โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

ดัชนี แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

แคทเธอรีนแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: Catherine of Braganza) (25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1638 - 31 ธันวาคม ค.ศ. 1705) ทรงเป็น"เจ้าหญิงแห่งโปรตุเกส"และ"สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ,สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์".

29 ความสัมพันธ์: ชาพ.ศ. 2181พ.ศ. 2205พ.ศ. 2228พ.ศ. 2248พระราชปฏิญญาพระคุณการุญพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฌูเอาที่ 4 แห่งโปรตุเกสพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพอร์ตสมัทการลอบวางแผนโพพิชการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ภาษาอังกฤษมุมไบราชวงศ์สจวตลิสบอนสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษควีนส์ประเทศอังกฤษประเทศอินเดียประเทศโปรตุเกสไททัส โอตส์เจมส์ สกอตต์ ดยุกที่ 1 แห่งมอนมัธ23 เมษายน25 พฤศจิกายน31 ธันวาคม6 กุมภาพันธ์

ชา

ใบชาเขียวในถ้วยชาจีน ชา เป็นผลผลิตทางเกษตรกรรมจากใบ ยอดอ่อน และก้านของต้นชา (Camellia sinensis) นำมาผ่านกรรมวิธีแปรรูปหลากหลาย "ชา" ยังหมายรวมถึงเครื่องดื่มกลิ่นหอมที่ทำจากพืชตากแห้งชนิดต่าง ๆ นำมาชงหรือต้มกับน้ำร้อน ชาเป็นเครื่องดื่มที่มีผู้บริโภคมากที่สุดเป็นอันดับสองของโลก รองจากน้ำ ชาทุกชนิดสามารถทำได้จากต้นชาต้นเดียวกัน แต่ผ่านกรรมวิธีแตกต่างกันออกไป.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและชา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2181

ทธศักราช 2181 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2181 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2205

ทธศักราช 2205 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2205 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2228

ทธศักราช 2228 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2228 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2248

ทธศักราช 2248 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2248 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชปฏิญญาพระคุณการุญ

ระราชปฏิญญาพระคุณการุญ (Royal Declaration of Indulgence) เป็นคำประกาศของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ซึ่งทรงพยายามที่จะขยายเสรีภาพทางศาสนาไปยังกลุ่มโปรเตสแตนต์นอกรีตและกลุ่มโรมันคาทอลิกในแว่นแคว้น ด้วยการงดเว้นการบังคับตามกฎหมายอาญาที่ลงโทษผู้ตีตนออกจากคริสตจักรอังกฤษ พระเจ้าชาลส์ทรงออกประกาศนี้เมื่อวันที่ 15 มีนาคม..

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระราชปฏิญญาพระคุณการุญ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ (Charles II of England; 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 – 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685) พระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ และพระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ ในราชวงศ์สจวต ระหว่างปี ค.ศ. 1660 ถึงปี ค.ศ. 1685 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 พระราชสมภพเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 ที่พระราชวังเซนต์เจมส์ในกรุงลอนดอน เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางเฮนเรียตตา มาเรีย ได้อภิเษกสมรสกับพระนางแคเธอริน และครองสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 ถึงวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 และ อังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 ถึงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ที่พระราชวังไวท์ฮอลในกรุงลอนดอน พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์ตามกฎหมายหลังจากพระราชบิดาพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ถูกประหารชีวิตที่พระราชวังไวต์ฮอลเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 แต่รัฐสภาอังกฤษมิได้ประกาศแต่งตั้งให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์และผ่านบัญญัติว่าเป็นการดำรงตำแหน่งของพระองค์เป็นการผิดกฎหมาย จึงเกิดช่วงว่างระหว่างรัชกาลในอังกฤษ แต่ทางรัฐสภาสกอตแลนด์ประกาศให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ของชาวสกอตเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1649 ที่เอดินบะระ และรับพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1651 หลังจากที่พ่ายแพ้ยุทธการวูสเตอร์เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ก็เสด็จหนีไปยุโรปภาคพื้นทวีปและไปประทับลี้ภัยเป็นเวลา 9 ปีในประเทศฝรั่งเศสและเนเธอร์แลนด์ของสเปน หลังจากที่รัฐบาลสาธารณรัฐภายใต้การนำของริชาร์ด ครอมเวลล์ล่มในปี ค.ศ. 1659 นายพลจอร์จ มองค์ก็อัญเชิญชาลส์ให้กลับมาเป็นสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษในสมัยที่เรียกกันว่า “การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ” พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เสด็จกลับถึงอังกฤษเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 และเสด็จเข้าลอนดอนในวันประสูติครบ 30 พรรษาเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 และทรงได้รับการราชาภิเศกเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษและ ไอร์แลนด์เมื่อวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 1660 รัฐสภาภายใต้การนำของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ออกพระราชบัญญัติต่อต้านพิวริตันที่รู้จักกันในชื่อ “ประมวลกฎหมายแคลเรนดัน” (Clarendon code) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อหนุนสถานะของคริสตจักรแห่งอังกฤษ แม้ว่าในทางส่วนพระองค์แล้วพระเจ้าชาลส์ที่ 2 จะทรงสนับสนุนนโยบายความมีเสรีภาพในการนับถือศาสนาก็ตาม ส่วนปัญหาใหญ่ในด้านการต่างประเทศในต้นรัชสมัยก็คือการสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1670 พระเจ้าชาลส์ทรงไปทำสัญญาลับกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสที่ระบุว่าฝรั่งเศสจะช่วยอังกฤษในสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สาม และจะถวายเงินบำนาญแก่พระองค์โดยมีข้อแม้ว่าสมเด็จพระเจ้าชาลส์ต้องสัญญาว่าจะเปลื่ยนจากการนับถือนิกายแองกลิคันไปเป็นการนับถือนิกายโรมันคาทอลิก แต่พระเจ้าชาลส์มิได้ทรงระบุเวลาที่แน่นอนในเรื่องการเปลี่ยนนิกาย แต่ในขณะเดียวกันก็ทรงพยายามเพิ่มสิทธิและเสรีภาพให้แก่ผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกและนิกายโปรเตสแตนต์ต่าง ๆ มากขึ้นโดยการออกพระราชปฏิญญาพระคุณการุญในปี ค.ศ. 1672 แต่รัฐสภาบังคับให้ทรงถอนในปี ค.ศ. 1679 ในปี ค.ศ. 1679 ไททัส โอตส์สร้างข่าวลือเรื่อง “การลอบวางแผนโพพิช” ที่เป็นผลให้เกิดวิกฤตกาลการกีดกัดต่อมา เมื่อเป็นที่ทราบกันว่าดยุกแห่งยอร์กพระอนุชาของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และรัชทายาทผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าเจมส์ที่ 2เปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ทำให้บ้านเมืองแบ่งเป็นสองฝักสองฝ่าย ฝ่ายวิกสนับสนุนการยกเว้นไม่ให้ดยุกแห่งยอร์กขึ้นครองราชย์และฝ่ายทอรีต่อต้านการยกเว้น พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงเข้าข้างฝ่ายหลัง หลังจากที่ผู้ก่อการโปรเตสแตนต์วางแผน “การลอบวางแผนไรย์เฮาส์” ที่จะปลงพระองค์เองและดยุกแห่งยอร์กในปี ค.ศ. 1683 ที่ทำให้ผู้นำพรรควิกหลายคนถูกประหารชีวิตหรือถูกเนรเทศ พระเจ้าชาลส์ที่ 2 จึงทรงยุบสภาในปี ค.ศ. 1679 และทรงราชย์โดยไม่มีรัฐสภาจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ก่อนจะเสด็จสวรรคตพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ก็ทรงเปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิกบนพระแท่นที่ประชวร พระเจ้าชาลส์ไม่มีพระราชโอรสธิดากับพระนางแคเธอรินแห่งบราแกนซา เพราะพระนางทรงเป็นหมัน แต่ทรงยอมรับว่ามีพระราชโอรสธิดานอกสมรส 12 องค์กับพระสนมหลายคน พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงเป็นที่รู้จักกันในพระนาม “ราชาเจ้าสำราญ” (Merrie Monarch) ซึ่งหมายถึงการใช้ชีวิตในราชสำนักของพระองค์ที่เต็มไปด้วยความสนุกสำราญซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการที่ถูกเก็บกดมาเป็นเวลานานภายใต้การปกครองของโอลิเวอร์ ครอมเวลล์และกลุ่มพิวริตัน.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ

ลายเซ็นของพระองค์ พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ (William III of England; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1650 — 8 มีนาคม ค.ศ. 1702) ทรงเป็นที่รู้จักกันในนามว่า วิลเลียมที่ 2 แห่งสกอตแลนด์ และ วิลเลมที่ 3 แห่งออเรนจ์ ทรงเป็นขุนนางดัทช์ชั้นสูง และทรงเป็นศาสนิกชนนิกายโปรแตสแตนต์ เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายวิลเลมแห่งออเรนจ์และเจ้าหญิงแมรี สจวตประสูติที่ The Hague ภายหลัง 8 วันจากที่พระองค์ประสูติ พระบิดาของพระองค์ก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษ ดังนั้นจึงทำให้พระเจ้าวิลเลียมทรงกลายเป็นเจ้าชายผู้ทรงอำนาจสูงสุดนับตั้งแต่ถือกำเนิดเลยทีเดียวก็ว่าได้ ต่อมาเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2203 เมื่อพระเจ้าวิลเลียมมีพระชนมายุได้ราวสิบกว่าพรรษา พระราชมารดาก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษในระหว่างที่ทรงเยี่ยมพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเชษฐาของพระองค์ โดยก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ลงได้ทรงตัดสินใจให้พระเจ้าชาลส์เป็นผู้ปกครอง โดยพระเจ้าชาลส์นั้นได้ทรงมอบหน้าที่ให้เป็นของเจ้าหญิงอมาเลีย เนื่องจากทรงเข้าใจในพระราชประสงค์ของพระเจ้าชาลส์เป็นอย่างดี และพระองค์ก็มิได้ทรงละเลยในการเขียนจดหมายติดต่อถึงหลานชายแต่อย่างใด ในปี พ.ศ. 2217 พระองค์ได้มีความพยายามในการที่จะสมรสกับแมรีหลานสาวของพระองค์เอง ซึ่งแมรี่เป็นธิดาของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ การสมรสนี้แม้นว่าเป็นไปอย่างยาก ลำบากมากก็ตาม แต่ในที่สุดก็ทรงได้เข้าพิธีอภิเษกสมรสในปี พ.ศ. 2220 พระองค์ได้ทรงเข้าไปมีส่วนร่วมในสงครามที่ต่อต้านอำนาจพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสหลายต่อหลายครั้งด้วยกัน เหล่าสมาชิกนิกายโปรแตสแตนต์ถึงกับได้มอบเหรียญตราและเครื่องราชอิสริยาภรณ์เนื่องจากเลื่อมใสศรัทธาในพระองค์ แต่นั่นก็เป็นเพียงแค่บางส่วนเท่านั้น ชื่อเสียงและกิตติศัพท์ของพระองค์ทำให้พระองค์ทรงได้รับการสถาปนาเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษในเวลาต่อมา ถึงแม้ว่าจะมีเหตุผลอื่น ในการประสบความสำเร็จของพระองค์จะเป็นในด้านการทหาร หรือกองเรือรบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดก็ตาม พระองค์สวรรคตในปี พ.ศ. 2245 ด้วยโรคปอดอักเสบ อันเนื่องจากการที่พระองค์ทรงตกจากม้าของพระองค์เอง และเป็นที่เชื่อกันว่าม้าของพระองค์ นั้นได้ก้าวเท้าพลาดไปสะดุดกับรังของตัวตุ่นเข้า และนี่คงเป็นเหตุผลหนึ่งของที่มา ในการดื่มอวยพร Make a toasted ซึ่งมักจะมีการนิยมกล่าวกันในระหว่างที่ดื่มอวยพรว่า "the little gentleman in the black velvet waistcoat." และในปีถัดมา ท่านเซอร์วินสตัน เชอร์ชิล ก็ได้เพิ่มเติมลงไปอีกว่า "opened the trapdoor to a host of lurking foes".

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 (Louis XIV de France; หลุยส์กาโตร์ซเดอฟร็องส์, 5 กันยายน พ.ศ. 2181 – 1 กันยายน พ.ศ. 2258) หรือเรียกว่า หลุยส์มหาราช (Louis le Grand; หลุยส์ เลอ กร็อง) หรือ สุริยกษัตริยาธิราช (le Roi Soleil) เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสและนาวาร์ ทรงครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุได้เพียง 5 ชันษา เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์บูร์บงแห่งราชวงศ์กาเปเตียง เสวยราชสมบัติเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2186 และทรงครองราชย์นานถึง 72 ปี นับเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดในยุโรป และในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ฝรั่งเศสของพระเจ้าหลุยส์เป็นช่วงที่ประเทศฝรั่งเศสเป็นผู้นำทางด้านศูนย์กลางการรวมอำนาจของแผ่นดิน พระเจ้าหลุยส์เริ่มบริหารประเทศด้วยตัวของพระองค์เองเมื่อปี พ.ศ. 2204 หลังจากการเสียชีวิตของหัวหน้าคณะรัฐมนตรีของพระองค์นั่นก็คือ พระคาดินัล เมเซริน ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกแนวคิดของเทวสิทธิราชย์ ถึงต้นกำเนิดกษัตริย์ผู้มีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศต่อพระเจ้าหลุยส์มาอย่างต่อเนื่อง การทำงานของพระองค์ได้สร้าง อำนาจรัฐ ภายใต้การควบคุมของเมืองหลวง พระองค์ทรงพยายามที่จะขจัดเศษของระบบศักดินา ที่คงอยู่ในฝรั่งเศสและเต็มไปด้วยสมาชิกของชนชั้นสูงสังคม ที่อาศัยอยู่อย่างฟุ่มเฟือยภายในพระราชวังแวร์ซายของพระองค์ (เดิมเป็นกระท่อมล่าสัตว์ของพระบิดาของพระเจ้าหลุยส์) และทรงประสบความสำเร็จในการปลอบสมาชิกเหล่าขุนนางได้จำนวนมากที่มีส่วนร่วมในฟรอนด์ ซึ่งเกิดจากการจลาจลของชนกลุ่มน้อยของพระเจ้าหลุยส์ โดยวิธีการดังกล่าวทรงได้กลายเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดและรวมระบอบของระบบกษัตริย์ในฝรั่งเศสที่ทนกว่าจะมีการการปฏิวัติฝรั่งเศส พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 สวรรคตก่อนที่จะถึงวันครบรอบพระราชสมภพครบ 77 พรรษา และพระราชปนัดดาของเขาก็ครองราชย์สืบต่อเป็นพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 โดยในรัชสมัยอันยาวยาวนานของพระองค์ ทรงมีรัชทายาทต่อราชบัลลังก์มาแล้วกว่า 3 พระองค์ ได้แก่ พระราชโอรสของพระองค์ หลุยส์ โดแฟ็งใหญ่แห่งฝรั่งเศส, พระโอรสในของโดแฟ็งใหญ่ ได้แก่ หลุยส์ โดแฟ็งน้อย, และพระโอรสองค์โตในโดแฟ็งน้อย ได้แก่ เจ้าชายหลุยส์ ดยุกแห่งเบรอตาญ.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฌูเอาที่ 4 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้าฌูเอาที่ 4 แห่งโปรตุเกส (João IV de Portugal, 18 มีนาคม ค.ศ. 1603 - 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1656) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกสและอัลการ์เวส (King of Portugal and the Algarves) ในราชวงศ์บรากานซา เป็นพระนัดดาของแคเทอรีน ดัชเชสแห่งบรากานซา ผู้ได้ประกาศอ้างสิทธิในราชบัลลังก์โปรตุเกสและกลายเป็นชนวนสงครามชิงราชสมบัติใน ค.ศ. 1580 มีพระสมัญญานามว่า พระเจ้าฌูเอาผู้ฟื้นฟู (João o Restaurador, John the Restorer) ก่อนพระองค์จะเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1656 ดินแดนของจักรวรรดิโปรตุเกสได้แผ่ขยายออกไปอย่างกว้างขวางที่สุด ด้วยพื้นที่ที่มากถึงเกือบ 3,000 ล้านเอเคอร์ พระเจ้าฌูเอาที่ 4 แห่งโปรตุเกสเสด็จพระราชสมภพที่เมืองวิลลา วีซอซา (Vila Viçosa) และได้รับสืบทอดตำแหน่งดยุคแห่งบรากานซาจากเจ้าชายทีโอโซโอที่ 2 ผู้เป็นพระราชบิดา เมื่อ ค.ศ. 1630 ทรงเสกสมรสกับลุยซา ดี กุซมาน (Luisa de Guzman, ค.ศ. 1613 - 1666) พระธิดาองค์โตของดยุคแห่งเมดินา-ซีโดเนีย เมื่อ ค.ศ. 1633 พระองค์ได้ขึ้นเสวยราชสมบัติจากการปฏิวัติต่อต้านพระเจ้าเฟลีเปที่ 4 แห่งสเปน เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1640 และกระทำพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1640 พระเจ้าฌูเอาที่ 4 แห่งโปรตุเกสเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1656 พระเจ้าอฟองโซที่ 6 ผู้เป็นพระราชโอรสได้สืบราชสมบัติเป็นลำดับถัดมา พระราชธิดาของพระองค์ผู้หนึ่ง คือ เจ้าหญิงคาทารีนาแห่งบรากานซา ได้อถิเษกสมรสกับพระเจ้าชาร์ลสที่ 2 กษัตริย์แห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระเจ้าฌูเอาที่ 4 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษหรือพระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์ พระเจ้าเจมส์ที่ 2แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2228 – พ.ศ. 2232) หรือ พระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์ เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ และพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2228 ถึง 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2232 นับว่าเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์สุดท้ายที่นับถือนิกายโรมันคาทอลิก เมื่อเทียบกับช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ไทย พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษทรงครองราชย์ในเวลาเดียวกันกับระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชในสมัยกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าเจมส์เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางเฮนเรียตตา มาเรีย ประสูติที่พระราชวังเซนต์เจมส์ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ในปี..

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พอร์ตสมัท

อร์ตสมัท (Portsmouth) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของแฮมป์เชอร์เคาน์ตี ทางชายฝั่งตอนใต้ของอังกฤษ เป็นเมืองเกาะแห่งเดียวในสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่บนเกาะพอร์ตซี ในช่องแคบอังกฤษ อยู่ห่างจากกรุงลอนดอนทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ราว 103 กม.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพอร์ตสมัท · ดูเพิ่มเติม »

การลอบวางแผนโพพิช

“การคบคิดพ็อพพิช” แสดงการสังหารนักบวชเยซูอิด การคบคิดพ็อพพิช (Popish Plot) (ค.ศ. 1678 - ค.ศ. 1681) เป็นข่าวลือที่ไม่มีมูลที่สร้างขึ้นโดยไททัส โอตส์ ที่เป็นผลที่ทำให้ประชาชนเกิดมีความรู้สึกเป็นปฏิปักษ์ต่อโรมันคาทอลิกอย่างรุนแรงไปทั่วราชอาณาจักรอังกฤษระหว่างปี ค.ศ. 1678 ถึงปี ค.ศ. 1681 โอตส์อ้างว่ามีการคบคิดกันอย่างกว้างขวางในหมู่ผู้นับถือโรมันคาทอลิกที่จะปลงพระชนม์พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ข่าวลือนี้ทำให้มีผู้ถูกจับและถูกประหารชีวิตไปอย่างน้อย 15 คน และเป็นสาเหตุที่นำไปสู่การออกร่างพระราชบัญญัติยกเว้น ในที่สุดข่าวลืออันซับซ้อนของโอตส์ก็เป็นที่เปิดเผยซึ่งทำให้ถูกจับในข้อหาการสร้างเรื่องเท็.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและการลอบวางแผนโพพิช · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์

การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ (Glorious Revolution) ยังรู้จักกันในชื่อ การปฏิวัติปี..

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

มุมไบ

มุมไบ มุมไบ (Mumbai; มราฐี: मुंबई;สัท.: /'mumbəi/) เดิมชื่อ บอมเบย์ (Bombay) ที่ตั้งอยู่บนริมฝั่งทะเลอาหรับในประเทศอินเดีย ท่ามกลางชายฝั่งที่ทอดยาวกับภูเขาสูงที่ปกคลุมด้วยป่าเขตร้อนชื้นและป่าผลัดใบ มุมไบมีความสำคัญในฐานะเป็นเมืองท่า และเป็นศูนย์กลางทางการค้า การท่องเที่ยว บอมเบย์ (Bombay) หรือมุมไบ เป็นเมืองท่าที่สำคัญทางฝั่งทะเลอาหรับของอินเดีย และเป็นเมืองหลวงของรัฐมหาราษฏระ ในช่วงเวลาระหว่าง..

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและมุมไบ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สจวต

ตราประจำพระองค์สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ กษัตริย์พระองค์แรกของราชวงศ์สจวต ราชวงศ์สจวต อังกฤษ: House of Stuart หรือ Stewart) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ซึ่งภายหลังได้ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษ และได้ปกครองราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ได้ทรงรับเอาการสะกดชื่อพระราชวงศ์ว่า Stuart มาจากภาษาฝรั่งเศส ในขณะที่ในฝรั่งเศสยืนยันว่าในภาษาสกอต Stewart นั้นออกเสียงได้ถูกต้องแล้ว ชื่อราชวงศ์มาจากพระอิสสริยยศโบราณของสกอตแลนด์ สจวตสูงแห่งสกอตแลนด์ (High Steward of Scotland) ราชวงศ์สจวตปกครองราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นเวลานาน 336 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 1914 ถึงปี พ.ศ. 2250 องค์รัชทายาทที่ใกล้ชิดกับสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งราชอาณาจักรอังกฤษคือสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษโดยผ่านทางสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์ทิวดอร์ เจมส์ สจวตสืบทอดราชบัลลังก์ทั้งราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ พระองค์ทรงครองราชบัลลังก์ของทั้ง 3 ชาติ (Home Nations) (และยังสืบทอดการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสของกษัตริย์อังกฤษด้วย) ในระหว่างปี พ.ศ. 2146 ถึง พ.ศ. 2250 ในระยะหลังราชวงศ์สจวตได้สถาปนาตนเองเป็น กษัตริย์แห่งบริเตนใหญ่ (Kings/Queens of Great Britain) จนถึงรัชสมัยของราชินีองค์สุดท้ายของราชวงศ์สจวตคือสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์ ราชวงศ์ฮาโนเวอร์ได้สืบทอดราชบัลลังก์ต่อเนื่องจากพระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ พ.ศ. 2244 (Act of Settlement 1701) ที่กำหนดให้ผู้ที่สามารถขึ้นครองราชย์ต่อไปต้องเป็นโปรเตสแตนต์เพื่อประโยชน์ในการรวมไอร์แลนด์ให้อยู่ภายใต้รัฐบาลลอนดอน ในปัจจุบันยังคงมีสมาชิกของราชวงศ์ที่สืบเชื้อสายราชวงศ์สจวตมีชีวิตอยู่ และยังคงมีผู้ที่ยังคงสนับสนุนราชวงศ์สจวตอยู่ เรียกขานกันว่า พวกจาโคไบท์ (Jacobite) โดยขบวนการนี้ถือเอา ฟรานซ์ ดยุคแห่งบาวาเรีย เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ, สกอตแลนด์, ไอร์แลนด์ และ ฝรั่งเศสโดยชอบธรรม.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและราชวงศ์สจวต · ดูเพิ่มเติม »

ลิสบอน

ลิสบอน ลิสบอน (Lisbon) หรือ ลิชบัว (Lisboa) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศโปรตุเกส ตัวเมืองลิสบอนมีประชากร 564,657 คน ถ้ารวมเขตที่อยู่อาศัยโดยรอบด้วยจะมีประชากรประมาณ 2,760,723 คน (ข้อมูลปี 2005) ลิสบอนตั้งอยู่ทิศตะวันตกของประเทศ ริมชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกของคาบสมุทรไอบีเรีย การที่ลิสบอนตั้งอยู่ทางใต้ของทวีปยุโรปและติดกับมหาสมุทร จึงได้รับอิทธิพลจากกระแสน้ำกัลฟ์สตรีม ทำให้ลิสบอนเป็นเมืองหลวงที่มีภูมิอากาศอบอุ่นที่สุดในยุโรป.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและลิสบอน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ (Mary II of England) (30 เมษายน ค.ศ. 1662 – 28 ธันวาคม ค.ศ. 1694) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชวงศ์สจวตของราชอาณาจักรอังกฤษและไอร์แลนด์ระหว่างปี..

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ควีนส์

วีนส์ (Queens) เป็นโบโรฮ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของนิวยอร์กซิตี เป็นโบโรฮ์ที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับ 2 จากทั้งหมด 5 โบโรฮ์ของนิวยอร์กซิตี ซึ่งตั้งอยู่ในรัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา มีประชากรประมาณ 2,306,712 คน ควีนส์ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันตกของเกาะลองไอแลนด์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของสนามบินสำคัญ 2 แห่งของสหรัฐอเมริกา คือ ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี และ ท่าอากาศยานลากวาร์เดี.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและควีนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ. 1671 โปรตุเกส (Portugal ปุรตุกาล) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโปรตุเกส (República Portuguesa) เป็นสาธารณรัฐซึ่งมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรไอบีเรียทางตอนใต้ของทวีปยุโรป และถือว่าเป็นประเทศที่อยู่ทางทิศตะวันตกมากที่สุดในบรรดาประเทศในทวีปยุโรปทั้งหลาย (ยกเว้นหมู่เกาะบริเตนใหญ่และหมู่เกาะใกล้เคียง) โปรตุเกสมีพรมแดนติดกับประเทศสเปนในทางทิศเหนือและทิศตะวันออก และอยู่ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกในทางทิศตะวันตกและทิศใต้ นอกจากนี้ โปรตุเกสยังประกอบไปด้วยอาณาเขตหมู่เกาะอยู่หลายหมู่เกาะด้วยกันในมหาสมุทรแอตแลนติก อาทิเช่น อะโซร์ส (Azores หรือ Açores) และเกาะมาเดราและโปร์ตูซันตู (รวมถึงหมู่เกาะซาเวจด้วย).

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ไททัส โอตส์

ททัส โอตส์ (ภาษาอังกฤษ: Titus Oates) (15 กันยายน ค.ศ. 1649 - 12/13 กรกฎาคม ค.ศ. 1649) ไททัส โอตส์ เป็นนักบวชชาวอังกฤษผู้สร้างข่าวลือเท็จเรื่องการคบคิดพ็อพพิชที่อ้างว่าเป็นการคบคิดของฝ่ายโรมันคาทอลิกที่จะปลงพระชนม์พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ข่าวลือนี้ทำให้มีผู้ถูกจับและถูกประหารชีวิตไปอย่างน้อย 15 คน และเป็นผลทำให้ประชาชนเกิดมีความรู้สึกเป็นปฏิปักษ์ต่อโรมันคาทอลิกอย่างรุนแรงไปทั่วราชอาณาจักรอังกฤษระหว่างปี ค.ศ. 1678 ถึงปี ค.ศ. 1681 และในที่สุดก็เป็นสาเหตุที่นำไปสู่การออกร่างพระราชบัญญัติยกเว้น.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและไททัส โอตส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ สกอตต์ ดยุกที่ 1 แห่งมอนมัธ

มส์ สกอตต์ ดยุคแห่งมอนม็อธที่ 1 หรือ เจมส์ ครอฟต์ (ภาษาอังกฤษ: James Scott, 1st Duke of Monmouth หรือ James Crofts) (9 เมษายน ค.ศ. 1649 - (15 กรกฎาคม ค.ศ. 1685) เจมส์ สกอตต์ ดยุคแห่งมอนม็อธที่ 1 เกิดเมื่อวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 1649 ที่ร็อตเตอร์ดัมในประเทศเนเธอร์แลนด์และเสียชีวิตโดยการถูกประหารชีวิตที่หอคอยแห่งลอนดอน, อังกฤษ เจมส์ สกอตต์เป็นโอรสนอกกฎหมายของสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษและพระสนมลูซิ วอลเตอร์ (Lucy Walter) ผู้ที่ติดตามพระองค์ไปลี้ภัยในยุโรปหลังจากที่พระราชบิดาของพระองค์--พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1--ทรงถูกปลงพระชนม์ ต่อมาตัวดยุคแห่งมอนม็อธเองก็ถูกประหารชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1685 หลังจากการพยายามโค่นราชบัลลังก์ของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 ที่เรียกกันว่ากบฏมอนม็อธ (Monmouth Rebellion) โดยการประกาศตนว่าเป็นพระโอรสนอกสมรสของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 และเป็นโปรเตสแตนต์เพื่อสร้างความนิยมต่อประชาชนในอังกฤษในการเป็นปฏิปักษ์ต่อพระเจ้าเจมส์ผู้เป็นโรมันคาทอลิก.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและเจมส์ สกอตต์ ดยุกที่ 1 แห่งมอนมัธ · ดูเพิ่มเติม »

23 เมษายน

วันที่ 23 เมษายน เป็นวันที่ 113 ของปี (วันที่ 114 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 252 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ23 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤศจิกายน

วันที่ 25 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 329 ของปี (วันที่ 330 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 36 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ25 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

31 ธันวาคม

วันที่ 31 ธันวาคม เป็นวันที่ 365 ของปี (วันที่ 366 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เป็น "วันสิ้นปี" ก่อนวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันสุดท้ายของปี โดยวันรุ่งขึ้นเป็นวันที่ 1 มกราคม ของปีถัดไป.

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ31 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ6 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Catherine of Braganzaสมเด็จพระราชินีแคทเธอรีนแห่งบราแกนซาพระราชินีแคทเธอรีนแห่งบราแกนซาแคทเธอรีนแห่งบราแกนซาแคทเธอรีนแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษแคทเธอรีนแห่งบราแกนซา พระราชินีแห่งอังกฤษ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »