โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เทคโน

ดัชนี เทคโน

ทคโน (techno) เป็นรูปแบบของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ที่เกิดขึ้นในดีทรอยต์ รัฐมิชิแกน ในสหรัฐอเมริกา ในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษ 1980 คำว่า techno ได้ถูกจัดเป็นแนวดนตรีครั้งแรกในปี 1988Brewster 2006:354Reynolds 1999:71.

27 ความสัมพันธ์: ชิคาโกเฮาส์ฟังก์รัฐมิชิแกนสหรัฐอิเล็กโทรฮาร์ดคอร์จอร์โจ มอโรเดร์ดรัมแมชชีนดิจิทัลออดิโอเวิร์กสเตชันดีทรอยต์ดีทรอยต์เทคโนดนตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์บอดีดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ครัฟท์แวร์คคีย์บอร์ดซินท์ป็อปซีเควนเซอร์แอซิดเฮาส์แทรนซ์แซมเพลอร์ไฮเอนเนอร์จีเยลโลแมจิกออร์เคสตราเฮาส์ (แนวดนตรี)เครื่องสังเคราะห์เสียงเครื่องหมายประจำจังหวะ

ชิคาโกเฮาส์

กเฮาส์ (Chicago house) เป็นแนวดนตรีเฮาส์ในลักษณะคลับ/แดนซ์ กำเกิดขึ้นที่ ไนท์คลับ ที่มีชื่อ Warehouse ในเมืองชิคาโกในช่วงทศวรรษ 1980 แฟรงกี นักเคิลส์ เป็นโปรดิวเซอร์เพลง และ มือรีมิกซ์ ได้พัฒนาดนตรีเฮาส์ตลอดทศวรรษ 1980 เบสซินธิไซเซอร์ The Roland TB-303.

ใหม่!!: เทคโนและชิคาโกเฮาส์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟังก์

ฟังก์ (Funk) เป็นแนวเพลงชนิดหนึ่งเกิดขึ้นในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษที่ 1960 เมื่อนักดนตรีชาวแอฟริกัน-อเมริกัน ได้รวมเพลงแนวโซล เข้ากับโซลแจ๊ส และอาร์แอนด์บี ให้มีจังหวะ สามารถเต้นรำได้ เกิดแนวเพลงชนิดใหม่ ฟังก์ได้ลดความเด่นของเมโลดี้และความกลมกลืนลง และนำจังหวะสนุกสนานเพิ่มขึ้นด้วยเบสอิเล็กทรอนิกและกลองให้ชัดขึ้น ไม่เหมือนกับเพลงอาร์แอนด์บีหรือโซล ที่มีการเปลี่ยนคอร์ดหลายครั้ง เพลงฟังก์มักจะมีคอร์ดเดียว ฟังก์ประกอบด้วยจังหวะของเครื่องดนตรีอย่าง กีตาร์ไฟฟ้า เบสไฟฟ้า แฮมมอนด์ออร์แกน และกลอง เล่นในจังหวะที่เกาะเกี่ยวกัน วงฟังก์มักจะมีเครื่องเป่าอยู่ด้วย อย่าง แซกโซโฟน ทรัมเป็ต หรือในบางครั้งก็มี ทรอมโบน ผู้มีอิทธิพลต่อดนตรีฟังก์ เช่น เจมส์ บราวน์,สลาย แอนด์ เดอะ แฟมิลี สโตน, จอร์จ คลินตัน แอนด์ พาร์ไลเมน-ฟังก์คาเดลิก,เคอร์ติส เมฟิลด์, เดอะ เมเตอร์ส,เดอะ ฟังก์ บราเตอร์ส, บูทซี คอลลินส์ และ พรินซ์ วงดนตรีที่เป็นที่รู้จักในทศวรรษที่ 1970 อย่าง เอิร์ธ, วินด์แอนด์ไฟร์,ทาวเวอร์ ออฟ พาวเวอร์, คอมโมดอร์ส และคูลแอนด์เดอะแก๊ง ที่โด่งดังหลายๆ วง ก็เล่นเพลงในแนวดิสโก้และโซลด้วย ดนตรีฟังก์ได้มีการพัฒนาอย่างมากในช่วงทศวรรษที่ 1970 ในช่วงที่ดนตรีดิสโก้โด่งดัง มีความนิยมในการใช้ท่อมแซมเปิ้ลของดนตรีฟังก์ในดนตรีฮิปฮอป และฟังก์ยังมีอิทธิพลต่อแนวดนตรี โก-โก ฟังก์อย่างมีอิทธิพลต่อเพลงแนวนิวเวฟและโพสต์พังก์บ้าง.

ใหม่!!: เทคโนและฟังก์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมิชิแกน

มืองดีทรอยต์ รัฐมิชิแกน มิชิแกน (Michigan) เป็นรัฐตั้งอยู่บริเวณส่วนเหนือของสหรัฐอเมริกา โดยชื่อของรัฐมาจาก ชื่อทะเลสาบมิชิแกน ซึ่งตั้งโดยชาวอินเดียนแดงเผ่าชิปเปวา จากคำว่า มิชิ-กามิ ซึ่งหมายถึง น้ำอันกว้างใหญ่ รัฐมิชิแกนห้อมล้อมด้วยทะเลสาบขนาดใหญ่ 4 ทะเลสาบในด้านเหนือ ด้านตะวันตกและด้านตะวันออก ทำให้รัฐมิชิแกนมีชายฝั่งทะเลน้ำจืดที่ยาวที่สุดอันดับสองในประเทศรองจากรัฐอะแลสกา ทำให้มิชิแกนมีกิจกรรมนันทนาการทางน้ำมากที่สุดอันดับต้นของประเทศ รัฐมิชิแกนเป็นรัฐเดียวในสหรัฐอเมริกาที่มีพื้นที่แยกออกจากกันเป็นสองฝั่ง โดยจุดเชื่อมระหว่างสองที่อยู่บริเวณ แมกคีนอก์ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งของมิชิแกน รัฐมิชิแกนมีเมืองที่สำคัญคือ ดีทรอยต์ ฟลินต์ วอลเลน แกรนด์แรพิดส์ แมกคินอก์ แลนซิง และ แอนอาร์เบอร์ มหาวิทยาลัยที่สำคัญได้แก่ มหาวิทยาลัยมิชิแกน และมหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต ทีมกีฬาที่สำคัญที่มีชื่อเสียงคือ ดีทรอยต์ ไลออนส์ ในปี 2551 มิชิแกนมีประชากร 10,071,822 คน.

ใหม่!!: เทคโนและรัฐมิชิแกน · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: เทคโนและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

อิเล็กโทร

อิเล็กโทร (Electro) ชื่อเรียกอื่น อิเล็กโทรฟังก์ (electro-funk) หรือ อิเล็กโทรบูกี (electro-boogie).

ใหม่!!: เทคโนและอิเล็กโทร · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์ดคอร์

ร์ดคอร์ (hardcore) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เทคโนและฮาร์ดคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์โจ มอโรเดร์

วานนี จอร์โจ มอโรเดร์ (Giovanni Giorgio Moroder) เกิดวันที่ 26 เมษายน..

ใหม่!!: เทคโนและจอร์โจ มอโรเดร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดรัมแมชชีน

รัมแมชชีน Yamaha RY30 ดรัมแมชชีน (Drum machine) เป็นเครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ที่จำรองเสียงกลอง ฉาบ เครื่องเคาะจังหวะอื่นๆ และเบสไลน์ ดรัมแมชชีนมักมีความเกี่ยวข้องกับดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ดนตรีเฮาส์ แต่ยังรวมถึงแนวเพลงอื่นๆ อีกมากมาย ยังถูกใช้แทนมือกลองที่ไม่ว่างหรือการลดค่าใช้จ่ายในการจ้างมือกลองที่มีค่าจ้างแพง นอกจากนี้ดรัมแมชชีนในปัจจุบันมีเสียงหลายรูปแบบที่ไม่ซ้ำกัน และช่วยให้ผู้ใช้แต่งจังหวะและการเขียนที่ไม่ซ้ำกันด้วย ที่ใช้งานไม่ยากและง่ายเหมือนคนตีกลองของจริง ในปัจจุบันดรัมแมชชีนยังเป็นซีเควนเซอร์ในรูปแบบแซมเพิล (rompler) หรือ ซินธิไซเซอร์ที่สังเคราะห์เสียงกลองจากกลอง.

ใหม่!!: เทคโนและดรัมแมชชีน · ดูเพิ่มเติม »

ดิจิทัลออดิโอเวิร์กสเตชัน

การผลิตเพลงใช้ดิจิทัลออดิโอเวิร์กสเตชัน ดิจิทัลออดิโอเวิร์กสเตชัน (digital audio workstation หรือ DAW) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้สำหรับการบันทึกเสียง แก้ไขและการผลิตไฟล์เสียงเช่นเพลง ชิ้นงานเพลง การพูดหรือเสียงประกอบ ดิจิทัลออดิโอเวิร์กสเตชันกลายมาเป็นความหลากหลายโครงแบบในโปรแกรมซอฟต์แวร์เดียวบนแล็ปท็อปที่รวบรวมอยู่ในระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยวในการรวมส่วนประกอบต่างๆที่มีความซับซ้อนอย่างมากในการควบคุมโดยมีคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลาง ดิจิทัลออดิโอเวิร์กสเตชันในยุคปัจจุบันมีอินเตอร์เฟซเป็นศูนย์กลางที่ช่วยให้ผู้ใช้ดัดแปลงและทำการบันทึกหลายเสียงหรือแทร็ก ผลิตจนออกมาเป็นชิ้นเพลงในที่สุด DAW ยังถูกนำมาใช้สำหรับการผลิตและบันทึกเสียงดนตรี วิทยุ โทรทัศน์ พอดแคสต์ มัลติมีเดีย และการมิกซ์เสียงที่ซับซ้อน หมวดหมู่:อภิธานศัพท์คอมพิวเตอร์ หมวดหมู่:เสียงดิจิทัล หมวดหมู่:เทคโนโลยีการผลิตงานเสียง.

ใหม่!!: เทคโนและดิจิทัลออดิโอเวิร์กสเตชัน · ดูเพิ่มเติม »

ดีทรอยต์

ีทรอยต์ (Detroit) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐมิชิแกน ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองท่าชั้นนำบริเวณแม่น้ำดีทรอยต์ ในภูมิภาคตะวันออกกลางของประเทศ และเป็นเมืองขนาดใหญ่เมืองเดียวของอเมริกาที่อยู่ทิศเหนือกว่าเมืองแคนาดา คือเมืองวินด์เซอร์ (รัฐออนแทริโอ) ดีทรอยต์ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: เทคโนและดีทรอยต์ · ดูเพิ่มเติม »

ดีทรอยต์เทคโน

ีทรอยต์ เทคโน (Detroit techno) เป็นแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ ช่วงยุค 80' ใน เมืองดีทรอยต์ ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยในเนื้อเพลงจะใช้ แอนะล็อกซินธิไซเซอร์ เป็นหลัก.

ใหม่!!: เทคโนและดีทรอยต์เทคโน · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์

นตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์ ในบางครั้งเีรียกว่า ไอดีเอ็ม (IDM) หริอ เบรนแดนซ์ (Braindance) เป็นคำที่อธิบายแนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นในช่วงต้นทศวรรษ 1990 แต่เดิมแนวเพลงได้รับอิทธิพลจากการพัฒนาในดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ เช่น ดีทรอยต์เทคโน และเบรกบีตหลากหลายรูปแบบที่เกิดขึ้นใหม่ในสหราชอาณาจักรในช่วงเวลานั้น"The electronic listening music of the Nineties is a prime example of an art form derived from and stimulated by countless influences.

ใหม่!!: เทคโนและดนตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์

นตรีอิเล็กทรอนิกส์ (electronic music) เป็นดนตรีที่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ในการผลิตขึ้นมา โดยทั่วไปแล้วความโดดเด่นของดนตรีสามารถเกิดขึ้นโดยใช้เครื่องดนตรีไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีเครื่องไฟฟ้า"The stuff of electronic music is electrically produced or modified sounds.

ใหม่!!: เทคโนและดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์บอดี

นตรีอิเล็กทรอนิกส์บอดี (Electronic body music) เรียกย่อ ๆ ว่า EBM หรือ อินดัสเทรียลแดนซ์ (Industrial dance) เป็นแนวเพลงที่รวมองค์ประกอบของดนตรีอินดัสเทรียล.

ใหม่!!: เทคโนและดนตรีอิเล็กทรอนิกส์บอดี · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์

fix-attempted.

ใหม่!!: เทคโนและดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ครัฟท์แวร์ค

รัฟท์แวร์ค (Kraftwerk) เป็นวงดนตรีอิเล็กทรอนิกส์วงแรก ๆ จากเมืองดึสเซลดอร์ฟ ประเทศเยอรมนี ก่อตั้งในปี 1970 โดยรัลฟ์ ฮึทเทอร์ และฟลอเรียน ชไนเดอร์ ครัฟท์แวร์คถือเป็นวงสำคัญวงหนึ่งที่สร้างสรรค์เพลงแนวอิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่งที่พัฒนาขึ้นในเยอรมนี วงอยู่สังกัดอีเอ็มไอ คราฟต์แวร์คถือเป็นวงอิเล็กทรอนิกส์วงแรกที่ได้ทำสัญญากับค่ายใหญ่ ถึงแม้ว่าวงจะไม่ประสบความสำเร็จด้านการตลาด จนกระทั่งวงดนตรี วงรุ่นอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ สร้างกระแสแนวอิเล็กทรอนิกส์ให้เกิดขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 และได้รับการสืบทอดมาจากแนวดนตรีของครัฟท์แวร์ค ต่อมา มีการพัฒนาไปสู่แนวดนตรีใหม่ ๆ อย่างเทคโน, อิเล็กโทร, อิเล็กโทรป็อป โดยเพลงดังของเขาได้ถูกนำมาทำใหม่บ่อยที่สุด และหลายเวอร์ชันคือเพลง das Model เช่นโดย Rammstein เป็นต้น.

ใหม่!!: เทคโนและครัฟท์แวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

คีย์บอร์ด

ีย์บอร์ด (keyboard) เป็นของหมักดอง มีรสและกลิ่นเปรี้ยว เนื่องจากถูกหมักบ่ม และ เก็บมานานภายใต้สภาพอากาศปิด ยิ่งนานยิ่งมีกลิ่นที่เปรี้ยวรุนแรง อาจรวมถึง Mouse ด้วย เช่นกัน; ในการพิม.

ใหม่!!: เทคโนและคีย์บอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ซินท์ป็อป

ซินท์ป็อป หรือบางครั้งเรียกว่า เทคโนป็อป (techno-pop).

ใหม่!!: เทคโนและซินท์ป็อป · ดูเพิ่มเติม »

ซีเควนเซอร์

ซีเควนเซอร์ หรือ การจัดลำดับดนตรี (music sequencer หรือ sequencer) เป็นอุปกรณ์หรือโปรแกรมเขียนเพลงที่สามารถจัดลำดับโน๊ตเพลงขึ้นมาเองได้ ผ่านในการบันทึกหลายรูปแบบ เช่น CV/gate, MIDI หรือ โอเพนซาวด์คอนโทรล (OSC) บางครั้งสามารถใช้ระบบข้อมูลอัตโนมัติผ่าน DAW หรือปลั๊กอินอื่น.

ใหม่!!: เทคโนและซีเควนเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอซิดเฮาส์

แอซิดเฮาส์ (Acid house) เป็นแนวเพลงย่อยของดนตรีเฮาส์ที่เน้นจังหวะซ้ำแบบถูกสะกดจิต เหมือนกับดนตรีแทรนซ์ที่มักจะมีแซมเพิล หรือมีสายเสียงพูดแทนศิลปิน มีแกนเสียงดังผลัวะแบบอิเล็กทรอนิกส์ของแอซิดเฮาส์ และได้รับการพัฒนาในประมาณกลางยุค 1980 โดยเฉพาะอย่างยิ่งดีเจจากชิคาโก ผู้ทดลองกับ Roland TB-303 (เป็นเครื่องสังเคราะห์เสียง-ซีเควนเซอร์ อิเล็กทรอนิกส์) แอซิดเฮาส์ได้แพร่กระจายไปยังสหราชอาณาจักร และทวีปยุโรป ที่ถูกเล่นโดยดีเจในดนตรีแอซิดเฮาส์และต่อมาเป็นงานสังสรรค์เรฟ โดยในปลายทศวรรษ 1980 มีเพลงที่เลียนแบบ และแอซิดเฮาส์รีมิกซ์ที่นำแนวเพลงไปสู่กระแสหลัก ที่ยังมีบางอย่างที่ได้รับอิทธิพลจาก แนวป็อป และแดนซ์ ชื่อเล่น "เดอะซาวด์ออฟแอซิด" (the sound of acid) มีอิทธิพลต่อเพลงแดนซ์ของแอซิดเฮาส์ที่มีแก่นแท้เมื่อได้ถูกพิจารณาจากจำนวนที่แท้จริงของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ แทร็กที่อ้างอิงถึงแอซิดเฮาส์ที่ได้ผ่านการใช้เสียง รวมทั้ง แทรนซ์ กัวแทรนซ์ ไซเคเดลิกแทรนซ์ เบรกบีต บิ๊กบีต เทคโน ทริปฮอป และดนตรี.

ใหม่!!: เทคโนและแอซิดเฮาส์ · ดูเพิ่มเติม »

แทรนซ์

แทรนซ์ เป็นแนวเพลงอีเลกโทรนิกแด๊นซ์ ที่พัฒนาในทศวรรษ 1990 มีจังหวะอยู่ราว 128 และ 160 บีพีเอ็ม เมโลดี้ใช้เครื่องสังเคราะห์เสียงที่รวมรูปแบบต่าง ๆ ของดนตรีอีเลกโทรนิก อย่างเช่น ดนตรีแอมเบียนต์ เทคโน และดนตรีเฮาส์ ยังมีการอธิบายว่าแทรนซ์ มีเมโลดี้คลาสสิกบนจังหวะจังเกิล คำว่า แทรนซ์ ไม่แน่ชัดเรื่องที่มา แต่มีบางกระแสบอกว่ามาจากชื่ออัลบั้มของ Klaus Schulze ที่ชื่อ Trancefer (1981) หรือศิลปินแทรนซ์ยุคแรกอย่าง Dance 2 Trance เพลงแนวแทรนซ์มักเล่นในไนต์คลับ สถานที่ท่องเที่ยวพักผ่อน ในเมือง และแทรนซ์ยังถูกจัดเป็นหนึ่งในดนตรีคลั.

ใหม่!!: เทคโนและแทรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แซมเพลอร์

AKAI MPC2000 sampling sequencer นักดนตรีใช้ Yamaha SU10 Sampler แซมเพลอร์ (sampler) เป็นเครื่องดนตรีอีเลคทรอนิกส์ มีความใกล้เคียงกับเครื่องสังเคราะห์เสียง แทนที่จะใช้เสียงที่ได้จากการถูบนเทิร์นเทเบิล แซมเพลอร์เริ่มจากการนำหลาย ๆ เพลง (หรือเรียกว่า แซมเพิล) จากเสียงหลาย ๆ เสียงนำมาใส่โดยผู้ใช้ และเล่นกลับไปมาโดยขึ้นอยู่กับการปรับแต่งเครื่องดนตรี และเพราะว่าแซมเพิลมักจะเก็บไว้ใน RAM ทำให้การเข้าถึงข้อมูลจึงเร็ว การใช้เครื่องแซมเพลอร์ กลายเป็นสิ่งสำคัญในดนตรีฮิปฮอป ดนตรีอีเลกโทรนิกส์ และดนตรีอาวองต์การ์ด แซมเพลอร์มีส่วนร่วมในการตั้งค่าของเครื่องสังเคราะห์เสียง และสามารถปรับเปลี่ยนได้หลายแบบ แซมเพลอร์มีความสามารถแบบโพลีโฟนิก ที่พวกเขาสามารถเล่นมากกว่า 1 โน้ตได้ในเวลาเดียวกัน.

ใหม่!!: เทคโนและแซมเพลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮเอนเนอร์จี

อนเนอร์จี (Hi-NRG) เป็นแนวเพลงย่อยของดิสโก้หรือดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ มีต้นกำเนิดในสหรัฐอเมริกาช่วงปลายทศวรรษ 1970 แนวเพลงมีลักษณะที่เป็นจังหวะรวดเร็ว พร้อมกับเสียงไฮแฮตสั้น (กับจังหวะ 4/4) เสียงร้องจะเข้มข้นและเสียงเบสไลน์ที่เร้าใจ ไฮเอนเนอร์จียังมีอิทธิพลต่อดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ในปัจจุบัน ในช่วงแรกมีความเกี่ยวข้องกับอิตาโลดิสโก้ รวมถึงดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดใหม่ในอเมริกา เช่น โพสต์ดิสโก้.

ใหม่!!: เทคโนและไฮเอนเนอร์จี · ดูเพิ่มเติม »

เยลโลแมจิกออร์เคสตรา

ลโลแมจิกออร์เคสตรา (Yellow Magic Orchestra, YMO) เป็นวงดนตรีอีเล็กโทรนิกส์จากญี่ปุ่น ก่อตั้งในปี 1978 โดย รีวอิชิ ซะกะโมะโตะ (คีย์บอร์ด) ฮะรุโอะมิ โฮะโซะโนะ (กีตาร์เบส) และ ยูกิฮิโระ ทะกะฮะชิ (มือกลอง และ ร้องนำ).

ใหม่!!: เทคโนและเยลโลแมจิกออร์เคสตรา · ดูเพิ่มเติม »

เฮาส์ (แนวดนตรี)

() เป็นแนวเพลงหนึ่งของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ เกิดในช่วงต้นทศวรรษที่ 1980 โดยมีต้นกำเนิดมาจากเมืองชิคาโก รัฐอิลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา แรกเริ่มเดิมทีเป็นที่นิยมในดิสโก้เทคสำหรับชาวแอฟริกัน-อเมริกัน, ละตินอเมริกันและสังคมเกย์ในสมัยกลางทศวรรษที่ 1980 ที่เมืองชิคาโก ต่อมาจึงกระจายความนิยมไปยังนิวยอร์ก, นิวเจอร์ซีย์, ดีทรอยต์และไมอามี จนกระทั่งถึงยุโรปก่อนจะมีบทบาทสำคัญแก่แนวเพลงป็อปและเพลงแดนซ์ทั่วโลก แนวดนตรีเฮาส์ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากองค์ประกอบของดนตรีโซลและฟังก์ในช่วงกลางยุค 1970 เฮาส์มีลักษณะโดดเด่นในการนำเอาการเคาะเพอคัสชั่น (percussion) แบบดิสโก้มาใช้โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ดรัมเบสในทุก ๆ บีต (beat) แล้วพัฒนาเป็นแนวดนตรีแนวใหม่โดยผสมไลน์เบสของเครื่องสังเคราะห์เสียงอิเล็กทรอนิก, กลองอิเล็กทรอนิก, เอฟเฟกต์อิเล็กทรอนิก,แซมเปิลฟังก์และป็อป รวมไปถึงการใช้เสียงก้องและเสียงร้องดีเล.

ใหม่!!: เทคโนและเฮาส์ (แนวดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องสังเคราะห์เสียง

Synthesizer เครื่องสังเคราะห์เสียง หรือ ซินธิไซเซอร์ (synthesizer) คือ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ออกแบบมาเพื่อสร้างเสียงจำลองโดยใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การเพิ่มเสียง, การ ลดเสียง, การใช้คลื่นเสียงกล้ำคลื่นวิทยุโดยเปลี่ยนความถี่คลื่น (Frequency Modulate; FM), การสังเคราะห์ เสียงกายภาพ, การทำให้คลื่นเสียงผิดเพี้ยนรูปร่างไป ซินธิไซเซอร์สร้างเสียงผ่านการปรับเปลี่ยนโดยตรงของกระแสไฟฟ้าซึ่งถูกใช้ในซินธิไซเซอร์แบบอนาล็อก, การปรับเปลี่ยนทางคณิตศาสตร์ของค่าตัวแปรที่พอใจ โดยใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งใช้ใน ซินธิไซเซอร์แบบที่เป็นโปรแกรมสำเร็จรูป หรือจากการรวมทั้งสองวิธีเข้าด้วยกัน ในขั้นตอนสุดท้ายของซินธิไซเซอร์กระแสไฟฟ้าจะถูกใช้เพื่อสร้างการสั่นให้กับแผ่นที่ใช้สั่นของ ลำโพง หรือ หูโทรศัพท์ เป็นต้น เสียงซินธิไซเซอร์นี้ถูกจำลองไว้จากการอัดเสียงธรรมชาติ เมื่อพลังงานทางกลของคลื่นเสียงถูกแปลงไปเป็นสัญญาณ และที่สุดจะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็นพลังงานทางกลจากการเล่นเทปที่อัดไว้ผ่านการสุ่ม ส่วนสำคัญที่ขาดหายไปของเสียงซึ่งเป็นลักษณะพิเศษของซินธิไซเซอร์ ซินธิไซเซอร์เสียงพูด ยังถูกใช้ใน กรรมวิธีสร้างเสียงพูด อิเล็กทรอนิกส์ มักจะใช้ใน โวโคดเดอร์ (Vocoders) หรือการสร้างเสียงพูดนั่นเอง.

ใหม่!!: เทคโนและเครื่องสังเคราะห์เสียง · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องหมายประจำจังหวะ

รื่องหมายประจำจังหวะ คือ เครื่องหมายที่ใช้สำหรับกำหนดอัตราจังหวะของเพลง โดยใช้ตัวเลขเป็นเครื่องหมายเพื่อบอกค่าของจังหวะต่าง ๆ จะบันทึกไว้ตอนหน้าของบทเพลง เป็นเลข 2 ตัว คือมีตัวบน และตัวล่าง เลขตัวบน หมายถึง อัตราจังหวะใน 1 ห้องดนตรี ว่าจะมีทั้งตัวโน้ตหรือตัวหยุดเมื่อรวมกันแล้วจะเท่ากับตัวเลขตัวนี้พอดีต่อ 1 ห้อง ส่วนเลขตัวล่าง หมายถึง ค่าของตัวโน้ตที่กำหนดว่าตัวโน้ตตัวใดจะมีค่าเท่ากับ 1 จังหวะ คือนับเป็น 1 จังหวะ รวมทั้งตัวหยุดประจำตัวโน้ตตัวนั้นด้วย โดยมีการกำหนดดังนี้.

ใหม่!!: เทคโนและเครื่องหมายประจำจังหวะ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Technoเทคโน (แนวดนตรี)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »