โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์

ดัชนี เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์

มหาอำมาตย์โท นายพันเอก เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2402 - 5 มกราคม พ.ศ. 2453) เป็นเจ้านครเชียงใหม่ องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร หรือ ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน.

34 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2429พ.ศ. 2432พ.ศ. 2436พระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง)พระยาคำฟั่นพระยาน้อยลังกาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าลำพูนไชยพระเจ้าอินทวิชยานนท์พระเจ้าดวงทิพย์ภาษาไทยมณฑลพายัพมณฑลมหาราษฎร์มณฑลเทศาภิบาลราชวงศ์ทิพย์จักรสยามหม่อมเจ้าภัทรลดา ดิศกุลอาณาจักรล้านนาตลาดวโรรสฉัตรสุดา วงศ์ทองศรีนครเชียงใหม่แม่น้ำปิงโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพเจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้วเจ้าราชวงศ์ (เลาแก้ว ณ เชียงใหม่)เจ้าลดาคำ ณ เชียงใหม่เจ้าทิพเนตรเจ้านายฝ่ายเหนือเจ้าแก้วมงคล ณ เชียงใหม่เจ้าแก้วนวรัฐเจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณเจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)เครื่องกำเนิดไฟฟ้าเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย

พ.ศ. 2429

ทธศักราช 2429 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1886 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และพ.ศ. 2429 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2432

ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และพ.ศ. 2432 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2436

ทธศักราช 2436 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1893 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และพ.ศ. 2436 · ดูเพิ่มเติม »

พระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง)

ระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง) เป็นเจ้าราชโอรสในพระยาคำฟั่น เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3 และเป็นพระราชบิดาในพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และพระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาคำฟั่น

ระยาคำฟั่น หรือ พระญาคำฝั้น หรือพระนามเต็มว่า "เจ้ามหาสุภัทรราชะ" ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 1 ระหว่างปี..

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และพระยาคำฟั่น · ดูเพิ่มเติม »

พระยาน้อยลังกา

้าหลวงธรรมลังกา (100px) หรือ พระยาน้อยลังกา (พ.ศ.2384 - พ.ศ. 2386) เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 5 ครองนครลำพูนในระหว่างปี พ.ศ. 2384 ถึง พ.ศ. 2386 รวมระยะเวลาครองนคร 2 ปี.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และพระยาน้อยลังกา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ. 2424 - 14 กันยายน พ.ศ. 2479) พระบิดาแห่งกิจการวิทยุกระจายเสียงไทย พระบิดาแห่งการรถไฟไทย พระบิดาแห่งการท่องเที่ยวไทย และ พระบิดาแห่งโรตารีไท.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าลำพูนไชย

ระเจ้าลำพูนไชย (พ.ศ. 2303 - พ.ศ. 2370) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนพระองค์ที่ 2 ครองราชย์ในระหว่างปี พ.ศ. 2358 ถึงปี พ.ศ. 2370 เป็นหนึ่งในเจ้าเจ็ดตนต้นราชวงศ์ทิพย์จักร และเป็นเจ้าผู้ครองนครที่ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น "พระเจ้าประเทศราช" องค์ที่ 3 ตั้งในสมัยรัชกาลที่ 3.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และพระเจ้าลำพูนไชย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอินทวิชยานนท์

ระเจ้าอินทวิชยานนท์ (125px) (? - พ.ศ. 2440 ขึ้นครองนครเชียงใหม่ พ.ศ. 2416 - พ.ศ. 2440) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระเจ้าประเทศราชองค์สุดท้ายที่มีอำนาจอย่างแท้จริง เพราะในสมัยรัชกาลที่ 5 สยามได้ริดรอนอำนาจของเจ้าผู้ครองนครลง ด้วยความจงรักภักดีที่ทรงถวายต่อพระบรมราชวงศ์จักรี อย่างไม่สั่นคลอน กอปรกับเป็นพระบิดาในเจ้าดารารัศมี พระราชชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ซึ่งนับว่าเป็นการถวายพระเกียรตินับเนื่องเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ในพระบรมราชวงศ์จักรี และเป็นพระเจ้าประเทศราชเพียงพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์ที่ได้รับพระราชทานและยกย่องพระเกียรติยศดังกล่าว.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และพระเจ้าอินทวิชยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าดวงทิพย์

ระเจ้าดวงทิพย์ (80px) (พ.ศ. 2291 - พ.ศ. 2369) เจ้าผู้ครองนครลำปาง สืบต่อจากพระเจ้าคำโสมผู้เป็นพระเชษฐา ครองราชย์ในระหว่างปี 2337 - 2369 ซึ่งพระองค์ทรงเป็นเจ้าราชบุตรองค์ที่ 4 ของเจ้าฟ้าชายแก้ว สิงหราชธานี พระเจ้าดวงทิพย์ หรือ "พระเจ้านครลำปางดวงทิพ" ได้รับพระราชทานสถาปนาเป็นพระเจ้าประเทศราช พระองค์ที่ 2 ถัดจากพระบรมราชาธิบดีฯวรชาติ มีชูบท.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และพระเจ้าดวงทิพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลพายัพ

มณฑลพายัพ เป็นมณฑลหนึ่งในการปกครองส่วนภูมิภาคระบบมณฑลเทศาภิบาลของราชอาณาจักรสยาม ครอบคลุมพื้นที่ภาคเหนือตอนบน.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และมณฑลพายัพ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลมหาราษฎร์

มณฑลมหาราษฎร์ เป็นมณฑลหนึ่งในการปกครองส่วนภูมิภาคระบบมณฑลเทศาภิบาลของราชอาณาจักรสยามที่แบ่งออกจากมณฑลพายัพในปี พ.ศ. 2458 ครอบคลุมพื้นที่ทางด้านตะวันออกของมณฑลพายัพเดิม.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และมณฑลมหาราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเทศาภิบาล

มณฑลเทศาภิบาลคือระบบแบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาคในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มีการใช้มาจนถึงสมัยช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สองประมาณ 7 ปี เป็นการเลียนแบบการปกครองของอังกฤษในพม่าและมาเลเซีย เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2440 โดยพระราชดำริของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ มณฑลมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครอง เจ้าเมืองไม่มีอำนาจที่จะปกครอง หน่วยการปกครองเรียงจากใหญ่ไปเล็กได้ดังนี้ ในปี พ.ศ. 2458 ดินแดนสยามมีมณฑลอยู่ 19 แห่งครอบคลุมพื้นที่ 72 เมือง (เปลี่ยนเป็น จังหวัด ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจตกต่ำจึงทำให้หลายมณฑลถูกยุบรวมกันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2468 (มณฑลเพชรบูรณ์ถูกยุบลงไปก่อนหน้านั้นแล้ว) ภายหลังจึงคงเหลืออยู่เพียง 14 มณฑล ได้แก่ กรุงเทพพระมหานคร มณฑลจันทบุรี มณฑลนครชัยศรี มณฑลนครสวรรค์ มณฑลนครศรีธรรมราช มณฑลนครราชสีมา มณฑลปราจีนบุรี มณฑลปัตตานี มณฑลพายัพ มณฑลพิษณุโลก มณฑลภูเก็ต มณฑลราชบุรี มณฑลอยุธยา และมณฑลอุดรธานี ทั้งหมดถูกล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 2476 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อมีการตราพระราชบัญญัติการบริหารราชการส่วนภูมิภาค พุทธศักราช 2476 ขึ้น และนับจากนั้น จังหวัดก็ได้กลายเป็นเขตการปกครองย่อยของประเทศไทยที่มีระดับสูงที.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และมณฑลเทศาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ทิพย์จักร

ราชวงศ์ทิพย์จักร หรือ ทิพจักราธิวงศ์ หรือ ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน เป็นราชวงศ์ที่ปกครองนครลำปาง นครเชียงใหม่ และนครลำพูน.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และราชวงศ์ทิพย์จักร · ดูเพิ่มเติม »

สยาม

งชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459 สยาม (อักษรละติน: Siam, อักษรเทวนาครี: श्याम) เคยเป็นชื่อเรียกประเทศไทยในอดีต แต่มิใช่ชื่อที่คนไทยเรียกตนเอง ราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และสยาม · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าภัทรลดา ดิศกุล

หม่อมเจ้าภัทรลดา ดิศกุล มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าภัทรลดา ฉัตรไชย ประสูติเมื่อ 21 มีนาคม..

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และหม่อมเจ้าภัทรลดา ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านนา

อาณาจักรล้านนา (95px) คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอนสรัสวดี อ๋องสกุล.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และอาณาจักรล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดวโรรส

ตลาดวโรรส (กาดหลวง) ตลาดวโรรส หรือ "กาดหลวง" เป็นตลาดขนาดใหญ่ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งขึ้นตามพระนามของเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ สร้างขึ้นในราวปี พ.ศ. 2453เบญจวรรณ บุญโทแสง.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และตลาดวโรรส · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรสุดา วงศ์ทองศรี

ท่านผู้หญิงฉัตรสุดา วงศ์ทองศรี (นามเดิม: หม่อมเจ้าฉัตรสุดา ฉัตรไชย; เกิด: 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463 — ถึงแก่อนิจกรรม 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2539) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน กับเจ้าลดาคำ ณ เชียงใหม่ หม่อมเจ้าฉัตรสุดาทรงเสกสมรสกับหม่อมเจ้ารวิพรรณไพโรจน์ รพีพัฒน์ พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ต่อมาทรงหย่ากัน โดยมีพระธิดาด้วยกันหนึ่งพระองค์ คือ หม่อมราชวงศ์หญิงพัฒนฉัตร รพีพัฒน์ ภายหลังหม่อมเจ้าฉัตรสุดาทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับวรงค์ วงศ์ทองศรี นักธุรกิจ มีบุตร 3 คน คือ ฉัตรชัย วงศ์ทองศรี, ดนัยฉัตร วงศ์ทองศรี และธนฉัตร วงศ์ทองศรี ท่านหญิงฉัตรสุดาเคยทำงานในบริษัทการบินไทย หลังเกษียณได้เป็นนางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และฉัตรสุดา วงศ์ทองศรี · ดูเพิ่มเติม »

นครเชียงใหม่

รัตนติงสาอภินวปุรีสรีคุรุรัฎฐพระนครเชียงใหม่ (200px) หรือ นครเชียงใหม่ เป็นประเทศราชในหัวเมืองเหนือของสยามตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และนครเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำปิง

แม่น้ำปิง (50px) เป็นแม่น้ำสายสำคัญของประเทศไทย และเป็นหนึ่งในสองของแม่น้ำที่บรรจบมาเป็นแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำปิงไหลอยู่ในหุบเขาระหว่างทิวเขาถนนธงชัยกลางกับทิวเขาผีปันน้ำตะวันตก มีต้นน้ำอยู่ที่ดอยเชียงดาวในอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ไหลลงทางใต้ผ่านจังหวัดลำพูน รวมกับแม่น้ำวังที่อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก ไหลลงใต้ผ่านจังหวัดกำแพงเพชร แล้วบรรจบกับแม่น้ำน่านที่ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ และจากจุดนี้ไปเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำปิงมีความยาวทั้งสิ้น 658 กิโลเมตร แม่น้ำปิงมีแม่น้ำสาขาที่สำคัญอยู่ 6 สาย ได้แก่ น้ำแม่งัด น้ำแม่แตง น้ำแม่กวง น้ำแม่ลี้ น้ำแม่กลาง และน้ำแม่แจ่ม ในบริเวณแม่น้ำปิงตอนบนเป็นที่ตั้งของอุทยานแห่งชาติแม่ปิง มีเนื้อที่ 627,346 ไร่ (1,003.75 ตร.กม.).

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และแม่น้ำปิง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ

รงเรียนวัฒโนทัยพายัพ โรงเรียนมาตรฐานสากล(World- Class Standard School) โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ เดิมเคยเป็นโรงเรียนสตรีประจำมณฑลพายัพมาก่อน ปัจจุบันเปิดทำการเรียนการสอนแบบสหศึกษาในระดับมัธยมศึกษา พ.ศ. 2449 โรงเรียนสตรีประจำมณฑลพายัพ "ยุพราชวิทยาลัย" พ.ศ. 2471 โรงเรียนสตรีประจำมณฑลพายัพ "วัฒโนทัยพายัพ" พ.ศ. 2476 โรงเรียนสตรีวัฒโนทัยพายัพ พ.ศ. 2517 โรงเรียนวัฒโนทัยพายั.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว

้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว (140px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำปางพระองค์ที่ 2 ทรงครองนครลำปางในปี..

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และเจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าราชวงศ์ (เลาแก้ว ณ เชียงใหม่)

้าราชวงศ์ (น้อยลาวแก้ว ณ เชียงใหม่) เจ้าราชวงศ์ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นราชบุตรองค์เดียวของเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และเจ้าราชวงศ์ (เลาแก้ว ณ เชียงใหม่) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าลดาคำ ณ เชียงใหม่

้าลดาคำ ณ เชียงใหม่ (7 ธันวาคม พ.ศ. 2439 — 15 มิถุนายน พ.ศ. 2527) เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือองค์หนึ่ง อดีตชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าลดาคำ ณ เชียงใหม่ เป็นพระธิดาในเจ้าราชวงศ์ (เลาแก้ว ณ เชียงใหม่) กับหม่อมมา ณ เชียงใหม่ มีเจ้าพี่เจ้าน้องต่างมารดาอีกสี่องค์ เจ้าพ่อของเจ้าลดาคำเป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวในเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 8 ในวัยเยาว์ได้ตามเสด็จเจ้าดารารัศมี พระราชชายาที่มีศักดิ์เป็นเจ้าตนย่ามาพำนักอยู่ในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งเจ้าดารารัศมี พระราชชายาได้ทรงอุปถัมภ์เจ้าลดาคำให้ศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศสร่วมกับเจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่ เจ้าลดาคำ เสกสมรสครั้งแรกกับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระธิดาสององค์ได้แก.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และเจ้าลดาคำ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าทิพเนตร

ณหญิงเจ้าทิพเนตร หรือ แม่เจ้าทิพเนตร์ หรือ เจ้าทิพเนตร อินทวโรรสสุริยวงศ์ (พระนามเดิม: เจ้าทิพเนตร ณ เชียงใหม่; พ.ศ. 2402—2460) เป็นภรรยาของเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 8 ทั้งยังเป็นธิดาของเจ้ามหาเทพ ณ เชียงใหม่ โอรสองค์ที่ 7 ของพระเจ้ามโหตรประเทศ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 5.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และเจ้าทิพเนตร · ดูเพิ่มเติม »

เจ้านายฝ่ายเหนือ

้านายฝ่ายเหนือ หมายถึง เจ้านายผู้สืบเชื้อสายในราชวงศ์ที่เคยปกครองอาณาจักรหัวเมืองเหนือ ซึ่งเข้ามาเป็นประเทศราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช อันได้แก่ เจ้าในราชวงศ์ทิพย์จักรที่ปกครองนครเชียงใหม่ นครลำปาง และนครลำพูน ราชวงศ์น่านที่ปกครองนครน่าน และราชวงศ์เทพวงศ์ที่ปกครองนครแพร่ ในอดีตเจ้าผู้ครองนครต่าง ๆ มีอำนาจสิทธิ์ขาดปกครองดินแดนของตน แต่มีหน้าที่ต้องส่งเครื่องบรรณาการถวายราชสำนักสยามเพื่อแสดงความจงรักภักดีเท่านั้น อย่างไรก็ตามราชสำนักสยามได้เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในราชสำนักประเทศราชหลายครั้ง จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงยกเลิกการปกครองแบบประเทศราชเพื่อรวมศูนย์อำนาจการปกครองไว้ที่กรุงเทพฯ โดยเฉพาะ ตำแหน่งเจ้าประเทศราชก็ให้สิ้นสุดเมื่อเจ้านครนั้นถึงแก่พิราลัย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือในราชวงศ์ทิพย์จักรยังคงมีการสืบทอดกันจากรุ่นสู่รุ่น และยังมีการรวมกลุ่มดำเนินกิจกรรมต่างๆ ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเมื่อปี..

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และเจ้านายฝ่ายเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าแก้วมงคล ณ เชียงใหม่

รืออากาศโท เจ้าแก้วมงคล ณ เชียงใหม่ เป็นราชโอรสใน เจ้าราชวงศ์ (เลาแก้ว ณ เชียงใหม่) เจ้าราชวงศ์นครเชียงใหม่ ราชโอรสองค์เดียวในเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 8 ประสูติแต่แม่เจ้าทิพเนตรราชเทวี ทรงสมรสกับเจ้าแสงดาว ณ เชียงใหม่ บุตรบุญธรรมในพระราชชายา เจ้าดารารัศมี เจ้าแก้วมงคล เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือคนหนึ่งที่ถูกมองว่าอาจจะได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 10เบญจวรรณ บุญโทแสง.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และเจ้าแก้วมงคล ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าแก้วนวรัฐ

มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ (90px) (29 กันยายน พ.ศ. 2405 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร และองค์สุดท้ายแห่งนครเชียงใหม.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และเจ้าแก้วนวรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ

้าหลวงไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ (210px) เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 6 พระองค์ปกครองลำพูนในระหว่างปี พ.ศ. 2386 - พ.ศ. 2414 รวมระยะเวลาการปกครองทั้งหมด 28 ปี ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนที่ปกครองลำพูนยาวนานเป็นอับดับที่ 2 รองจากเจ้าจักรคำขจรศัก.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และเจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)

นายพันตำรวจเอก เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่) (200px) (พ.ศ. 2403-พ.ศ. 2473) เจ้านายฝ่ายเหนือ ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจมณฑลพายัพ สืบสายโลหิตจากพระยาธรรมลังกา ผู้จับดาบตะลุยทั่วสิบทิศ เพื่อความสงบสุขของมหาชนชาวนครเชียงใหม่ เป็นเจ้านายมือปราบนาม เจ้าไชยสงคราม ซึ่งโจรผู้ร้ายสยองเพียงได้ยินชื่อ.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และเจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่) · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องกำเนิดไฟฟ้า

รื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบกังหันไอน้ำที่ทันสมัยของสหรัฐฯ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า หรือ เครื่องปั่นไฟ (electric generator) คืออุปกรณ์ที่แปลงพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า อุปกรณ์ดังกล่าวจะบังคับกระแสไฟฟ้าให้ไหลผ่านวงจรภายนอก แหล่งที่มาของพลังงานกลอาจจะเป็นลูกสูบหรือเครื่องยนต์กังหันไอน้ำ หรือแรงน้ำตกผ่านกังหันน้ำหรือล้อน้ำ หรือเครื่องยนต์สันดาปภายใน หรือกังหันลม หรือข้อเหวี่ยงมือ หรืออากาศอัด หรือแหล่งพลังงานกลอื่นๆ โดยเครื่องกำเนิดไฟฟ้านั้นจะเป็นวิธีหลักที่ใช้ในการกำเนิดไฟฟ้าเพื่อจ่ายเข้าโครงข่ายพลังงานไฟฟ้าของประเทศ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าของ Ganz รุ่นแรกๆใน Zwevegem, West Flanders, Belgium การแปลงย้อนกลับของพลังงานไฟฟ้ากลับไปเป็นพลังงานกลจะกระทำโดยมอเตอร์ไฟฟ้า มอเตอร์และเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่มีความคล้ายคลึงกันมาก มอเตอร์หลายตัวสามารถขับเคลื่อนเครื่องจักรเพื่อผลิตไฟฟ้าและบ่อยครั้งที่ได้รับการยอมรับให้เป็นเครื่องกำเนิดไฟฟ้า alternator ในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 ในห้องโถงของสถานีผลิตไฟฟ้ากำลังน้ำ ทำในบูดาเปสท์ประเทศฮังการี.

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และเครื่องกำเนิดไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..

ใหม่!!: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

เจ้าหลวงอินทวโรรสสุริยวงศ์เจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์เจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ ๘เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๘เจ้าน้อยสุริยะ ณ เชียงใหม่

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »