โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เสียงสวรรค์เมื่อวันวาน

ดัชนี เสียงสวรรค์เมื่อวันวาน

รายการเสียงสวรรค์ตะวันฉาย รายการเสียงสวรรค์ตะวันฉาย (ชื่อเดิมคือรายการเสียงสวรรค์เมื่อวันวาน) เป็นรายการเพลงอมตะของวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ หรือบทเพลงในแนว "สุนทราภรณ์" ออกอากาศเป็นประจำทุกวันอาทิตย์ เวลา 23.00 น. - 24.00 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ ซึ่งเป็นความร่วมมือในการผลิตรายการ ระหว่างสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย และสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย บรรเลงโดยวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ ในความควบคุมของ โฉมฉาย อรุณฉาน (นิตยา อรุณวงศ์) ซึ่งรายการนี้ได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ประเภทรายการเพลงดีเด่น ประจำปีพุทธศักราช 2549 เมื่อเดือนมีนาคม 2550.

28 ความสัมพันธ์: ชอุ่ม ปัญจพรรค์ชาลี อินทรวิจิตรพยงค์ มุกดากรมประชาสัมพันธ์มาริษา อมาตยกุลรวงทอง ทองลั่นธมรางวัลโทรทัศน์ทองคำรุ่งฤดี แพ่งผ่องใสวรนุช อารีย์วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์วงดนตรีสุนทราภรณ์ศรวณี โพธิเทศศิลปินแห่งชาติสมศักดิ์ เทพานนท์สริ ยงยุทธสันติ ลุนเผ่สุรัฐ พุกกะเวสสุคนธ์ พรพิรุณสุปาณี พุกสมบุญสุนทราภรณ์สุนทรียา ณ เวียงกาญจน์สุเทพ วงศ์กำแหงสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทยแก้ว อัจฉริยะกุลโฉมฉาย อรุณฉานเวส สุนทรจามรเอื้อ สุนทรสนาน

ชอุ่ม ปัญจพรรค์

อุ่ม ปัญจพรรค์ หรือ ชอุ่ม แย้มงาม (6 ธันวาคม พ.ศ. 2464 - 28 กันยายน พ.ศ. 2556) นักเขียน นักแต่งเพลงชาวไทย ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลนราธิป ประจำปี..

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและชอุ่ม ปัญจพรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาลี อินทรวิจิตร

ลี อินทรวิจิตร เป็นผู้ประพันธ์คำร้อง ผู้กำกับภาพยนตร์ ได้รับยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้ประพันธ์คำร้อง-ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปีพุทธศักราช 2536 มีผลงานประพันธ์คำร้องเพลงที่มีชื่อเสียง ได้แก่ สดุดีมหาราชา, แสนแสบ, ท่าฉลอม, สาวนครชัยศรี, ทุ่งรวงทอง, มนต์รักดอกคำใต้, แม่กลอง, เรือนแพ, จำเลยรัก ฯลฯ เดิมชื่อ สง่า อินทรวิจิตร เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและชาลี อินทรวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

พยงค์ มุกดา

นาวาตรีพยงค์ มุกดาพันธ์ หรือ ครูพยงค์ มุกดา (4 พฤษภาคม พ.ศ. 2469—12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553) นักร้อง นักแสดง นักแต่งเพลง ที่มีชื่อเสียงจากการเป็นนักแต่งเพลงเป็นจำนวนมาก ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและพยงค์ มุกดา · ดูเพิ่มเติม »

กรมประชาสัมพันธ์

กรมประชาสัมพันธ์ เป็นหน่วยงานประชาสัมพันธ์ของรัฐบาลไทย ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เสริมสร้างความเข้าใจ ระหว่างหน่วยงานรัฐกับประชาชน และระหว่างประชาชนกับประชาชนด้วยกัน นอกจากนี้ ยังทำหน้าที่โน้มน้าวชักจูงประชาชน ให้ร่วมมือกับรัฐบาล และหน่วยงานราชการ.

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและกรมประชาสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

มาริษา อมาตยกุล

ตรี มาริษา อมาตยกุล นักร้องวงสุนทราภรณ์ เจ้าของน้ำเสียงกังวาลชัดเจนกับทรงผม "สวอน" ที่ผู้ชมจดจำคุ้นเคยตลอดมากว่า 50 ปี.

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและมาริษา อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

รวงทอง ทองลั่นธม

รวงทอง ทองลั่นธม (บางแห่งเขียนเป็น รวงทอง ทองลั่นทม) (8 พฤษภาคม พ.ศ. 2480 -) นักร้องวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และ วงสุนทราภรณ์ มีชื่อเสียงจากเพลง จำได้ไหม และ ขวัญใจเจ้าทุย รวมทั้งได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและรวงทอง ทองลั่นธม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ รางวัลโทรทัศน์ทองคำ เป็นรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ ซึ่งจัดโดยชมรมส่งเสริมโทรทัศน์ เริ่มครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2529 โดยเป็นรางวัลสำหรับผลงานทางโทรทัศน์ที่มีอายุยาวนานที่สุด และยังมีการมอบรางวัลจวบจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

รุ่งฤดี แพ่งผ่องใส

รุ่งฤดี แพ่งผ่องใส (พ.ศ. 2489-ปัจจุบัน) นักร้องเพลงไทยสากลรางวัลพระราชทานแผ่นเสียงทองคำ จากเพลง "บัวขาว" เมื่อปีพ.ศ. 2522 และเพลง "หลานย่าโม" ในปีพ.ศ. 2522 โดยมีเพลงสร้างชื่ออื่นๆ อาทิเช่น เอาความขมขื่นไปทิ้งแม่โขง หลานย่าโม โจโจ้ซัง เป็นต้น บทเพลงอื่น ที่ได้รับความนิยมได้แก.

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและรุ่งฤดี แพ่งผ่องใส · ดูเพิ่มเติม »

วรนุช อารีย์

วรนุช อารีย์ จากรายการเสียงสวรรค์เมื่อวันวาน วรนุช อารีย์ (เดิมชื่อ นุชวรา อารีย์; 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 - 20 ธันวาคม พ.ศ. 2560) นักร้องหญิงวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์และวงสุนทราภรณ์ (เดิมชื่อ นุชวรา อารีย์) เกิดเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 ที่ธนบุรี เป็นบุตรของ นายนุช และ นางเจริญ อารีย์ มีน้องชาย 1 คน คือ นายนริศ อารีย์ จบการศึกษาเบื้องต้นที่ โรงเรียนวัดจักรวรรดิราชาวาส สมรสเมื่อปี 2514 มีบุตรสาว 1 คน และ มีบุตรบุญธรรม 1 คน.

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและวรนุช อารีย์ · ดูเพิ่มเติม »

วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์

วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ หรือวงดนตรีกรมโฆษณาการ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 โดยเอื้อ สุนทรสนาน, เวส สุนทรจามร และคณะนักดนตรีวงไทยฟิล์ม ของบริษัท ภาพยนตร์ไทยฟิล์ม จำกัด ซึ่งต้องปิดกิจการลง โดยหลวงสุขุมนัยประดิษฐ ชักชวนให้สมาชิกวง ย้ายเข้าไปสังกัดกรมโฆษณาการ และมีหน้าที่บรรเลงเพลงส่งกระจายเสียง ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงกรมโฆษณาการ และงานบันเทิงรื่นเริงและงานเต้นรำ ตามคำขอของหน่วยราชการต่างๆ โดยในช่วงนั้นยังคงบรรเลงเพลงสากลที่นำโน้ต และเนื้อเพลงมาจากวงไทยฟิล์ม และเพลงไทยสากลที่มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์ ในระยะแรก นักดนตรีกรมโฆษณาการ จึงเป็นชุดเดียวกับนักดนตรีจากวงไทยฟิล์ม ซึ่งล้วนแต่เป็นข้าราชการสังกัดกรมศิลปากร โดยมีเอื้อ สุนทรสนาน เป็นหัวหน้าวง และคณะซึ่งประกอบด้วย สังเวียน แก้วทิพย์, สมบูรณ์ ดวงสวัสดิ์, เวส สุนทรจามร, ภิญโญ สุนทรวาท, สริ ยงยุทธ, คีติ คีตากร, สภา กล่อมอาภา, สมบูรณ์ ศิริภาค, ทองอยู่ ปิยะสกุล และสมพงษ์ ทิพยกะลิน ส่วนจำปา เล้มสำราญ มาจากกองดุริยางค์ทหารบก ส่วนนักร้องของวงในยุคถัดมาได้แก่ รุจี อุทัยกร, มัณฑนา โมรากุล, ล้วน ควันธรรม, สุภาพ รัศมีทัต จนในปี..

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

วงดนตรีสุนทราภรณ์

ตราสัญลักประจำวงดนตรีสุนทราภรณ์ วงดนตรีสุนทราภรณ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 โดยมีศิลปินยุคต้นๆ ดังนี้คือ เอื้อ สุนทรสนาน, มัณฑนา โมรากุล, เลิศ ประสมทรัพย์, สุภาพ รัศมิทัต, สุปาณี พุกสมบุญ, จันทนา โอบายวาทย์, จุรี โอศิริ, วินัย จุลละบุษปะ, เพ็ญศรี พุ่มชูศรี, ชวลี ช่วงวิทย์, พูลศรี เจริญพงษ์, วรนุช อารีย์, ศรีสุดา รัชตะวรรณ, สมศักดิ์ เทพานนท์, รวงทอง ทองลั่นธม, หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์, อ้อย อัจฉรา, มาริษา อมาตยกุล, บุษยา รังสี เป็นต้น การรวมกลุ่มของนักดนตรีวงสุนทราภรณ์ เกิดขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2479 โดยเอื้อ สุนทรสนานกับเพื่อนๆ ร่วมกันตั้งวงดนตรีไทยฟิล์ม ของบริษัท ภาพยนตร์ไทยฟิล์ม จำกัด โดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล เมื่อบริษัทเลิกกิจการในปี..

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและวงดนตรีสุนทราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรวณี โพธิเทศ

รนิตย์ โพธิเทศ เป็นที่รู้จักในนาม ศรวณี โพธิเทศ (5 สิงหาคม พ.ศ. 2486) ชื่อเล่น นิตย์ เป็นนักร้องลูกกรุงหญิงชาวไทย โดยเป็นนักร้องลูกกรุงหญิงเพียงหนึ่งเดียวที่ได้รับรางวัลเสาอากาศทองคำพระราชทาน 3 ปีซ้อน จากเพลง "น้ำตาหรือจะแก้ปัญหาใจ" (2519), "ตะแลงแกงแทงใจ" (2520) และ "พะวงรัก" (2521) ตามลำดับ และรางวัลอารีรัง (นักร้องยอดเยี่ยม) จากประเทศเกาหลีใต้.

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและศรวณี โพธิเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ. 2528) ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและศิลปินแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เทพานนท์

มศักดิ์ เทพานนท์ (5 มีนาคม พ.ศ. 2467 - 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2537) นักดนตรี และนักประพันธ์คำร้องหลากหลายแนวให้กับ วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และ วงสุนทราภรณ.

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและสมศักดิ์ เทพานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สริ ยงยุทธ

ริ ยงยุทธ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 6 เมษายน พ.ศ. 2548) เป็นนักดนตรีที่มีชื่อเสียงในการเล่นเปียโนให้แก่วงดนตรีกรมโฆษณาการ หรือ วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ หรือ วงดนตรีสุนทราภรณ์ในระยะต่อมา เป็นผู้แต่งทำนองเพลงไว้หลายเพลง เช่น รักเอาบุญ หากภาพเธอมีวิญญาณ ชั่วคืนเดียว ดาวเจ้าชู้ รักฉันตรงไหน อุบลรัตน์ เงาแห่งความหลัง วิมานทล.

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและสริ ยงยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ ลุนเผ่

รือตรีไพศาล ลุนเผ่ หรือชื่อในวงการว่า สันติ ลุนเผ่ (22 มิถุนายน 2479 —) เป็นข้าราชการทหารชาวไทย และศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) ประจำปี..

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและสันติ ลุนเผ่ · ดูเพิ่มเติม »

สุรัฐ พุกกะเวส

รัฐ พุกกะเวส หรือ สุรัสน์ พุกกะเวส (11 กันยายน พ.ศ. 2467 - (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536) เป็นนักประพันธ์คำร้องเพลงไทยที่มีชื่อเสียง มีผลงานเพลงมากมาย เช่น เพลงบุพเพสันนิวาส, อุษาสวาท, ปทุมไฉไล, และที่สำคัญคือ เพลงสดุดีมหาราชา สุรัฐ พุกกะเวส มีนามเดิมว่า "สุรัสน์" เกิดเมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2467 ที่จังหวัดสมุทรปราการ เป็นบุตรคนโต ของนายประสงค์ และ นางสาลี่ พุกกะเวส เป็นหลานปู่ของ พระวิภาชน์วิทยาสิทธิ์ (สังข์ พุกกะเวส)ผู้ขอพระราชทานนามสกุล "พุกกะเวส" จากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สุรัฐ พุกกะเวส มีน้อง ดังรายนาม ดังนี้.

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและสุรัฐ พุกกะเวส · ดูเพิ่มเติม »

สุคนธ์ พรพิรุณ

นธ์ พรพิรุณ (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 -) นักแต่งเพลง ที่เป็นที่รู้จักในนาม พรพิรุณ มีผลงานประพันธ์คำร้องให้เพลงสำคัญ เช่น เพลง “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม” เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ เมื่อ..

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและสุคนธ์ พรพิรุณ · ดูเพิ่มเติม »

สุปาณี พุกสมบุญ

ปาณี พุกสมบุญ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2467 -) นักร้องยุคต้นของวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และ วงดนตรีสุนทราภรณ์ เจ้าของฉายา "เสียงมีดกรีดสังกะสี" ด้วยเสียงที่เล็กและแหลมมากจนเป็นเอกลักษณ์ และเป็นนักร้องต้นฉบับเพลงมองอะไร บ้านใกล้เรือนเคียง(บ้านเรือนเคียงกัน)ที่มีชื่อเสียงมากจนกระทั่งถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและสุปาณี พุกสมบุญ · ดูเพิ่มเติม »

สุนทราภรณ์

นทราภรณ์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและสุนทราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุนทรียา ณ เวียงกาญจน์

กียรติพงศ์ กาญจนภี (22 กันยายน พ.ศ. 2469 - 30 กันยายน พ.ศ. 2557) เป็นชื่อจริงของ สุนทรียา ณ เวียงกาญจน์ ผู้ประพันธ์คำร้องเพลงไทยสากลที่มีชื่อเสียง ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล - ผู้ประพันธ์)..

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและสุนทรียา ณ เวียงกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุเทพ วงศ์กำแหง

รืออากาศตรีสุเทพ วงศ์กำแหง เกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 ที่จังหวัดนครราชสีมา ท่านได้รับการศึกษาตั้งแต่เบื้องต้นจนจบชั้นมัธยมปีที่ 6 ที่จังหวัดบ้านเกิด ความมีแววของการเป็นนักร้องเริ่มมีขึ้นตั้งแต่สมัยที่เป็นนักเรียน โดยมักจะได้รับมอบหมายให้เป็นต้นเสียงร้องเพลงชาติที่โรงเรียนเสมอ ๆ ครั้นเรียนจบชั้นมัธยมปีที่ 6 แล้ว คุณสุเทพก็ได้ย้ายเข้ามาอาศัยอยู่กับญาติที่กรุงเทพมหานคร และด้วยนิสัยรักการวาดเขียนและงานศิลปะเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ท่านจึงได้สมัครเข้าเรียนต่อที่โรงเรียนเพาะช่าง ซึ่งระหว่างที่เรียนอยู่นั้นนอกจากท่านจะแสดงฝีมืออย่างโดดเด่นในทางศิลปะแล้ว ท่านยังเป็นนักร้องเสียงดีประจำห้องเรียนอีกด้วย ในยามว่างท่านมักจะฝึกซ้อมร้องเพลงเสมอตามแบบอย่างของนักร้องที่ท่านชื่นชอบ เช่น วินัย จุลละบุษปะ สถาพร มุกดาประกร ปรีชา บุณยเกียรติ ฯลฯ คุณสุเทพได้มีโอกาสรู้จักและคุ้นเคยกับครูไศล ไกรเลิศ นักแต่งเพลงผู้มีชื่อเสียงเนื่องจากบ้านอยู่ใกล้กัน เมื่อครูไศลมองเห็นแววความสามารถของคุณสุเทพก็คิดจะช่วยสนับสนุนส่งเสริมจึงชักชวนให้มาช่วยงาน เช่น ช่วยเขียนโน้ตเพลง เขียนตัวหนังสือ ตลอดจนติดตามไปช่วยงานในธุรกิจบันเทิงต่าง ๆ เสมอ ทำให้คุณสุเทพเริ่มคุ้นเคยกับบุคคลในวงการเพลงมากหน้าหลายตา ทั้งยังได้รับโอกาสให้ร้องเพลงสลับฉากละคร ร้องเพลงตามงานบันเทิงต่าง ๆ รวมไปถึงการทดลองเสียงแทนนักร้องตัวจริงก่อนที่จะทำการอัดเสียงเสมอ จากการที่ร้องเพลงได้อย่างดีเด่น ทำให้คุณสุเทพได้ร้องเพลงบ่อยขึ้นเรื่อย ๆ จนได้รับคัดเลือกให้ร้องเพลงบันทึกแผ่นเสียงของตนเองบ้าง ต่อมาท่านได้รับการสนับสนุนจาก พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่ชื่นชอบการร้องเพลงของท่านโดยช่วยส่งเสริมท่านในทางต่าง ๆ ครั้นคุณสุเทพมีอายุครบกำหนดกฎเกณฑ์ทหาร พลอากาศเอกทวีจึงได้ชักชวนให้ท่านเข้ารับราชการในกองทัพอากาศ โดยได้ประจำอยู่ที่วงดุริยางค์ทหารอากาศ ซึ่งมี ครู ปรีชา เมตไตรย์ เป็นผู้ควบคุมวง ระหว่างนั้น คุณสุเทพได้บันทึกแผ่นเสียงมากขึ้นอีก และสถานีวิทยุต่าง ๆ ก็ได้นำเพลงที่ท่านร้องบันทึกแผ่นเสียงนี้ไปเปิดจนเป็นที่รู้จักแพร่หลายอย่างรวดเร็ว ภายหลังจากออกจากกองทัพอากาศแล้ว คุณสุเทพก็ได้ร้องเพลงเป็นอาชีพหลักอย่างเต็มตัว ท่านได้เข้าร่วมกับคณะชื่นชุมนุมศิลปิน และได้มีโอกาสร้องเพลงทั้งในรายการวิทยุและโทรทัศน์อยู่เนือง ๆ ทำให้ชื่อเสียงของท่านเริ่มเพิ่มขึ้น งานต่าง ๆ จึงหลั่งไหลเข้ามาไม่ขาดสาย และยิ่งในช่วงนั้น วงการภาพยนตร์ไทยกำลังเฟื่องฟู ท่านจึงได้งานร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ไทยเป็นจำนวนมาก รวมทั้งได้ร่วมแสดงภาพยนตร์บางเรื่องด้วย ท่านได้มีโอกาสร้องเพลงคู่กับนักร้องรุ่นพี่ท่านหนึ่งคือ คุณสวลี ผกาพันธุ์ อยู่เสมอ ในเวลานั้น คุณสวลีเป็นนักร้องยอดนิยมแห่งยุคที่มีแฟนเพลงชื่นชอบมากมาย ดังนั้นเมื่อใครซื้อแผ่นเสียงของคุณสวลีไป ก็มักจะมีเสียงคุณสุเทพติดไปด้วย ชื่อเสียงของคุณสุเทพจึงโด่งดังขึ้นเป็นอย่างมาก ดังนั้น คุณสุเทพจึงถือว่าความสำเร็จในเบื้องต้นส่วนหนึ่งของท่านนั้น ได้รับอานิสงส์มาจากการที่ได้ร้องเพลงคู่กับคุณสวลี ผกาพันธุ์ด้วย จุดเด่นของคุณสุเทพก็คือการที่ท่านมีน้ำเสียงที่ดีเป็นเลิศ มีลีลาในการร้องเพลงที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวนุ่มนวลชวนฟัง อีกทั้งอารมณ์ที่แสดงออกมาทางน้ำเสียงและสีหน้านั้นก็สามารถสะกดใจผู้ฟังให้คล้อยตามและเข้าถึงอารมณ์ของเพลงนั้นได้อย่างพิเศษ ประกอบกับการที่ท่านเป็นผู้ที่เอาใจใส่อย่างจริงจังในการทำงาน ทำให้ท่านเป็นนักร้องที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงภายในระยะเวลารวดเร็ว จนได้รับฉายาจาก รงค์ วงษ์สวรรค์ว่า "นักร้องเสียงขยี้แพรบนฟองเบียร์" มีผลงานดีเด่นเป็นเวลาต่อเนื่องมานานกว่า 40 ปี ในช่วงก่อนปีพุทธศักราช 2500 คุณสุเทพได้ร่วมเดินทางไปฮ่องกง และสาธารณรัฐประชาชนจีนกับศิลปินแขนงต่าง ๆ กลุ่มใหญ่ จากนั้น ท่านก็ได้เดินทางต่อไปยังประเทศญี่ปุ่นเพื่อศึกษาทางด้านการวาดรูปที่ท่านเคยรักมาก่อนในอดีต ระหว่างนั้นท่านก็ได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดีจากแฟนเพลงคนไทยที่นั่น ท่านได้เรียนวาดรูปตามความประสงค์และร้องเพลงขับกล่อมคนไทยที่ไปพำนักยังแดนอาทิตย์อุทัยประมาณ 3 ปี จึงได้เดินทางกลับประเทศไทย งานร้องเพลงของ สุเทพ วงศ์กำแหง สามารถแบ่งออก 3 ช่วง ตามช่วงเวลาดังนี้.

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและสุเทพ วงศ์กำแหง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย

ตราสัญลักษณ์เดิมของ สวท. ใช้ครั้งสุดท้ายในปี 2548 สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ (ชื่อย่อ: สวท.) เป็นหน่วยงานสถานีวิทยุกระจายเสียงของรัฐบาล มีสถานะเป็นสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งชาติของประเทศไทย สังกัดกรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล.

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย

นีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: เอ็นบีที; อังกฤษ: The National Broadcasting Services of Thailand) เป็นหน่วยงานสถานีวิทยุโทรทัศน์ของรัฐบาล มีสถานะเป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติของประเทศไทย สังกัดกรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (ปัจจุบันคือ กอบศักดิ์ ภูตระกูล) และปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (ปัจจุบันคือ นางพัชราภรณ์ อินทรียงค์) เป็นผู้กำกับดูแล โดยมีการเปลี่ยนชื่อ พร้อมปรับปรุงระบบการบริหารงาน และรูปแบบของสถานีฯ เพื่อให้สมเจตนารมณ์ของการก่อตั้งสถานีฯ ตั้งแต่วันอังคารที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2551 เวลา 06.00 น. เป็นต้นไปในวันที่ใช้ชื่อเอ็นบีที และได้เปลี่ยนอัตลักษณ์ใหม่ของสถานีฯ ที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

แก้ว อัจฉริยะกุล

แก้ว อัจฉริยะกุล หรือ ครูแก้ว หรือ แก้วฟ้า (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2458 — 8 ตุลาคม พ.ศ. 2524) เป็นผู้จัดละครเวที เขียนบทละครวิทยุ บทละครโทรทัศน์ เจ้าของคณะละครวิทยุ และเป็นผู้ประพันธ์คำร้องเพลงอมตะจำนวนมากที่ยังถูกนำมาร้องจนถึงปัจจุบัน อาทิ รำวงวันลอยกระทง, รำวงเริงสงกรานต.

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและแก้ว อัจฉริยะกุล · ดูเพิ่มเติม »

โฉมฉาย อรุณฉาน

ฉมฉาย อรุณฉาน มีชื่อจริงว่า นิตยา อรุณวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 ที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาที่ โรงเรียนสารสาส์นพิทยา จากนั้นได้เข้าศึกษาที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม โดยสำเร็จการศึกษาเมื่อ พ.ศ. 2542 และศึกษาต่อระดับปริญญาโทที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชามานุษยดุริยางค์) โดยสำเร็จการศึกษาเมื่อ พ.ศ. 2547 จบสาขา ดุริยางคศิลป์ ระดับ ปริญญาเอก (ปร.ด.) โดยสำเร็จการศึกษาเมื่อ..

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและโฉมฉาย อรุณฉาน · ดูเพิ่มเติม »

เวส สุนทรจามร

วส สุนทรจามร หรือ ครูเวส นักประพันธ์เพลงที่มีผลงานแต่งทำนองให้กับวงสุนทราภรณ์ ร่วมกับครูแก้ว อัจฉริยะกุล ครูสุรัฐ พุกกะเวส เป็นจำนวนมาก เป็นครูเพลงที่มีลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงในวงการหลายคน เช่น วินัย จุลละบุษปะ, เพ็ญศรี พุ่มชูศรี และ ธนิต ผลประเสริฐ เป็นต้น.

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและเวส สุนทรจามร · ดูเพิ่มเติม »

เอื้อ สุนทรสนาน

อื้อ สุนทรสนาน หรือเรียกกันว่า "ครูเอื้อ" (21 มกราคม พ.ศ. 2453 - 1 เมษายน พ.ศ. 2524) เป็นทั้งนักร้อง นักประพันธ์เพลงและหัวหน้าวงดนตรีสุนทราภรณ์ นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกวงการเพลงไทยสากล โดยริเริ่มก่อตั้ง สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ทั้งมีผลงานมากมายจนนับไม่ถ้วนเป็นที่คุ้นเคยของผู้ฟังมากว่าครึ่งศตวรรษ เช่น เพลงเทศกาล/ประจำจังหวัด/สถาบันการศึกษา/สดุดี/ปลุกใจ ซึ่งคาดว่ามีมากกว่า 2,000 เพลง เช่น รำวงลอยกระทง,รำวงเริงสงกรานต์,นางฟ้าจำแลง ฯลฯ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ในปี..

ใหม่!!: เสียงสวรรค์เมื่อวันวานและเอื้อ สุนทรสนาน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Seangsawan

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »