โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟ

ดัชนี เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟ

อเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก - รอบเพลย์ออฟ จะจัดแข่งขันระหว่างวันที่ 2 มิถุนายน ถึง 11 ตุลาคม..

35 ความสัมพันธ์: ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาฟุตบอลทีมชาติภูฏานฟุตบอลทีมชาติมัลดีฟส์ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซียฟุตบอลทีมชาติลาวฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซียฟุตบอลทีมชาติอินเดียฟุตบอลทีมชาติจีนไทเปฟุตบอลทีมชาติติมอร์-เลสเตฟุตบอลทีมชาติเยเมนฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย – รอบที่ 2พนมเปญกัวลาลัมเปอร์มาเลสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศสนามกีฬาแห่งชาติลาว หลัก 16สนามกีฬาโอลิมปิก (พนมเปญ)ธากาทิมพูดูชานเบประเทศกาตาร์ประเทศมาเลเซียประเทศไต้หวันโจโฮร์บะฮ์รูโดฮาเกาสฺยงเวียงจันทน์เอเชียนคัพ 2019UTC+03:00UTC+05:00UTC+05:30UTC+06:00UTC+07:00UTC+08:00

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชา

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชา เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจาก ราชอาณาจักรกัมพูชา อยู่ภายใต้การควบคุมของ สหพันธ์ฟุตบอลกัมพูชา มีผลงานเป็นอันดับ 4 ในเอเชียนคัพ 1972 แต่ปัจจุบันเป็นหนึ่งในทีมที่เก่งน้อยที่สุดในโลก และไม่ได้เข้าร่วมรอบคัดเลือกของฟุตบอลโลก 2006 ทีมก่อตั้งเมื่อพ.ศ. 2476 และเข้าร่วมฟีฟ่าเมื่อพ.ศ. 2496.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและฟุตบอลทีมชาติกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติภูฏาน

ฟุตบอลทีมชาติภูฏาน เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศภูฏาน อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลภูฏาน เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) และเข้าร่วมกับฟีฟ่าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 ทีมชาติภูฏานชนะประเทศอื่นครั้งแรกในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2545 โดยแข่งกับทีมชาติมอนต์เซอร์รัตในเมืองทิมพูเมืองหลวงของภูฏาน และเกมการแข่งขันนี้ถูกสร้างไปเป็นหนังภาพยนตร์เรื่อง "The Other Final" ในเวลาต่อม.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและฟุตบอลทีมชาติภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติมัลดีฟส์

ฟุตบอลทีมชาติมัลดีฟส์ เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศมัลดีฟส์ อยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศมัลดีฟส์ หนึ่งในสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) มัลดีฟส์เคยผ่านรอบที่สองของรอบคัดเลือกฟุตบอลโลก 2006 ด้วยการเสมอเกาหลีใต้ในบ้าน 0–0 ความสำเร็จสูงสุดของทีมชาติมัลดีฟส์ คือการคว้ารางวัลชนะเลิศฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียใต้ 2008 ซึ่งพวกเขาสามารถเอาชนะอินเดียในนัดชิงชนะเลิศไปได้ 1–0.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและฟุตบอลทีมชาติมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซีย

ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศมาเลเซียภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลมาเลเซีย ผลงานในระดับโลกของทีมชาติมาเลเซียนั้น ยังไม่เคยได้เข้าร่วมในฟุตบอลโลก แต่ทีมชาติมาเลเซียได้เข้าร่วมโอลิมปิก ที่มิวนิก ใน โอลิมปิก 1972 ส่วนในระดับเอเชียนั้น ทีมชาติมาเลเซียได้ร่วมเล่นในเอเชียนคัพโดยอันดับสูงสุดคือรอบแรกของการแข่งเอเชียนคัพ และในระดับอาเซียน ทีมชาติมาเลเซีย ได้อันดับสูงสุดคือรองชนะเลิศ ไทเกอร์คัพ สำหรับฉายาของทีมชาติมาเลเซีย สื่อมวลชนในประเทศไทยนิยมเรียกกันว่า "เสือเหลือง" และมีฉายาของกองเชียร์ว่า "Ultras Malaya" (อุลตร้าส์มาลายา).

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและฟุตบอลทีมชาติมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติลาว

ฟุตบอลทีมชาติลาว เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศลาวในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ ดูแลโดยสหพันธ์ฟุตบอลแห่งชาติลาว โดยเป็นสมาชิกของเอเอฟซี ทีมชาติลาวเป็นทีมหนึ่งที่ไม่ประสบความสำเร็จในการแข่งขันมากนัก อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2512 ทีมชาติลาวได้อันดับ 4 ในการแข่งขันฟุตบอลคิงส์คัพ และในปี พ.ศ. 2552 ทีมชาติลาวได้อันดับ 4 ในการแข่งขันฟุตบอลซีเกมส์ ครั้งที่ 25 ซึ่งลาวเป็นเจ้าภาพ นอกจากนี้ ทีมชาติลาว ยังมีการกล่าวถึงในภาพยนตร์เรื่อง หมากเตะโลกตะลึง.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและฟุตบอลทีมชาติลาว · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย

ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศอินโดนีเซีย ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลอินโดนีเซีย ทีมชาติอินโดนีเซียเป็นทีมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพียงไม่กี่ทีมที่เคยร่วมเล่นฟุตบอลโลก โดยเล่นในฟุตบอลโลก 1938 และยังไม่มีผลงานที่โดดเด่นในระดับเอเชีย ส่วนในระดับอาเซียน ทีมอินโดนีเซียได้อันดับรองชนะเลิศไทเกอร์คัพ 3 ครั้ง ในช่วงแรกทีมชาติอินโดนีเซียได้ร่วมเล่นในฟุตบอลโลกในตัวแทนของ ดัตช์อีสต์อินดีส์ (จักรวรรดิดัตช์ตะวันออก) ซึ่งเป็นชื่อของอินโดนีเซียในช่วงที่เป็นเมืองขึ้นของประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยทีมนี้เป็นทีมในทวีปเอเชียทีมแรกที่ได้ร่วมเล่นฟุตบอลโลก โดยเข้าเล่นในฟุตบอลโลก 1938 ที่ฝรั่งเศสเป็นเจ้.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอินเดีย

ฟุตบอลทีมชาติอินเดีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศอินเดีย อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลออลอินเดีย และยังเป็นสมาชิกของสหพันธ์ฟุตบอลฟุตบอลเอเชียใต้ ทีมชาติมีช่วงที่รุ่งเรืองระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1950-60 ภายใต้การคุมทีมของ Syed Abdul Rahim อินเดียได้เหรียญทองในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ปี 1951 และ 1962 และจบอันดับที่สี่ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1956 อินเดียไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลก แม้ว่าจะเคยได้สิทธิ์เข้าแข่งขันแทนที่ทีมอื่นในกลุ่มที่ถอนตัวไปในปี 1950 แต่อินเดียก็ถอนตัวก่อนที่จะเปิดการแข่งขัน ทีมชาติอินเดียเข้าร่วมแข่งขันเอเชียนคัพ 3 ครั้ง ผลงานที่ดีที่สุดคือ อันดับรองชนะเลิศในปี 1964 อินเดียยังได้เข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียใต้ โดยชนะเลิศ 6 สมัย นับตั้งแต่มีการแข่งขันในปี..

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและฟุตบอลทีมชาติอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติจีนไทเป

ฟุตบอลทีมชาติจีนไทเป (Chinese Taipei national football team) เป็นตัวแทนของสาธารณรัฐจีนในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ อยู่ภายใต้การบริหารของสมาคมฟุตบอลจีนไทเป โดยทีมมีประวัติความสำเร็จในระดับเอเชียคือคว้าอันดับ 3 เอเชียนคัพ ปี 1960 และคว้าเหรียญทองในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ เมื่อปี 1954 และ 1958 ในปี พ.ศ. 2470 ประเทศจีนเกิดสงครามกลางเมือง ทำให้ทีมชาติไต้หวันได้สิทธิ์แข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศแทนทีมชาติจีน และแยกออกจากกันในปี พ.ศ. 2508 ซึ่งทีมชาติจีนถูกก่อตั้งขึ้นมาอีกครั้ง.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและฟุตบอลทีมชาติจีนไทเป · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติติมอร์-เลสเต

ฟุตบอลทีมชาติติมอร์-เลสเต (Seleção Timorense de Futebol) เป็นทีมฟุตบอลระดับทีมชาติจากประเทศติมอร์-เลสเตซึ่งยังไม่เคยประสบความสำเร็จในรายการระดับนานาชาติใด ๆ เลย ทีมชาติติมอร์-เลสเตเข้าเป็นสมาชิกของฟีฟ่าเมื่อวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 2005 และเปิดตัวระดับนานาชาติครั้งแรกในการแข่งขันเอเชียนคัพรอบแบ่งกลุ่มเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 2005 โดยแพ้ศรีลังกา 3-2 และแพ้ไต้หวัน 3-0 ติมอร์-เลสเต หมวดหมู่:ฟุตบอลทีมชาติติมอร์-เลสเต.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและฟุตบอลทีมชาติติมอร์-เลสเต · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเยเมน

ฟุตบอลทีมชาติเยเมน เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศเยเมน ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลเยเมน ในอดีตช่วงที่ประเทศเยเมนแบ่งออกเป็นเยเมนเหนือและเยเมนใต้นั้น ได้มีทีมชาติเกิดขึ้นมาสองทีม และภายหลังจากการรวมประเทศในปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) ทีมชาติเยเมนเหนือได้เปลี่ยนมาเป็นทีมชาติเยเมน โดยถือได้ว่าสืบต่อทีมมา (เช่นเดียวกับทีมชาติเยอรมนีที่ถือว่าต่อจากเยอรมนีตะวันตก ภายหลังจากการรวมประเทศ) ทีมชาติเยเมนนั้นยังไม่มีผลงานร่วมเล่นในฟุตบอลโลกหรือเอเชียนคัพ ในขณะที่ทีมชาติเยเมนใต้เคยร่วมเล่นเอเชียนคัพ 1976.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและฟุตบอลทีมชาติเยเมน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย – รอบที่ 2

การแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย - รอบสอง เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศของทวีปเอเชียเพื่อคัดเลือกทีมฟุตบอลเข้าแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 รอบสุดท้ายที่ประเทศรัสเซีย ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย เริ่มแข่งขันในวันอาทิตย์ที่ 24 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย – รอบที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

พนมเปญ

นมเปญ หรือ ภนุมปึญ (ភ្នំពេញ พนมเพ็ญ ออกเสียง:; Phnom Penh) อีกชื่อหนึ่งคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส กรุงพนมเปญเป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยจังหวัดกันดาล และเป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การเมือง และวัฒนธรรมของกัมพูชา มีประชากรถึง 2 ล้านคน จากประชากรทั้งประเทศ 15.2 ล้านคน.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและพนมเปญ · ดูเพิ่มเติม »

กัวลาลัมเปอร์

กัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur, อักษรยาวี: كوالا لومڤور, ออกเสียงตามภาษามลายูว่า กัวลาลุมปูร์) เป็นเมืองหลวงของประเทศมาเลเซียและเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศด้วย ภายในมาเลเซียเอง กัวลาลัมเปอร์มักจะเรียกย่อ ๆ ว่า KL กัวลาลัมเปอร์เป็นหนึ่งในสามดินแดนสหพันธ์ของมาเลเซีย (Malaysian Federal Territories) ล้อมรอบด้วยรัฐเซอลาโงร์บนชายฝั่งตะวันตกตอนกลางของคาบสมุทรมลายู ฝ่ายบริหารของรัฐบาลมาเลเซียได้ย้ายไปที่เมืองใหม่คือ ปูตราจายา อย่างไรก็ดี พระราชฐานของกษัตริย์ของมาเลเซีย รัฐสภามาเลเซีย และฝ่ายนิติบัญญัติยังคงอยู่ที่กัวลาลัมเปอร.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและกัวลาลัมเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาเล

มาเล (މާލެ) เป็นเมืองหลวงของประเทศมัลดีฟส์ ตั้งอยู่บนเกาะมาเลในหมู่เกาะคาฟุ (Kaafu Atoll) แต่มีการปกครองส่วนท้องถิ่นแยกจากเกาะอื่น ๆ ในหมู่เกาะ มีประชากร 103,693 คน (พ.ศ. 2549) เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของประเทศ มีท่าเรือเชิงพาณิชย์บนเกาะ และมีท่าอากาศยานตั้งอยู่บนเกาะฮุลฮูเล (Hulhule Island) ที่อยู่ใกล้เคียง ซึ่งรวมถึงฐานเครื่องบินทะเลสำหรับการขนส่งภายใน โครงการถมทะเลได้ขยายท่าเรือ มาเลตั้งอยู่ที่ 4°10' เหนือ 73°30' ตะวันออก (4.1667, 73.5).

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและมาเล · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

นักทรัพยาการบุคคล รัฐศักดิ์ ทับพุ่ม กำลังศึกษาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการจัดการฟุตบอลอาชีพ สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย ซึ่งทำหน้าที่กำกับดูแลฟุตบอลในประเทศไทย รวมถึงฟุตบอลทีมชาติไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2459 อันเนื่องมาจากพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเข้าร่วมกับสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2468 และเข้าร่วมกับสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย เมื่อปี พ.ศ. 2500.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ

หพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (Fédération Internationale de Football Association) หรือ ฟีฟ่า (FIFA) เป็นองค์กรที่ดำเนินการในกีฬาฟุตบอลระหว่างประเทศ และเป็นองค์กรกีฬาที่ใหญ่ที่สุดในโลกปัจจุบัน สำนักงานตั้งอยู่ที่เมืองซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาแห่งชาติลาว หลัก 16

สนามกีฬาแห่งชาติลาว หลัก 16 แห่งนี้เป็นสนามกีฬาแห่งใหม่ที่สร้างขึ้นในบริเวณที่เคยเป็นป่ารกร้าง นอกกรุงเวียงจันทน์ โดยสนามแห่งนี้เป็นสนามที่สร้างขึ้นใหม่เพื่อใช้ในการแข่งขันฟุตบอลและกรีฑา และยังใช้เป็นสถานที่จัดพิธีเปิดและพิธีปิดในกีฬาซีเกมส์ 2009 ที่กรุงเวียงจันทน์เป็นเจ้าภาพ สนามกีฬาแห่งนี้ทางการจีนได้ช่วยดำเนินการด้านการเงินและการก่อสร้างทั้งหมด บนพื้นที่ 700 ไร่ สนามกีฬาแห่งชาติลาว หลัก 16 นี้มีความจุทั้งหมด 25,000 ที่นั่ง หมวดหมู่:ประเทศลาว หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในเวียงจันทน์ ar:ملعب لاوس الوطني.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและสนามกีฬาแห่งชาติลาว หลัก 16 · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาโอลิมปิก (พนมเปญ)

นามกีฬาโอลิมปิกแห่งชาติ (ពហុកីឡដ្ឋានជាតិអូឡាំពិក; Phnom Penh Olympic Stadium) ตั้งอยู่ที่กรุงพนมเปญ, ประเทศกัมพูชา มีความจุ 50,000 ที่นั่ง ในปี..

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและสนามกีฬาโอลิมปิก (พนมเปญ) · ดูเพิ่มเติม »

ธากา

กา (ঢাকা; Dhaka เดิมเขียนว่า Dacca) เป็นเมืองหลวงของประเทศบังกลาเทศ มีประชากร 13,900,027 คน (พ.ศ. 2546) ตั้งอยู่บนแม่น้ำบุรีคงคา (Buriganga River) ซึ่งเป็นร่องน้ำที่แยกจากแม่น้ำธเลศวรี (Dhaleshwari River) ในใจกลางของพื้นที่ปลูกปอกระเจาที่ใหญ่ที่สุดในโลก เป็นศูนย์กลางทางอุตสาหกรรม การค้า และการปกครองของบังกลาเทศ เป็นเมืองค้าปอกระเจา ข้าวสาร เมล็ดพืชให้น้ำมัน น้ำตาล และชา อุตสาหกรรมในเมืองรวมถึงสิ่งทอ และผลิตภัณฑ์จากปอกระเจา นอกจากนี้ ธากายังขึ้นชื่อเรื่องงานหัตถกรรมด้วย ธากาทีที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่ 23°42' เหนือ 90°22'30" ตะวันออก (23.7, 90.375).

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและธากา · ดูเพิ่มเติม »

ทิมพู

กรุงทิมพู (ཐིམ་ཕུག) มีชื่อเป็นทางการในภูฏานว่าตาชิโชซอง เป็นเมืองหลวงของภูฏานตั้งแต..

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและทิมพู · ดูเพิ่มเติม »

ดูชานเบ

ูชานเบ (Душанбе) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศทาจิกิสถาน คำว่า ดูชานเบ ในภาษาทาจิก มีความหมายว่า "วันจันทร์" ซึ่งเป็นชื่อที่มาจากข้อเท็จจริงที่เมืองเป็นสถานที่ตั้งของหมู่บ้านที่มีชื่อเสียงเรื่องตลาดวันจันทร.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและดูชานเบ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกาตาร์

กาตาร์ (قطر‎) หรือชื่อทางการคือ รัฐกาตาร์ (دولة قطر) เป็นรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirate) ในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนคาบสมุทรขนาดเล็กที่แตกมาจากคาบสมุทรอาหรับ มีพรมแดนทางใต้ติดกับประเทศซาอุดีอาระเบีย และมีชายฝั่งริมอ่าวเปอร์เซี.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและประเทศกาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและประเทศไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

โจโฮร์บะฮ์รู

ร์บะฮ์รู (Johor Bahru, บ้างสะกดว่า Johor Baharu, Johor Baru, Johore Bahru; อักษรยาวี: جوهر بهرو) มีชื่อเดิมว่า ตันจุงปูเตอรี (Tanjung Puteri) และ อิซกันดาร์ปูเตอรี, Teo Li Meng, 15 August 2010, 东南亚华文资料中心, retrieved 11 December 2012 (Iskandar Puteri) และเป็นที่รู้จักในชื่อย่อว่า เจบี. (JB.) เป็นเมืองหลวงของรัฐยะโฮร์ ทั้งเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ทางใต้สุดของคาบสมุทรมลายูและใต้สุดของแผ่นดินยูเรเชีย โจโฮร์บะฮ์รูมีประชากราว 1.4 ล้านคน และอาจมีมากกว่าสองล้านคนหากนับรวมกับปริมณฑล ถือว่ามากเป็นอันดับสองของประเทศรองจากกัวลาลัมเปอร์ และภูมิภาคหุบเขากลัง ทั้งนี้ประชากรของสิงคโปร์และโจโฮร์บะฮ์รูขยายตัวเพิ่มขึ้นเป็น 7 ล้านคน สืบเนื่องจากการเติบโตของสามเหลี่ยมเศรษฐกิจซีโจรี (SIJORI Growth Triangle) ทั้งนี้โจโฮร์บะฮ์รูเองก็เป็นเมืองสำคัญทางอุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุดทางใต้ของมาเลเซี.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและโจโฮร์บะฮ์รู · ดูเพิ่มเติม »

โดฮา

(Doha; الدوحة) เป็นเมืองหลวงของกาตาร์ ตั้งอยู่ในอ่าวเปอร์เซีย มีประชากรราว 400,051 คน (จากข้อมูลปี 2005) โดฮาเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในกาตาร์ ด้วยประชากรมากกว่า 80% ของประเทศอาศัยอยู่ในโดฮาหรือปริมณฑล และยังเป็นเมืองศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจของประเทศ และยังเป็นที่ตั้งของรัฐบาลของกาตาร์ ที่ปกครองโดยเชคฮามัด บิน คอลีฟะห์ อัลตานี โดฮายังเคยเป็นเมืองเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 2006.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและโดฮา · ดูเพิ่มเติม »

เกาสฺยง

กาสฺยง เกาสฺยง (Kaohsiung) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า นครเกาสฺยง (Kaohsiung City) เป็นหนึ่งในเทศบาลพิเศษหกแห่งในการปกครองสาธารณรัฐจีน ตั้งอยู่ภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศตรงข้ามกับช่องแคบไต้หวัน โดยอาณาเขต 2947.62 ตารางกิโลเมตรแล้วจึงนับเป็นเทศบาลที่มีพื้นที่มากที่สุด และโดยจำนวนประชากรราว 2.77 ล้านคนแล้วจึงถือเป็นเมืองซึ่งผู้คนหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับสอง เมืองนี้ตั้งขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 17 และนับแต่นั้นนก็เจริญเติบใหญ่จากหมู่บ้านย่านค้าขนาดเล็กขึ้นมาเป็นศูนย์กลางการปกครอง เศรษฐกิจ การขนส่ง การประดิดประดอย การก่อเรือ และอุตสาหกรรมทางภาคใต้ตามลำดับ อนึ่ง เมืองนี้ยังใช้ระบบพึ่งพาตนเอง (self-sufficiency) ดังที่เครือข่ายวิจัยโลกาภิวัฒน์และเมืองโลก (Globalization and World Cities Research Network) จัดประเภทไว้เมื่อปี 2010 ท่าอากาศยานนานาชาติเกาสฺยง (Kaohsiung International Airport) รองรับเมืองเกาสฺยงและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับในประเทศ ส่วนท่าเกาสฺยง (Port of Kaohsiung) เป็นท่าเรือขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศ แต่มิใช่ท่าเรืออย่างเป็นทางการของเมืองนี้ ขณะที่ระบบรถไฟฟ้าใต้ดินของเมืองนั้นเรียก การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนเกาสฺยง (Kaohsiung Mass Rapid Transit) และเริ่มให้บริการเมื่อต้นปี 2008 เมืองเกาสฺยงยังเป็นที่ตั้งบัณฑิตยสถานและกองบัญชาการกองทัพเรือสาธารณรัฐจีน ทั้งเคยเป็นเจ้าภาพกีฬาโลก 2009 (2009 World Games) ซึ่งจัดการแข่งขันกีฬาระดับชนิดที่ไม่มีในโอลิมปิกส์ด้ว.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและเกาสฺยง · ดูเพิ่มเติม »

เวียงจันทน์

วียงจันทน์ (ວຽງຈັນ) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลาว อยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ในพิกัด 17°58' เหนือ, 102°36' ตะวันออก (17.9667, 102.6) ประชากรในตัวเมืองมีประมาณ 200,000 คน (ค.ศ. 2005) แต่ประชากรทั้งหมดที่อาศัยในนครหลวงเวียงจันทน์ เชื่อว่ามีอยู่ถึงกว่า 730,000 คน เวียงจันทน์มีชื่อที่ตั้งในรัชสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ว่า กรุงศรีสัตนาคคนหุต วิสุทธิ์รัตนราชธานีบุรีรม.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและเวียงจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนคัพ 2019

อเชียนคัพ 2019 เป็นการแข่งขันฟุตบอลชายชิงแชมป์เอเชีย ครั้งที่ 17 ภายใต้การควบคุมของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย โดยสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ได้รับคัดเลือกให้เป็นเจ้าภาพเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2558 ซึ่งก่อนหน้านั้นเคยเป็นเจ้าภาพมาแล้วใน เอเชียนคัพ 1996 ครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่เอเชียนคัพเพิ่มจำนวนทีมที่เข้าร่วมแข่งขันจาก 16 เป็น 24 ทีม การแข่งขันรอบแบ่งกลุ่ม จะมี 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม ในรอบคัดเลือก เจ้าภาพได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ ส่วนทีมที่เหลือต้องแข่งขันกันไปเรื่อย ๆ จนได้ 23 ทีม โดยเริ่มแข่งตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2558 ไปจนถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2561 ในรอบคัดเลือก 2 รอบแรก จะดำเนินการแข่งร่วมกับฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย ในการแข่งขันเอเชียนคัพครั้งนี้ ออสเตรเลียจะเป็นทีมที่ป้องกันตำแหน่งแชมป์ หลังจากที่ชนะเลิศในเอเชียนคัพ 2015 ที่ประเทศออสเตรเลีย และทีมชนะเลิศเอเชียนคัพ 2019 ครั้งนี้ จะได้เข้าแข่งขันกับทีมชนะเลิศจากทวีปอื่น ๆ ในฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2021.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและเอเชียนคัพ 2019 · ดูเพิ่มเติม »

UTC+03:00

UTC+03:00 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 3 ชั่วโมง ใช้ใน .

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและUTC+03:00 · ดูเพิ่มเติม »

UTC+05:00

UTC+05 2010: สีน้ำเงิน (เดือนธันวาคม), สีส้ม (มิถุนายน), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล UTC+05:00 เป็นเขตเวลาใช้ใน.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและUTC+05:00 · ดูเพิ่มเติม »

UTC+05:30

UTC−05:30 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 5 ชั่วโมง 30 นาที ใช้ใน.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและUTC+05:30 · ดูเพิ่มเติม »

UTC+06:00

UTC+06 - 2010: สีน้ำเงิน (เดือนธันวาคม), สีส้ม (มิถุนายน), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล UTC+06:00 เป็นเขตเวลาใช้ใน.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและUTC+06:00 · ดูเพิ่มเติม »

UTC+07:00

UTC+7:00เป็นเขตเวลาใช้ใน:ประเทศไทย UTC +7 สีน้ำเงิน (เดือนธันวาคม), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีส้ม (มิถุนายน), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและUTC+07:00 · ดูเพิ่มเติม »

UTC+08:00

UTC+8 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 8 ชั่วโมง มีการประเมินว่า ประชากรโลกกว่า 1,708 ล้านคนอาศัยอยู่ในเขตเวลานี้ ซึ่งคิดเป็น 24% ของประชากรโลกทั้งหมด เขตเวลานี้ เป็นเวลามาตรฐานของ;เอเชียเหนือ.

ใหม่!!: เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบเพลย์ออฟและUTC+08:00 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก - รอบเพลย์ออฟ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »