โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง

ดัชนี ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

49 ความสัมพันธ์: บัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องพืชกระกลุ่มอาการสตีเฟนส์–จอห์นสันกลุ่มอาการผิวหนังลอกจากเชื้อสแตฟิโลค็อกคัสกลุ่มอาการจานอตตี–กรอสตีการฝ่อการติดเชื้อการแผ่รังสีฝ้ายารังสีอัลตราไวโอเลตลมพิษจากแสงแดดลำตัวลูปัส อีริทีมาโตซัส ทั่วร่างสิวหนังกำพร้าหน้าอาการอาการคันอาการแสดงอาหารอีริทีมา มัลติฟอร์เมองค์การอนามัยโลกผิวหนังผิวหนังอักเสบผื่นหลายรูปแบบจากแสงแดดผงซักฟอกจาระบีท็อกซิก อีพิเดอร์มัล เนโครไลซิสขาคันตัวทำละลายต่อมเหงื่อปานสีกาแฟใส่นมนิ้ว (อวัยวะ)นิ้วมือน้ำมันโรคโรคพุพองโรคสะเก็ดเงินโรคด่างขาวโลหะเมลานินเล็บขบเส้นผมเครื่องสำอางเนื้อเยื่อเกี่ยวพันICD-10

บัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง

ัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems มีชื่อย่อว่า ICD) เป็นรายละเอียดของโรคและการบาดเจ็บต่าง ๆ จัดพิมพ์เผยแผ่โดย องค์การอนามัยโลก และใช้ข้อมูลเป็นสถิติพยาธิภาวะและอัตราตาย จากทั่วโลก มีการแก้ไขปรับปรุงเป็นช่วง ๆ ปัจจุบันได้ทำการจัดพิมพ์ครั้งที่ 11 แล้ว โรคหรือกลุ่มของโรคที่มีความสัมพันธ์กันจะอธิบายด้วยการวินิจฉัยและมีรหัสกำหนดให้เป็นการเฉพาะตั้งแต่ 4-6 หลัก โดยหลักแรกในหมวดที่ 1-9 จะใช้ตัวเลข 1-9 เมื่อเข้าสู่หมวดที่ 10-26 จะใช้เป็นอักษร A-S นอกจากนี้ หมวด V คือSupplementary section for functioning assessment และหมวด X คือ External Cause แล้วจากนั้นจะแยกออกเป็นหมวดหมู่ในหลักถัดไป.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง · ดูเพิ่มเติม »

พืช

ืช เป็นสิ่งมีชีวิตกลุ่มใหญ่ประเภทหนึ่ง (มีประมาณ 350,000 สปีชีส์ ถูกระบุแล้ว 287,655 สปีชีส์ เป็นพืชดอก 258,650 ชนิด และพืชไม่มีท่อลำเลียง 18,000 ชนิด) อยู่ในอาณาจักรพืช (Kingdom Plantea) ประกอบด้วย ไม้ยืนต้น ไม้ดอก พืชล้มลุก และเฟิร์น พบได้ทั้งบนบกและในน้ำ เป็นสิ่งมีชีวิตที่เนื้อเยื่อส่วนใหญ่ประกอบด้วยหลายเซลล์ นิวเคลียสมีผนังเซลล์ ห่อหุ้ม เคลื่อนที่ไม่ได้ ได้แค่เอียงตัว จะสามารถเห็นได้ชัดเจน.เมื่อมีแดดส่อง พืชจะเอียงตัวไปที่แดด ไม่มีอวัยวะเกี่ยวกับความรู้สึก มีคลอโรฟิลล์ซึ่งเป็นสารสีเขียว ช่วยในการสังเคราะห์และเจริญเติบโต.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและพืช · ดูเพิ่มเติม »

กระ

กระบนผิวหน้าของเด็ก กระมี 3 ชนิด คือ กระตื้น กระลึก และกระเนื้อ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและกระ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มอาการสตีเฟนส์–จอห์นสัน

กลุ่มอาการสตีเวนส์–จอห์นสัน (Stevens-Johnson syndrome (SJS), Erythema multiforme major (EM major)) เป็นโรคที่มีผลมาจากปฏิกิริยาภูมิคุ้มกันของร่างกายตอบสนองต่อยา การติดเชื้อ การเจ็บป่วย ทำให้เกิดการอักเสบของเซลล์ผิวหนังและเยื่อบุผิวทั่วร่างกาย เกิดการตายของเซลล์เยื่อบุผิวทำให้แยกลอกออกจากชั้นหนังแท้ ผู้ป่วยในกลุ่มอาการนี้มีทั้งที่ทราบสาเหตุและไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดในปริมาณใกล้เคียงกัน สามารถพบได้ในทุกวัย ส่วนใหญ่เชื่อว่าเป็นปฏิกิริยาไวเกินต่อสิ่งกระตุ้นที่มีการตอบสนองไปยังชั้นผิวเยื่อเมือก.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและกลุ่มอาการสตีเฟนส์–จอห์นสัน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มอาการผิวหนังลอกจากเชื้อสแตฟิโลค็อกคัส

กลุ่มอาการผิวหนังลอกจากเชื้อสแตฟิโลค็อกคัส (Staphylococcal scalded skin syndrome, pemphigus neonatorum, Ritter's disease, localized bullous impetigo) เป็นโรคผิวหนังอย่างหนึ่ง เกิดจากการติดเชื้อ Staphylococcus aureus หมวดหมู่:โรคติดเชื้อแบคทีเรีย.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและกลุ่มอาการผิวหนังลอกจากเชื้อสแตฟิโลค็อกคัส · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มอาการจานอตตี–กรอสตี

กลุ่มอาการจานอตตี–กรอสตี (Gianotti–Crosti syndrome) เป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่ง เกิดจากปฏิกิริยาของผิวหนังตามหลังการติดเชื้อไวรัส เชื้อที่เป็นสาเหตุที่พบบ่อยเช่น ตับอักเสบบี เอปสไตน์-บาร์ เป็นต้น หมวดหมู่:ภาวะเกี่ยวกับผิวหนังซึ่งสัมพันธ์กับไวรัส.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและกลุ่มอาการจานอตตี–กรอสตี · ดูเพิ่มเติม »

การฝ่อ

ในทางการแพทย์ การฝ่อ หมายถึงการลีบ แห้ง หรือผอมลงบางส่วนหรือทั้งหมดของส่วนต่างๆ ร่างกาย สาเหตุของการฝ่ออาทิการขาดสารอาหาร ขาดเลือดไหลเข้ามาเลี้ยง ขาดฮอร์โมนที่มาช่วยในการทำงาน ขาดเส้นประสาทมาเลี้ยงที่อวัยวะเป้าหมาย การขาดการออกกำลังกายหรือโรคที่เกิดภายในเนื้อเยื่อเอง การฝ่อนับเป็นกระบวนการปกติทางสรีรวิทยาของการเสื่อมหรือทำลายเนื้อเยื่อ ซึ่งเกี่ยวข้องกับอะพอพโทซิส (apoptosis) ในระดับเซลล์อันเป็นส่วนหนึ่งในพัฒนาการของร่างกายและการรักษาภาวะธำรงดุล แต่หากเกิดจากโรคหรือการขาดปัจจัยที่มาเลี้ยงเนื้อเยื่อจากโรค จะจัดเป็นการฝ่อทางพยาธิวิทยา (pathological atrophy) หมวดหมู่:พยาธิกายวิภาคศาสตร์ หมวดหมู่:มหพยาธิวิทยา.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและการฝ่อ · ดูเพิ่มเติม »

การติดเชื้อ

การติดเชื้อ หมายถึงการเจริญของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นบนร่างกายของโฮสต์ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายหรือเกิดโรคได้ จุลชีพก่อโรคจะมีการพยายามใช้ทรัพยากรของโฮสต์เพื่อใช้ในการเพิ่มจำนวนของตัวเอง จุลชีพก่อโรคจะรบกวนการทำงานปกติของร่างกายโฮสต์ซึ่งอาจทำให้เกิดบาดแผลเรื้อรัง (chronic wound), เนื้อตายเน่า (gangrene), ความพิการของแขนและขา และอาจทำให้เสียชีวิตได้ การตอบสนองของโฮสต์ต่อการติดเชื้อ เรียกว่า การอักเสบ (inflammation) จุลชีพก่อโรคที่ทำให้เกิดการติดเชื้อมักจะเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กซึ่งมีความหลากหลายเช่นแบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต เชื้อรา พรีออน หรือไวรอยด์ ภาวะพึ่งพิงซึ่งกันและกันระหว่างปรสิตและโฮสต์ซึ่งปรสิตได้ประโยชน์แต่โฮสต์เสียประโยชน์นั้นในทางนิเวศวิทยาเรียกว่าภาวะปรสิต (parasitism) แขนงของวิชาแพทยศาสตร์ซึ่งเน้นศึกษาในเรื่องการติดเชื้อและจุลชีพก่อโรคคือสาขาวิชาโรคติดเชื้อ (infectious disease) การติดเชื้ออาจแบ่งออกเป็นการติดเชื้อปฐมภูมิ (primary infection) คือการติดเชื้อหลังจากการได้รับจุลชีพก่อโรคเป็นครั้งแรก และการติดเชื้อทุติยภูมิ (secondary infection) ซึ่งหมายถึงการติดเชื้อที่เกิดขึ้นหลังหรือระหว่างการรักษาการติดเชื้อปฐมภูม.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและการติดเชื้อ · ดูเพิ่มเติม »

การแผ่รังสี

ในทางฟิสิกส์ การแผ่รังสี (อังกฤษ: radiation) หมายถึงกระบวนการที่อนุภาคพลังงานหรือคลื่นเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางหรืออวกาศ รังสีสามารถแบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ รังสีที่แตกตัวได้และรังสีที่ไม่ก่อให้เกิดการแตกตัวของประจุ อย่างไรก็ตาม คำว่า "รังสี" มักหมายถึงกัมมันตภาพรังสีเพียงอย่างเดียว (คือ รังสีที่มีพลังงานเพียงพอที่จะทำให้อะตอมเปลี่ยนเป็นไอออน) แต่ความเป็นจริงแล้วก็สามารถหมายถึงรังสีที่ไม่ก่อให้เกิดการแตกตัวของประจุด้วยเช่นกัน (เช่น คลื่นวิทยุหรือแสงที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า รูปแบบเรขาคณิตของการแผ่รังสีออกจากตัวกลาร่รร่คียยเมวังนำไปสู่ระบบของหน่วยวัดและหน่วยทางฟิสิกส์ที่สามารถใช้ได้กับรังสีทุกประเภท รังสีทั้งสองประเภทล้วนสามารถเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ) การแผ่รังสี สามารถนำไปใช้งานในงานทางด้านความร้อนต่าง ๆ เช่น แผ่นรองหัวเตาแก๊สอินฟาเรด การถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์ แลกเปลี่ยนความร้อน การแผ่รังสี หมวดหมู่:ฟิสิกส์ หมวดหมู่:หลักการสำคัญของฟิสิกส์.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและการแผ่รังสี · ดูเพิ่มเติม »

ฝ้า

PAGENAME ฝ้า เป็นสภาพผิวหนังของใบหน้าที่มีปื้นเป็นสีคล้ำ เกิดจากการเพิ่มจำนวนเม็ดสีที่ผิวหนังซึ่งถูกกระตุ้นด้วยแสงแดด ส่วนใหญ่ผู้หญิงจะเป็นฝ้าแต่ผู้ชายก็เป็นฝ้าได้หากตากแดดมากเกินไป วัยที่เริ่มเป็นฝ้า ได้แก่ วัยกลางคน พบเป็นกันมากในประเทศเขตร้อนเพราะได้รับแสงแดดมากกว่าที่อื่น ยังมีปัจจัยทางพันธุกรรมและฮอร์โมนเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย สำหรับฝ้าที่เกิดจากฮอร์โมน คือฝ้าที่เกิดระหว่างการตั้งครรภ์หรือในช่วงที่กินยาคุมกำเนิด เมื่อหมดการกระตุ้นจากฮอร์โมนตามที่กล่าวมาฝ้าที่เป็นอยู่ก็จะหายขาดไปเอง รวมถึงการแพ้เครื่องสำอางบางอย่างอาจทำให้เกิดฝ้าดำขึ้นได้ ฝ้าที่เกิดใหม่มักเป็นชนิดตื้น เกิดจากการที่ผิวหนังชั้นหนังกำพร้ามีจำนวนเม็ดสีเพิ่มขึ้น แต่เมื่อเป็นไปนาน ๆ ก็มีโอกาสกลายเป็นฝ้าลึก ซึ่งเกิดจากการเพิ่มของเม็ดสีในชั้นหนังแท้ สีฝ้าจะคล้ำเข้มมากขึ้น และรักษาให้หายยาก.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและฝ้า · ดูเพิ่มเติม »

ยา

thumb ยา เป็นวัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศ, วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคหรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์, วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป หรือวัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้างหรือการกระทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและยา · ดูเพิ่มเติม »

รังสีอัลตราไวโอเลต

แสงออโรราจากดาวพฤหัสบดีในช่วงรังสีอัลตราไวโอเลต ถ่ายโดยองค์การนาซา รังสีอัลตราไวโอเลต หรือ รังสียูวี (ultraviolet) หรือในชื่อภาษาไทยว่า รังสีเหนือม่วง เป็นช่วงหนึ่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้นกว่าแสงที่มองเห็น แต่ยาวกว่ารังสีเอกซ์อย่างอ่อน มีความยาวคลื่นในช่วง 400-10 นาโนเมตร และมีพลังงานในช่วง 3-124 eV มันได้ชื่อดังกล่าวเนื่องจากสเปกตรัมของมันประกอบด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นที่มนุษย์มองเห็นเป็นสีม่วง.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและรังสีอัลตราไวโอเลต · ดูเพิ่มเติม »

ลมพิษจากแสงแดด

ลมพิษจากแสงแดด (solar urticaria) เกิดจากการแพ้แสงแดดโดยมีผื่นลมพิษขึ้นนอกร่มผ้า แค่โดนแสงแดดเพียงเล็กน้อยก็ทำให้เกิดลมพิษได้ ความเข้มข้นของแสงก็เป็นสิ่งสำคัญเพราะยิ่งโดนแดดแรงลมพิษก็จะยิ่งขึ้นตามไปด้ว.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและลมพิษจากแสงแดด · ดูเพิ่มเติม »

ลำตัว

ลำตัวของมนุษย์เพศชาย ลำตัว (Torso หรือ trunk) เป็นศัพท์ที่เรียกส่วนตรงกลางของร่างกายสัตว์หลายชนิด (รวมถึงมนุษย์) ซึ่งมีรยางค์และลำคอที่ยื่นออกไป ลำตัวประกอบด้วยอก (thorax) และท้อง (abdomen).

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและลำตัว · ดูเพิ่มเติม »

ลูปัส อีริทีมาโตซัส ทั่วร่าง

ลูปัส อีริทีมาโตซัส ทั่วร่าง หรือ เอสแอลอี (systemic lupus erythematosus, SLE, lupus) เป็นโรคภูมิต้านตนเองชนิดหนึ่ง เกิดจากการที่ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานผิดปกติ จึงเข้าโจมตีเนื้อเยื่อปกติของร่างกายทำให้เกิดอาการป่วย ผู้ป่วยอาจมีอาการได้หลายแบบตั้งแต่เล็กน้อยแทบไม่มีอาการไปจนถึงรุนแรงอาจถึงแก่ชีวิต อาการที่พบบ่อยได้แก่ ข้ออักเสบ มีไข้ เจ็บหน้าอก ผมร่วง แผลในปาก ต่อมน้ำเหลืองโต อ่อนเพลีย และมีผื่นแดง ซึ่งมักพบที่บริเวณใบหน้า ผู้ป่วยมักมีระยะที่อาการเป็นมาก อาจเรียกว่าระยะกำเริบ และระยะที่อาการเป็นน้อย เรียกว่าระยะสงบ สาเหตุที่แท้จริงของเอสแอลอีนั้นยังไม่เป็นที่ทราบชัดเจน ปัจจุบันเชื่อว่าเป็นผลจากหลายปัจจัยทั้งจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ในแฝดไข่ใบเดียวกัน (แฝดเหมือน) จะพบว่าหากคนหนึ่งป่วยเอสแอลอี อีกคนหนึ่งจะมีโอกาสสูงถึง 24% ที่จะเป็นโรคด้วย ปัจจัยเสี่ยงที่พบว่าเพิ่มโอกาสการเป็นโรคได้แก่ ฮอร์โมนเพศหญิง แสงแดด การสูบบุหรี่ ภาวะพร่องวิตามินดี และโรคติดเชื้อบางชนิด กลไกหลักที่ทำให้เกิดอาการของโรคคือการเกิดแอนติบอดีต่อเนื้อเยื่อร่างกายตัวเอง เรียกว่า ออโตแอนดิบอดี ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นแอนติบอดีต่อนิวเคลียส ซึ่งจะทำให้เกิดการอักเสบ การวินิจฉัยบางครั้งอาจทำได้ยาก ต้องใช้ทั้งอาการและผลตรวจทางห้องปฏิบัติการประกอบกัน โรคอื่นๆ ในกลุ่มของโรคลูปัสมีอีกหลายโรค ซึ่งแต่ละโรคอาจมีอาการทั้งส่วนที่เหมือนและส่วนที่ต่างจากเอสแอลอี โรคเหล่านี้ เช่น ลูปัส อีริทีมาโตซัส ชนิดรูปคล้ายจาน, ลูปัส อีริทีมาโตซัส ที่ผิวหนังแบบกึ่งเฉียบพลัน และ ลูปัส อีริทีมาโตซัส ในทารกแรกเกิด เป็นต้น ปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษาเอสแอลอีให้หายขาด การรักษาจะเน้นไปที่การระงับอาการด้วยการลดการอักเสบ และลดกระบวนการภูมิคุ้มกันของร่างกาย ยาที่ใช้ เช่น ยาต้านการอักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์ ยาสเตียรอยด์ ยากดภูมิคุ้มกัน เช่น ไฮดรอกซีคลอโรควิน และเมโทเทรกเซท ส่วนการแพทย์ทางเลือกนั้นยังไม่พบว่ามีวิธีใดที่รักษาแล้วเห็นผล ผู้ป่วยอาจมีอายุขัยสั้นกว่าคนปกติ โดยโรคนี้จะเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่พบบ่อยที่สุด หากได้รับการรักษาอย่างเหมาะสมผู้ป่วย 80% จะอยู่รอดได้นานกว่า 15 ปี หากผู้ป่วยหญิงเกิดตั้งครรภ์จะยิ่งมีความเสี่ยงสูงขึ้นไปอีก แต่ส่วนใหญ่จะสามารถมีลูกได้ ความชุกของเอสแอลอีมีความแตกต่างกันในแต่ละประเทศ โดยอยู่ที่ 20-70 ต่อ 100,000 ประชากร ผู้หญิงวัยเจริญพันธุ์จะพบโรคนี้บ่อยที่สุดโดยพบถึง 9 เท่าเมื่อเทียบกับผู้ชาย ช่วงอายุที่พบได้บ่อยอยู่ที่ 15-45 ปี แต่ก็พบในช่วงอายุอื่นๆ ได้เช่นกัน ชาวแอฟริกา แคริบเบียน และจีน มีโอกาสเป็นโรคนี้มากกว่าคนขาว ส่วนความชุกของโรคในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนานั้นยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด เนื่องจากผู้ป่วยอาจเข้าไม่ถึงระบบบริการสุขภาพ ชื่อภาษาอังกฤษของโรคนี้คือ ลูปัส (Lupus) เป็นภาษาลาตินที่แปลว่า หมาป่า ชื่อนี้มีที่มาตั้งแต่คริสตศตวรรษที่ 13 โดยเชื่อว่ามาจากการที่ผื่นที่พบในผู้ป่วยมีลักษณะเหมือนถูกหมาป่ากัด คนไทยหลายคนรู้จักโรคนี้ในชื่อ "โรคพุ่มพวง" เนื่องจาก พุ่มพวง ดวงจันทร์ นักร้องลูกทุ่งชื่อดังได้เสียชีวิตจากโรคนี้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและลูปัส อีริทีมาโตซัส ทั่วร่าง · ดูเพิ่มเติม »

สิว

ว เป็น โรคผิวหนังที่พบบ่อยของมนุษย์ มีลักษณะของเซโบเรีย (ผิวสีแดงเกล็ด) คอมีโดน (สิวหัวดำและสิวหัวขาว), พาพูล (สิวเสี้ยน), โนดูล (สิวขนาดใหญ่), สิวเม็ดเล็ก และอาจทำให้เกิดแผลเป็น นอกเหนือจากการทำให้เกิดแผลเป็น ผลกระทบหลักคือทางด้านจิตใจ เช่น ลดความเชื่อมั่นในตนเองลง และในกรณีที่รุนแรงมาก จะทำให้เกิดภาวะซึมเศร้าหรือการฆ่าตัวต.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและสิว · ดูเพิ่มเติม »

หนังกำพร้า

ตัดขวางของผิวหนัง หนังกำพร้า (Epidermis) เป็นบริเวณชั้นนอกสุดของผิวหนัง ทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้น้ำซึมเข้าหรือออกจากร่างกาย และห่อหุ้มร่างกาย ประกอบด้วยเซลล์เนื้อเยื่อบุผิวประเภทสแตรทิฟายด์ สแควมัส (stratified squamous epithelium) รองรับด้วยเบซัล ลามินา (basal lamina).

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและหนังกำพร้า · ดูเพิ่มเติม »

หน้า

หน้า อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและหน้า · ดูเพิ่มเติม »

อาการ

ในทางการแพทย์ อาการ มีความหมายสองอย่างที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพกายและสุขภาพใจดังนี้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและอาการ · ดูเพิ่มเติม »

อาการคัน

อาการคัน เป็นความรู้สึกระคายเคืองทางผิวหนังของคนหรือสัตว์ ที่ ทำให้เกิดอาการอยากเกาขึ้นม.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและอาการคัน · ดูเพิ่มเติม »

อาการแสดง

อาการแสดง (Medical sign) เป็นสิ่งบ่งชี้ที่สังเกตเห็นได้โดยปราศจากอคติ (objectivity) หรือลักษณะที่สามารถตรวจพบได้โดยแพทย์ระหว่างการตรวจร่างกายผู้ป่วย อาการแสดงอาจเป็นสิ่งที่ผู้ป่วยตรวจไม่พบแต่ไม่ได้ให้ความสนใจ แต่สำหรับแพทย์แล้วมันมีความหมายมาก และอาจช่วยในการวินิจฉัยภาวะความผิดปกติซึ่งเป็นสาเหตุของอาการในผู้ป่วย ตัวอย่างเช่นในภาวะความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยจะมีอาการนิ้วปุ้ม (clubbing of the fingers; ซึ่งอาจเปนอาการแสดงของโรคปอดและโรคอื่นๆ อีกมากมาย) และ arcus senilis.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและอาการแสดง · ดูเพิ่มเติม »

อาหาร

อาหาร หมายถึงสิ่งที่รับประทานเข้าไป ซึ่งบริโภคเพื่อเสริมโภชนาการให้แก่ร่างกาย อาหารมักมาจากพืชหรือสัตว์ และมีสารอาหารสำคัญ เช่น คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน หรือแร่ธาตุ สิ่งมีชีวิตย่อยและดูดซึมสสารที่เป็นอาหารเข้าสู่เซลล์เพื่อนำไปสร้างพลังงาน คงชีวิต และ/หรือ กระตุ้นการเจริญเติบโต ในอดีต มนุษย์ได้มาซึ่งอาหารด้วยสองวิธีการ คือ การล่าสัตว์และเก็บเกี่ยว (hunting and gathering) และเกษตรกรรม ปัจจุบัน พลังงานจากอาหารส่วนใหญ่ที่ประชากรโลกบริโภคนั้นผลิตจากอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งดำเนินการโดยบริษัทข้ามชาติซึ่งใช้เกษตรประณีต และอุตสาหกรรมการเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิตของระบบให้ได้มากที่สุด สมาคมระหว่างประเทศเพื่อคุ้มครองอาหาร สถาบันทรัพยากรโลก โครงการอาหารโลก องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ และสภาข้อมูลอาหารระหว่างประเทศเป็นหน่วยงานเฝ้าสังเกตความปลอดภัยของอาหารและความมั่นคงทางอาหาร องค์การทั้งหลายนี้จัดการกับประเด็นปัญหาอย่างความยั่งยืน ความหลากหลายทางชีวภาพ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เศรษฐศาสตร์สารอาหาร การเติบโตของประชากร ทรัพยากรน้ำ และการเข้าถึงอาหาร สิทธิในการได้รับอาหารเป็นสิทธิมนุษยชนซึ่งกำหนดขึ้นจากกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) โดยตระหนักถึง "สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพอย่างพอเพียง รวมทั้งอาหารที่เพียงพอ" เช่นเดียวกับ "สิทธิขั้นพื้นฐานที่จะปลอดจากความหิวโหย".

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

อีริทีมา มัลติฟอร์เม

อีริทีมา มัลติฟอร์เม (erythema multiforme) เป็นโรคผิวหนังอย่างหนึ่งซึ่งยังไม่ทราบสาเหตุ เชื่อว่าเกิดจากการจับตัวของอิมมูนคอมเพล็กซ์ (ส่วนใหญ่เป็น IgM) ในหลอดเลือดขนาดเล็กชั้นตื้นของผิวหนังและเยื่อเมือกในช่องปาก ส่วนใหญ่เป็นตามหลังการติดเชื้อหรือการได้รับยา เป็นโรคที่พบได้ค่อนข้างบ่อย ส่วนใหญ่เป็นในช่วงอายุ 20-30 ปี หมวดหมู่:ผิวหนังแดง.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและอีริทีมา มัลติฟอร์เม · ดูเพิ่มเติม »

องค์การอนามัยโลก

องค์การอนามัยโลก (World Health Organization ตัวย่อ WHO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่งรับผิดชอบการประสานงานด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ 7 เมษายน..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและองค์การอนามัยโลก · ดูเพิ่มเติม »

ผิวหนัง

ผิวหนัง คือ สิ่งปกคลุมชั้นนอกที่อ่อนของสัตว์มีกระดูกสันหลัง สิ่งปกคลุมสัตว์อื่น เช่น โครงร่างแข็งภายนอกของสัตว์ขาปล้องมีจุดกำเนิดการเจริญ โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีต่างออกไป ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ผิวหนังเป็นอวัยวะใหญ่สุดของระบบผิวหนัง ซึ่งประกอบขึ้นจากเนื้อเยื่อเอ็กโทเดิร์มหลายชั้น และป้องกันกล้ามเนื้อ กระดูก เอ็นและอวัยวะภายในที่อยู่ข้างใต้ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิดมีขนที่ผิวหนังด้วย ผิวหนังเป็นส่วนที่เปิดออกสู่สิ่งแวดล้อมและเป็นด่านป้องกันด่านแรกจากปัจจัยภายนอก ตัวอย่างเช่น ผิวหนังมีบทบาทสำคัญในการปกป้องร่างกายจากจุลชีพก่อโรคProksch E, Brandner JM, Jensen JM.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและผิวหนัง · ดูเพิ่มเติม »

ผิวหนังอักเสบ

(Dermatitis หรือ Eczema) คือ โรคที่เกิดจากการอักเสบของผิวหนัง ซึ่งแสดงออกมาได้หลายรูปแบบ แล้วแต่ระยะของโร.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและผิวหนังอักเสบ · ดูเพิ่มเติม »

ผื่นหลายรูปแบบจากแสงแดด

ผื่นหลายรูปแบบจากแสงแดด (polymorphous/polymorphic light eruption: PLE/PMLE) เป็นโรคแพ้แสงแดดชนิดหนึ่ง คือแพ้รังสีอัลตราไวโอเลตเป็นตัวกระตุ้นทำให้เกิดผื่นแพ้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและผื่นหลายรูปแบบจากแสงแดด · ดูเพิ่มเติม »

ผงซักฟอก

ผงซักฟอก เป็นสารซักล้างที่ผลิตขึ้นมาใช้แทนสบู่ มีสารลดแรงตึงผิวชนิดสังเคราะห์และชนิดธรรมชาติเป็นส่วนประกอบหลัก เป็นเกลือโซเดียมซัลโฟเนตของไฮโดรคาร์บอน สำหรับใช้ซักผ้า ครอบคลุมถึงผงซักฟอกที่มีลักษณะเป็นผงเม็ดเล็ก ๆ หรือเกล็ดอัดขึ้นรูปกึ่งแข็งกึ่งเหลว แท่ง หรือลักษณะอื่น แต่ไม่ครอบคลุมถึงผลิตภัณฑ์ซักผ้าชนิดเหลว.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและผงซักฟอก · ดูเพิ่มเติม »

จาระบี

จาระบี (grease) เป็นสารหล่อลื่นลักษณะกึ่งของแข็ง ทำจากน้ำมันปิโตรเลียมหรือน้ำมันพืชผ่านปฏิกิริยากับด่างในลักษณะเดียวกับสบู่ มีจุดเด่นที่จะเหนียวข้นเมื่ออยู่ในสภาพปกติ แต่จะไหลสะดวกเหมือนน้ำมันหล่อลื่นเมื่ออยู่ในสภาวะที่มีการเสียดสี, จึงนิยมใช้หล่อลื่นเครื่องจักรที่ไม่สามารถหยอดน้ำมันได้บ่อย หรือใช้ในจุดที่ลักษณะกลไกไม่เอื้อต่อการขังน้ำมันหล่อลื่น หมวดหมู่:สารหล่อลื่น.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและจาระบี · ดูเพิ่มเติม »

ท็อกซิก อีพิเดอร์มัล เนโครไลซิส

(toxic epidermal necrolysis, TEN) เป็นโรคผิวหนังในกลุ่มผื่นแพ้ยาที่พบได้น้อยโรคหนึ่งซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต ส่วนใหญ่เกิดเป็นปฏิกิริยาต่อยา มีลักษณะคือทำให้ผิวหนังชั้นหนังกำพร้า (epidermis) แยกออกจากชั้นหนังแท้ (dermis) ทั่วร่างกาย บทวิจัยทางการแพทย์ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า TEN เป็นโรคเดียวกันกับกลุ่มอาการสตีเฟนส์-จอห์นสัน แต่มีอาการรุนแรงกว่า และยังมีการถกเถียงกันว่าจะนับรวมเอา erythema multiforme เข้าเป็นกลุ่มของโรค (spectrum) เดียวกันนี้หรือไม.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและท็อกซิก อีพิเดอร์มัล เนโครไลซิส · ดูเพิ่มเติม »

ขา

แผนภาพของขาแมลง ขา เป็นส่วนหนึ่งในร่างกายของสัตว์ที่รองรับน้ำหนักทั้งหมด อยู่ระหว่างข้อเท้าและสะโพก ใช้ในการเคลื่อนที่ ปลายสุดของขามักเป็นโครงสร้างที่พัฒนาหรือเปลี่ยนแปลงเป็นโครงสร้างอื่นที่รับน้ำหนักของสัตว์บนพื้น (ดู เท้า) รยางค์ล่าง (lower limb) ของสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีสองขา (bipedal vertebrate) มักจะเป็นขาของสัตว์นั้นๆ ส่วนรยางค์บน (upper limb) มักจะเป็นแขนหรือปีก จำนวนขาของสัตว์มักเป็นจำนวนคู่ นักอนุกรมวิธานอาจจัดสัตว์ออกเป็นกลุ่มตามจำนวน.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและขา · ดูเพิ่มเติม »

คัน

ัน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและคัน · ดูเพิ่มเติม »

ตัวทำละลาย

ตัวทำละลาย (solvent) เป็นของเหลวที่สามารถละลาย ตัวถูกละลาย ที่เป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซได้เป็น สารละลาย ตัวทำละลายที่คุ้นเคยมากที่สุดและใช้ในชีวิตประจำวันคือน้ำ สำหรับคำจำกัดความที่อ้างถึง ตัวทำละลายอินทรีย์ (organic solvent) จะหมายถึงตัวทำละลายอีกชนิดที่เป็น สารประกอบอินทรีย์ (organic compound) และมี คาร์บอน อะตอมอยู่ด้วย โดยปกติตัวทำละลายจะมี จุดเดือด ต่ำ และระเหยง่าย หรือสามารถกำจัดโดย การกลั่นได้ โดยทั่วไปแล้วตัวทำละลายไม่ควรทำปฏิกิริยากับตัวถูกละลาย คือ มันจะต้องมีคุณสมบัติ เฉื่อย ทางเคมี ตัวทำละลายสามารถใช้ สกัด (extract) สารประกอบที่ละลายในมันจากของผสมได้ตัวอย่างที่คุ้นเคยได้แก่ การต้ม กาแฟ หรือ ชา ด้วยน้ำร้อน ปกติตัวทำละลายจะเป็นของเหลวใสไม่มีสีและส่วนใหญ่จะมีกลิ่นเฉพาะตัว ความเข้มข้นของสารละลายคือจำนวนสารประกอบที่ละลายในตัวทำละลายในปริมาตรที่กำหนด การละลาย (solubility) คือจำนวนสูงสุดของสารประกอบที่ละลายได้ในตัวทำละลาย ตามปริมาตรที่กำหนดที่ อุณหภูมิ เฉพาะ ตัวทำละลายอินทรีย์ใช้ประโยชน์ทั่วไปดังนี้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและตัวทำละลาย · ดูเพิ่มเติม »

ต่อมเหงื่อ

ต่อมเหงื่อ (sweat gland) เป็นต่อมมีท่อซึ่งพบได้ตามผิวหนัง ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ทำหน้าที่หลั่งเหงื่อ (sweat) ทำงานภายใต้ระบบประสาทซิมพาเทติกซึ่งจะหลั่งสารสื่อประสาทที่มีชื่อว่า อะซิติลโคลีน (Acetylcholene) ออกมาควบคุม.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและต่อมเหงื่อ · ดูเพิ่มเติม »

ปานสีกาแฟใส่นม

ปานสีกาแฟใส่นม (café au lait spot/macule) เป็นปานที่พบได้แต่กำเนิดชนิดหนึ่ง ได้ชื่อนี้มาจากสีน้ำตาลอ่อนคล้ายสีกาแฟใส่นมของฝรั่งเศส (café au lait).

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและปานสีกาแฟใส่นม · ดูเพิ่มเติม »

นิ้ว (อวัยวะ)

นิ้วมือทั้งห้าของมนุษย์ นิ้ว (digits) เป็นอวัยวะของมนุษย์ที่อยู่ปลายสุดของมือหรือเท้า แบ่งออกเป็น.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและนิ้ว (อวัยวะ) · ดูเพิ่มเติม »

นิ้วมือ

นิ้วมือ เป็นอวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกาย ซึ่งประกอบไปด้วย กระดูก กล้ามเนื้อ เส้นเลือด เอ็น และผิวหนังห่อหุ้ม มีตำแหน่งอยู่ตรงปลายสุดของแขนถัดจากมือ ซึ่งสามรถเคลื่อนไหวได้โดยการสั่งการของสมองและระบบประสาท.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและนิ้วมือ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำมัน

น้ำมันเครื่องสังเคราะห์ น้ำมัน (Oil) เป็นคำสามัญที่ใช้เรียกสารอินทรีย์ของเหลวที่ผสมเข้ากันไม่ได้ (immiscible) กับน้ำ เนื่องจากน้ำมันเป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว คำว่า น้ำมัน ในภาษาอังกฤษ (Oil) มาจากภาษาละติน oleum ซึ่งหมายถึงน้ำมันมะกอก บ่อยครั้งที่คำว่า น้ำมัน ใช้หมายถึง น้ำมันปิโตรเลียม (น้ำมันดิบ) ซึ่งน้ำมันชนิดนี้จะถูกสูบขึ้นมาจากพื้นดิน ปัจจุบันน้ำมันปิโตรเลียมเป็นแหล่งพลังงานหลักและเป็นส่วนสำคัญของเศรษฐกิจโลก.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและน้ำมัน · ดูเพิ่มเติม »

โรค

รค เป็นสภาวะผิดปกติของร่างกายหรือจิตใจของสิ่งมีชีวิตซึ่งทำให้การทำงานของร่างกายเสียไปหรืออาจทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิต โรคยังอาจหมายถึงภาวะการทำงานของร่างกายซึ่งทำให้เกิดอันตรายแก่ตัวเอง ซึ่งจะแสดงออกมาเป็นอาการหรืออาการแสดงต่อโรคนั้นๆ ในมนุษย์ คำว่าโรคอาจมีความหมายกว้างถึงภาวะใดๆ ก็ตามที่ทำให้เกิดความเจ็บปวด, การทำหน้าที่ผิดปกติ, ความกังวลใจ, ปัญหาสังคม หรือถึงแก่ความตาย ซึ่งมีผลกระทบต่อผู้ได้รับผลหรือผู้ที่อยู่ใกล้ชิด โรคอาจถูกใช้เพื่อเรียกการบาดเจ็บ, ความพิการ, ความผิดปกติ, กลุ่มอาการ, การติดเชื้อ, อาการ, พฤติกรรมเบี่ยงเบน, และการเปลี่ยนแปรที่ผิดปกติของโครงสร้างหรือหน้าที่การทำงานในประชากรมนุษ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและโรค · ดูเพิ่มเติม »

โรคพุพอง

รคพุพอง (impetigo หรือ impetaigo.) เป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่งอันเกิดแต่การติดเชื้อแบคทีเรีย "โรคแผลเปื่อยจากโรงเรียน" (school sores) ก็เรียก ปรากฏมากในเด็กอายุระหว่างสองปีถึงหกปี และผู้ที่เล่นกีฬาคลุกคลีระหว่างกัน เช่น รักบี้ อเมริกันฟุตบอล มวยปล้ำ มีความเสี่ยงรับโรคนี้ได้ไวไม่ว่าจะอายุเท่าใดก็ตาม โรคพุพองสามารถรักษาได้ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและโรคพุพอง · ดูเพิ่มเติม »

โรคสะเก็ดเงิน

รคสะเก็ดเงิน หรือ เรื้อนกวาง (Psoriasis) เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง ซึ่งเกิดจากการหนาตัวของชั้นหนังกำพร้า มีลักษณะเป็นตุ่มหรือปื้นแดง ที่มีขุยหรือสะเก็ดขาวติดอยู่ รอยโรคมักเกิดกับผิวหนังบริเวณที่ถูกเสียดสีบ่อยๆ รวมทั้งที่ศีรษะและเล็บด้วย ร้อยละ 30 ของผู้ป่วยจะมีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคนี้ด้ว.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและโรคสะเก็ดเงิน · ดูเพิ่มเติม »

โรคด่างขาว

รคด่างขาว เป็นภาวะที่เซลล์สร้างเม็ดสีหรือเมลาโนไซต์ถูกทำลาย จากสถิติพบว่าประชากรเป็นโรคนี้ร้อยละ 1 และพบในคนผิวคล้ำมากกว่าคนผิวขาว ร้อยละ 70-80 ของผู้ป่วยมีอายุต่ำกว่า 30 ปี ตัวอย่างของผู้ป่วย คือ ไมเคิล แจ็คสัน รอยโรคจะปรากฏเองโดยไม่มีอาการ ลักษณะที่ขึ้นใหม่ๆ จะเป็นสีขาวจางเหมือนเกลื้อน เมื่อเป็นนานเข้าจึงเห็นเป็นสีขาว ขอบชัดเจน มีรูปร่างกลมหรือรี หรือเป็นทางยาวตามแนวของเส้นประสาท พบได้บ่อยที่ใบหน้า มือ เท้า และผิวหนังเหนือข้อ รอยดังกล่าวมีขนาดตั้งแต่จุดเล็กๆ ถึงขนานใหญ่ ปกคลุมได้เกือบทั่วร่างกาย ในปัจจุบันยังไม่มีการรักษาที่ปลอดภัยและได้ผลแน่นอน แต่โรคด่างขาวไม่มีอันตรายต่อสุขภาพ ดังนั้นอาจไม่รักษาก็ได้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและโรคด่างขาว · ดูเพิ่มเติม »

โลหะ

ลหะ คือ วัสดุที่ประกอบด้วยธาตุโลหะที่มีอิเล็กตรอนอิสระอยู่มากมาย นั่นคืออิเล็กตรอนเหล่านี้ไม่ได้เป็นของอะตอมใดอะตอมหนึ่งโดยเฉพาะ ทำให้มีคุณสมบัติพิเศษหลายประการ เช่น.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและโลหะ · ดูเพิ่มเติม »

เมลานิน

รเมลานิน (Melanin) หรือเม็ดสีสร้างจากเซลล์ผิวหนังที่เรียกว่าเมลาโนไซต์ (melanocyte) เป็นเซลล์ที่เจริญมาจากเซลล์ระบบประสาทซึ่งแทรกตัวอยู่ในชั้นหนังกำพร้าส่วนล่างสุด โดยเซลล์เมลาโนไซต์หนึ่งเซลล์จะแตกแขนงเป็นร่างแหเล็กๆ ยื่นไปสัมผัสเซลล์ผิวหนังประมาณ 35 เซลล์ เมลาโนไซต์จะสร้างสารเมลานินบรรจุในแคปซูลเรียกว่าเมลาโนโซม เมื่อสร้างเสร็จจะส่งไปตามร่างแหเข้าสู่เซลล์ผิวหนัง สารเมลานินสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชน.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและเมลานิน · ดูเพิ่มเติม »

เล็บขบ

ล็บขบ หรือ เล็บคุด (ingrown nail, onychocryptosis) เป็นรูปแบบทั่วไปของโรคเล็บ เล็บขบมักเป็นสภาวะที่เจ็บปวดซึ่งเล็บโตจนบาดเข้าไปในเนื้อใต้เล็บข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง สภาวะนี้พบเฉพาะในวัฒนธรรมที่สวมรองเท้าและไม่พบในประชากรที่เดินเท้าเปล่าเป็นประจำ เพราะโรคนี้เกิดจากรองเท้าดันเล็บลงข้างล่าง สภาพดังกล่าวเริ่มต้นจากการอักเสบของเนื้อใต้เล็บอันเกิดจากจุลินทรีย์ รองจากกรานูโลมา ผลคือ เล็บถูกฝังอยู่ในกรานูโลมาHarry Gouvas: Wedge Resection (Lateral Onychoplasty) as the method of choice for Ingrown Toenail".

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและเล็บขบ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นผม

ตัดขวางของเส้นผม ผม หรือ เส้นผม คือเซลล์ที่ตายแล้ว โดยปกติแล้วผมยาวประมาณเดือนละ 1 ซม.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและเส้นผม · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องสำอาง

อุปกรณ์แต่งหน้า เครื่องสำอาง (อังกฤษ: cosmetics) เป็นสารที่ใช้เพิ่มเติมความสวยงามให้กับร่างกายมนุษย์ นอกเหนือจากอุปกรณ์รักษาความสะอาดโดยทั่วไป การใช้งานเครื่องสำอางมีใช้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งในโลกตะวันตกและโลกตะวันออก จำนวนบริษัทผลิตเครื่องสำอางในปัจจุบันมีเป็นจำนวนน้อยเปรียบเทียบกับธุรกิจชนิดอื่น โดยบริษัทส่วนใหญ่เป็นบริษัทขนาดใหญ่ในระดับนานาชาติ มากกว่าระดับท้องถิ่น.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและเครื่องสำอาง · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน

นื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective tissue) เป็นหนึ่งในสี่เนื้อเยื่อสัตว์พื้นฐาน (อันได้แก่ เนื้อเยื่อบุผิว, เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน, เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ, และ เนื้อเยื่อประสาท) เนื้อเยื่อนี้มีลักษณะสำคัญร่วมกันคือ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10

ัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) เป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลก รหัสได้ถูกจัดทำขึ้นแตกต่างกันถึง 155,000 รหัสและสามารถติดตามการวินิจฉัยและหัตถการใหม่ๆ ดังจะเห็นจากรหัสที่เพิ่มขึ้นจากฉบับก่อนหน้า ICD-9 ที่มีอยู่เพียง 17,000 รหัส งานจัดทำ ICD-10 เริ่มต้นขึ้นในปี พ.ศ. 2526 และแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและICD-10 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ICD-10 Chapter XII: Diseases of the skin and subcutaneous tissueICD-10 บท LICD-10 บท L: โรคผิวหนังและเนื้อเยื้อใต้ผิวหนัง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »