โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โพล้ง เลี้ยงประเสริฐ

ดัชนี โพล้ง เลี้ยงประเสริฐ

ล้ง เลี้ยงประเสริฐ เกิดเมื่อประมาณ พ.ศ. 2444 ที่บ้านท.อุตรดิตถ์ เป็นบุตรของนายสอน-นางขำ เลี้ยงประเสริฐ มีพี่น้อง 7 คน โดยเป็นชาย 6 คน หญิง 1 คน โดยพี่น้องที่เป็นชาย 5 คนคือ แก้ว เลี้ยงประเสริฐ โต๊ะ เลี้ยงประเสริฐ แพ เลี้ยงประเสริฐ ฤทธิ์ เลี้ยงประเสริฐ และพลอย เลี้ยงประเสริฐ เป็นนักมวยมีชื่อเสียงทั้งหม.

12 ความสัมพันธ์: บัว วัดอิ่มพ.ศ. 2444พ.ศ. 2522พระยาพิชัยดาบหักพลอย เลี้ยงประเสริฐฤทธิ์ เลี้ยงประเสริฐสุวรรณ นิวาศวัตหมู่บ้านคุ้งตะเภาจังหวัดอุตรดิตถ์แพ เลี้ยงประเสริฐโต๊ะ เลี้ยงประเสริฐ22 ตุลาคม

บัว วัดอิ่ม

ัว วัดอิ่ม หรือ ร.ท. บัว นิลอาชา เกิด ณ วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2440 ที่จังหวัดนครราชสีมา หัดมวยครั้งแรกเมื่ออายุประมาณ 15 -16 ปี กับครูนิล ครูทน ครูรุ่ง นายเอี่ยม-นายอ่อง วัดอิ่ม ตระเวนชกอยู่แถวบ้านเกิดจนมีชื่อเสียง นอกจากนี้ เขายังเป็นผู้ฝึกสอนมวยไทยสายโคราชแก่ พ.อ.(พิเศษ) อำนาจ พุกศรี.

ใหม่!!: โพล้ง เลี้ยงประเสริฐและบัว วัดอิ่ม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โพล้ง เลี้ยงประเสริฐและพ.ศ. 2444 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โพล้ง เลี้ยงประเสริฐและพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพิชัยดาบหัก

อนุสาวรีย์พระยาพิชัยดาบหัก หน้าศาลากลางจังหวัดอุตรดิตถ์ พระยาพิชัยดาบหัก ขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย มีชื่อเสียงอย่างยิ่งในชั้นเชิงการต่อสู้ ทั้งมือเปล่าแบบมวยไทย และอาวุธแบบกระบี่ กระบอง เดิมชื่อ จ้อย เกิดที่บ้าน ห้วยคา อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อปี พ.ศ. 2284 ในสมัยปลายกรุงศรีอยุธยา ศึกษาอยู่กับท่านพระครูวัดมหาธาตุหรือวัดใหญ่ เมืองพิชัย ภายหลัง จ้อยได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นทองดี หรือ ทองดีฟันขาว มีความสามารถทั้งทางเชิงมวยและเชิงดาบ เข้ารับราชการกับสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ตั้งแต่ครั้งดำรงตำแหน่งเป็นพระยาตาก ต่อมานายทองดีได้รับแต่งตั้งเป็นองค์รักษ์มีบรรดาศักดิ์เป็น "หลวงพิชัยอาสา" เมื่อรับราชการมีความดีความชอบจึงได้รับแต่งตั้งเป็น เจ้าหมื่นไวยวรนาถ พระยาสีหราชเดโช และพระยาพิชัย ผู้สำเร็จราชการครองเมืองพิชัย ซึ่งรับพระราชทานเครื่องยศเสมอเจ้าพระยาสุรสีห์ ตามลำดับ ภายหลังข้าศึกยกทัพมาตีเมืองพิชัย 2 ครั้ง ในการรบครั้งที่ 2 พระยาพิชัยถือดาบสองมือออกต่อสู้จนดาบหักไปข้างหนึ่ง และรักษาเมืองไว้ได้ ดังนั้นจึงไดัรับสมญานามว่า "พระยาพิชัยดาบหัก".

ใหม่!!: โพล้ง เลี้ยงประเสริฐและพระยาพิชัยดาบหัก · ดูเพิ่มเติม »

พลอย เลี้ยงประเสริฐ

ลอย เลี้ยงประเสริฐ เกิดเมื่อประมาณ พ.ศ. 2450 ที่บ้านท.

ใหม่!!: โพล้ง เลี้ยงประเสริฐและพลอย เลี้ยงประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

ฤทธิ์ เลี้ยงประเสริฐ

ทธิ์ เลี้ยงประเสริฐ เกิดเมื่อประมาณ พ.ศ. 2445 - 2446 ที่บ้านท.

ใหม่!!: โพล้ง เลี้ยงประเสริฐและฤทธิ์ เลี้ยงประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

สุวรรณ นิวาศวัต

วรรณ นิวาสวัต เป็นนักมวยไทยชื่อดังในพระนครรุ่นเดียวกับบัว วัดอิ่ม บังสะเล็บ ศรไขว้ และโพล้ง เลี้ยงประเสริฐ เป็นศิษย์ของหลวงพิพัฒน์พลกาย สุวรรณเคยชกชนะทั้ง บัว วัดอิ่ม และโพล้ง เลี้ยงประเสริฐ มาแล้ว และเคยชกกับ แอ ม่วงดี 3 ครั้ง ชนะ 2 ครั้ง เสมอ 1 ครั้ง เมื่อมวยสากลหรือมวยฝรั่งเข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทยและเชิญนักมวยสากลจากต่างชาติมาชกโชว์อยู่บ่อยๆ จนกระทั่งมีการคัดเลือกนักมวยสากลชาวไทยขึ้นชกกับนักมวยเหล่านั้น สุวรรณอาสาขึ้นชกกับ เทอรี่ โอคัมโป จากฟิลิปปินส์เป็นคู่แรกแต่ไม่สำเร็จ เป็นฝ่ายแพ้น็อคในยกที่ 4 เมื่อ 7 ธันวาคม..

ใหม่!!: โพล้ง เลี้ยงประเสริฐและสุวรรณ นิวาศวัต · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้านคุ้งตะเภา

หมู่บ้านคุ้งตะเภา หรือ บ้านคุ้งตะเภา เดิมชื่อว่า "ทุ่งบ้านคุ้งตะเภา" เป็นหมู่บ้านขนาดใหญ่ในตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ นับเป็นหมู่บ้านในแถบลุ่มแม่น้ำน่านฝั่งขวาตอนบนที่เคยอยู่ในการปกครองของหัวเมืองพิชัยที่เก่าแก่ที่สุดหมู่บ้านหนึ่ง รองจากเมืองฝางสว่างคบุรีที่มีที่ตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำน่านฝั่งขวาตอนบนเช่นเดียวกัน หมู่บ้านคุ้งตะเภาเป็นชุมชนคนไทยดั้งเดิมที่ตั้งอยู่ปลายเหนือสุดของวัฒนธรรมที่ราบลุ่มภาคกลางตอนบน ตัวหมู่บ้านอยู่ติดริมแม่น้ำน่านฝั่งตะวันออก มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบสองระดับ โดยพื้นที่ติดริมแม่น้ำน่านจะเป็นที่ระดับต่ำมีชั้นลดจากที่ราบปกติ เดิมตัวหมู่บ้านตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มชั้นลดดินตะกอนแม่น้ำพัดดังกล่าว แต่ในปัจจุบันบ้านเรือนส่วนใหญ่ได้ย้ายขึ้นมาตั้งอยู่บนที่ราบภาคกลางริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลขที่ 11 โดยพื้นที่เกษตรกรรมของหมู่บ้านส่วนใหญ่จะอยู่ในพื้นที่ทิศตะวันออกของหมู่บ้านและที่ราบลุ่มตะกอนแม่น้ำพัดริมแม่น้ำน่านด้านตะวันตกของหมู่บ้าน ชาวบ้านคุ้งตะเภาในปัจจุบันส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีประเพณีและวัฒนธรรมคล้ายกับหมู่บ้านชนบททั่วไปในแถบภาคกลางตอนบน โดยมีวัดประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง สถานีอนามัย 1 แห่ง และ โรงเรียนระดับพื้นฐาน 1 โรง เส้นทางคมนาคมหลักคือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ด้านเศรษฐกิจ ชาวบ้านประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันมีนายสมชาย สำเภาทอง เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่บ้านคุ้งต.

ใหม่!!: โพล้ง เลี้ยงประเสริฐและหมู่บ้านคุ้งตะเภา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: โพล้ง เลี้ยงประเสริฐและจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

แพ เลี้ยงประเสริฐ

แพ เลี้ยงประเสริฐ เกิดเมื่อประมาณ พ.ศ. 2447 ที่บ้านท.

ใหม่!!: โพล้ง เลี้ยงประเสริฐและแพ เลี้ยงประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

โต๊ะ เลี้ยงประเสริฐ

ีย์โกฏิอัฐิบรรพบุรษตระกูลเลี้ยงประเสริฐ บรรจุอัฐิของหลวงพ่อโต๊ะ เลี้ยงประเสริฐ ภายในวัดคุ้งตะเภา พระอธิการโต๊ะ เลี้ยงประเสริฐ อดีตเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา เกิดเมื่อประมาณ พ.ศ. 2440 ที่บ้านท.

ใหม่!!: โพล้ง เลี้ยงประเสริฐและโต๊ะ เลี้ยงประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

22 ตุลาคม

วันที่ 22 ตุลาคม เป็นวันที่ 295 ของปี (วันที่ 296 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 70 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โพล้ง เลี้ยงประเสริฐและ22 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »