเมกมีอะสตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เมจิก (อัลบั้มที-สแควร์)

มจิก (MAGIC; マジック)เป็นอัลบั้มชุดที่ห้าของ ที-สแควร์ วางเมื่อปี พ.ศ. 2526.

ใหม่!!: ร็อกคูนและเมจิก (อัลบั้มที-สแควร์) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Rockoon

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »