โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฮาจิเมะ ทาบาตะ

ดัชนี ฮาจิเมะ ทาบาตะ

มะ ทาบาตะ (田畑 端) เป็นผู้กำกับเกมชาวญี่ปุ่นสังกัดสแควร์เอนิกซ์ เขาเป็นหัวหน้าแผนกธุรกิจที่ 2 ของบริษัท และเป็นสมาชิกคณะทำงานของเกมซีรีส์ ไฟนอลแฟนตาซี.

16 ความสัมพันธ์: ลาสต์ออร์เดอร์: ไฟนอลแฟนตาซี VIIสแควร์เอนิกซ์จังหวัดอิวาเตะแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)ไฟนอล แฟนตาซี 15: สงครามแห่งราชันย์ไฟนอลแฟนตาซี ไทป์-0ไฟนอลแฟนตาซี XVไมโครซอฟท์ วินโดวส์ไอโอเอสไครซิสคอร์: ไฟนอลแฟนตาซี VIIเพลย์สเตชันเพลย์สเตชัน 4เพลย์สเตชัน วีอาร์เพลย์สเตชันพอร์เทเบิลเพลย์สเตชันวิต้าเอกซ์บอกซ์วัน

ลาสต์ออร์เดอร์: ไฟนอลแฟนตาซี VII

ลาสต์ออร์เดอร์:ไฟนอลแฟนตาซี VII (ラストオーダー ファイナルファンタジーVII; Last Order: Final Fantasy VII) เป็นภาพยนตร์อะนิเมะ OVA ที่ถูกบรรจุไว้ใน ไฟนอลแฟนตาซี VII แอดเวนต์ชิลเดรน ชุด Ultimate Edition "Advent Pieces: Limited" ผลิตโดยสแควร์เอนิกซ์ และ แมดเฮาส์ มีความยาวทั้งสิ้น 25 นาที ออกวางจำหน่ายในวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2548 เนื้อหาเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตเมื่อ 5 ปีที่แล้ว ซึ่งเป็นช่วงเวลาก่อนที่จะเข้าสู่เรื่องราวในเกม ไฟนอลแฟนตาซี VII โดยเรื่องราวในภาคลาสต์ออร์เดอร์นี้ ยังเชื่อมต่อกับเนื้อเรื่องในเกม บีฟอร์ไครซิส:ไฟนอลแฟนตาซี VII ด้ว.

ใหม่!!: ฮาจิเมะ ทาบาตะและลาสต์ออร์เดอร์: ไฟนอลแฟนตาซี VII · ดูเพิ่มเติม »

สแควร์เอนิกซ์

แควร์เอนิกซ์ หรือ บริษัท สแควร์เอนิกซ์ โฮลดิงส์ มหาชนจำกัด (株式会社スクウェア・エニックス・ホールディングス คะบุชิกิ-ไงฉะ ซุกุเอะอะ เอะนิกกุซุ โฮรุดิงงุซุ; Square Enix Holdings Co., Ltd) คือ ชื่อของบริษัทผลิตเกม โดยเกมที่มีชื่อเสียงคือเกมชุด ไฟนอลแฟนตาซี ดราก้อนเควสต์ และ คิงดอมฮาร์ต สำนักงานใหญ่อยู่ที่ โยะโยะงิ ในชิบุยะ เมืองโตเกียว สแควร์เอนิกซ์ เป็นบริษัทที่เกิดจากการควบรวมกิจการระหว่าง บริษัทสแควร์ และ เอนิกซ์ ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2546 โดยการควบรวมกันครั้งนี้ผู้ถือหุ้นในบริษัทสแควร์ได้รับส่วนแบ่งทางการตลาดเป็นสัดส่วน 0.81 และเอนิกซ์ได้รับในอัตรา 1:1 แต่นอกเหนือจากเรื่องส่วนแบ่งของผู้ถือหุ้น ในส่วนของผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ระดับสูงหลายคนของบริษัทสแควร์ได้รับบทบาทในฐานะผู้นำในสแควร์เอนิกซ์ รวมทั้งประธานบริษัทสแควร์ซึ่งก็คือนายโยอิจิ วาดะ ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นประธานของสแควร์เอนิกซ์นั่นเอง.

ใหม่!!: ฮาจิเมะ ทาบาตะและสแควร์เอนิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอิวาเตะ

ังหวัดอิวาเตะ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในภูมิภาคโทโฮะกุ (東北地方 Tōhoku-chihō) หรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บนเกาะฮนชู (本州 Honshū) มีเมืองเอกคือ เมืองโมะริโอะกะ (盛岡市 Morioka-shi).

ใหม่!!: ฮาจิเมะ ทาบาตะและจังหวัดอิวาเตะ · ดูเพิ่มเติม »

แอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)

ซัมซุง กาแลคซี โน้ต แอนดรอยด์ (Android) เป็นระบบปฏิบัติการที่มีพื้นฐานอยู่บนลินุกซ์ ในอดีตถูกออกแบบมาสำหรับอุปกรณ์ที่ใช้จอสัมผัส เช่นสมาร์ตโฟน และแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันได้แพร่ไปยังอุปกรณ์หลายชนิดเพราะเป็นมาตรฐานเปิด เช่น Nikon S800C กล้องดิจิตอลระบบแอนดรอยด์ หม้อหุงข้าว Panasonic ระบบแอนดรอยด์ และ Smart TV ระบบแอนดรอยด์ รวมถึงกล่องเสียบต่อ TV ทำให้สามารถใช้ระบบแอนดรอยด์ได้ด้วย Android Wear นาฬิกาข้อมือระบบแอนดรอด์ เป็นต้น ถูกคิดค้นและพัฒนาโดยบริษัท แอนดรอยด์ (Android, Inc.) ซึ่งต่อมา กูเกิล ได้ทำการซื้อต่อบริษัทในปี..

ใหม่!!: ฮาจิเมะ ทาบาตะและแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ) · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอล แฟนตาซี 15: สงครามแห่งราชันย์

ฟนอล แฟนตาซี 15: สงครามแห่งราชันย์ (Kingsglaive: Final Fantasy XV;キングスグレイブ ファイナルファンタジーXV) เป็นภาพยนตร์ที่สร้างด้วยคอมพิวเตอร์แอนิเมชันแนวจินตนิมิตวิทยาศาสตร์ของญี่ปุ่น กำกับโดย Takeshi Nozue โดยภาพยนตร์ได้กล่าวถึงเรื่องราวที่เป็นจุดเริ่มต้นของเกมไฟนอลแฟนตาซี XV โดยเล่าถึงองค์กษัตริย์รีจิส ลูซิส เซรัม บิดาของน็อคทิส พร้อมกับกองกำลังอารักขาส่วนพระองค์ที่มีชื่อว่า "คิงส์เกลฟ" ภาพยนตร์เป็นภาคต่อของ บราเธอร์ฮูด: ไฟนอลแฟนตาซี XV ภาพยนตร์ดังกล่าวเข้าฉายในประเทศญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ฮาจิเมะ ทาบาตะและไฟนอล แฟนตาซี 15: สงครามแห่งราชันย์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี ไทป์-0

ฟนอลแฟนตาซี ไทป์-0 หรือ ไฟนอลแฟนตาซี เรย์ชิกิ เป็นเกมสมมติบทบาทกึ่งแอคชัน ในชุดเกมแฟบูลา โนวา คริสตัลลิส: ไฟนอล แฟนตาซี พัฒนาและจัดจำหน่ายโดยบริษัทสแควร์เอนิกซ์ลงบนเครื่องเล่นเกม เพลย์สเตชันพอร์เทเบิล วางจำหน่ายในญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2554 และมีการประกาศพัฒนาเกมในเวอร์ชันความละเอียดสูง (เอชดี) สำหรับเพลย์สเตชัน 4 และเอกซ์บอกซ์ วัน ในอีกสามปีต่อมา โดยจะวางจำหน่ายในช่วงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2558 เรื่องราวในไฟนอลแฟนตาซี ไทป์-0 เกิดในโลกออร์เรียนซ์ ซึ่งประกอบด้วยดินแดน 4 แห่ง ได้แก่ รัฐรูบรัม จักรวรรดิมิลิเทส สหพันธรัฐลอริแคน และราชอาณาจักรคองคอร์เดีย ดินแดนแต่ละแห่งครอบครองคริสตัลที่มีความสามารถแตกต่างกัน รูบรัมครอบครองคริสตัลสุซากุ ขุมพลังเวทมนตร์ มิลิเทสครอบครองคริสตัลเบียกโกะ แหล่งเสริมความแข็งแกร่งแก่อาวุธ ลอริแคนครอบครองคริสตัลเก็นบุที่มีพลังการปกป้อง และคองคอร์เดียครอบครองคริสตัลโซเรียว พลังแห่งมังกร โดยคริสตัลทั้งสี่ตั้งชื่อตามอสูรปกครองศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของชาวจีน ทั้งสี่ดินแดนได้ปฏิบัติตามสนธิสัญญาสันติภาพที่ได้ทำไว้ร่วมกัน แต่จอมพลซิด อัลสไตน์ แห่งมิลิเทสได้กระทำการขัดต่อสนธิสัญญาดังกล่าวด้วยการส่งกองกำลังรุกรานอีกสามดินแดนเพื่อแย่งชิงพลังจากคริสตัล เขาสามารถยึดครองลอริแคนและคองคอร์เดียได้อย่างง่ายดาย แต่เมื่อมาถึงรูบรัมซิดกลับพบกับการตั้งกองกำลังเวทมนตร์อย่างแข็งแกร่ง ซิดจึงมุ่งโจมตี "เพริสทีเลียมสุซากุ" โรงเรียนเวทมนตร์ของรูบรัม นักเรียนชั้นเรียนที่ศูนย์ของโรงเรียนจึงต้องปกป้องสถาบันของพวกเขา ไฟนอลแฟนตาซี ไทป์-0 มีตัวละครที่สามารถบังคับตลอดเกมทั้งหมด 14 คน ทุกคนเป็นนักเรียนชั้นเรียนที่ศูนย์ (คลาสซีโร) ของเพริสทีเลียมสุซากุ ได้แก่ เอซผู้ใช้ไพ่ ดิวส์ผู้ใช้ฟลุต เตรผู้ใช้ธนู แกตร์ผู้ใช้ปืนเวทมนตร์ ซิงก์ผู้ใช้กระบอง ไซก์ผู้ใช้ง้าว เซเวนผู้ใช้แส้ เอทผู้ใช้สนับมือ ไนน์ผู้ใช้หอก แจ็คผู้ใช้ดาบคะตะนะ ควีนผู้ใช้ดาบ คิงผู้ใช้ปืน มาคิน่าผู้ใช้กระบี่ และเรมผู้ใช้กริช ระบบการเล่นของเกมจะใช้การรับภารกิจเป็นหลัก โดยการต่อสู้ในเกมได้พัฒนาแอกทีฟ ไทม์ แบทเทิล ที่ใช้ใน ไครซิสคอร์:ไฟนอลแฟนตาซี VII และ เดอะ เธิร์ด เบิร์ธเดย์ ให้มีความเร็วมากขึ้น การพัฒนาตัวละครนั้นจะใช้ระบบอัลโตคริสตาเรี่ยม เมื่อผู้เล่นกำจัดศัตรูจะได้พลังงานที่เรียกว่า "แฟนโตม่า" พลังนี้จะฟื้นฟูค่าพลังเวทย์ของผู้เล่นและนำมาพัฒนาความสามารถด้านเวทมนตร์ของผู้เล่น ส่วนแผนที่ของเกม นอกจากจะเป็นแผนที่กว้างและศัตรูเกิดแบบสุ่มเช่นเดียวกับไฟนอลแฟนตาซีภาค 1-9 แล้ว ผู้เล่นยังสามารถขี่ช็อคโคโบะ เข้าร่วมการรบย่อย และขับยานเหาะเพื่อต่อสู้กับยานของศัตรูหรือมังกรได้อีกด้ว.

ใหม่!!: ฮาจิเมะ ทาบาตะและไฟนอลแฟนตาซี ไทป์-0 · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี XV

ฟนอลแฟนตาซี XV เป็นเกมสมมติบทบาทที่พัฒนาและจัดจำหน่ายโดยบริษัทสแควร์เอนิกซ์ สำหรับเครื่องเล่นเกม เพลย์สเตชัน 4, เอกซ์บอกซ์ วัน และ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ เปิดตัวเป็นครั้งแรกโดยใช้ชื่อ ไฟนอลแฟนตาซี เวอร์ซัส XIII ที่งาน E3 2006 พร้อมกับไฟนอลแฟนตาซี XIII และ ไฟนอลแฟนตาซี อากิโตะ XIII ในชุดเกม แฟบูลา โนวา คริสตัลลิส: ไฟนอล แฟนตาซี XIII ต่อมาในงานเดียวกันเมื่อปี..

ใหม่!!: ฮาจิเมะ ทาบาตะและไฟนอลแฟนตาซี XV · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครซอฟท์ วินโดวส์

มโครซอฟท์ วินโดวส์ (Microsoft Windows) เป็นระบบปฏิบัติการ ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ เปิดตัวเมื่อปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985 โดยรุ่นแรกของวินโดวส์ คือ วินโดวส์ 1.0) และครองความนิยมในตลาดคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มากกว่า 90% ของการใช้งานทั่วโลก รายละเอียดโดยสังเขปของวินโดวส์รุ่นต่างๆ เรียงตามลำดับการเปิดตัว เป็นดังนี้.

ใหม่!!: ฮาจิเมะ ทาบาตะและไมโครซอฟท์ วินโดวส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอโอเอส

อโอเอส (ก่อนหน้านี้ใช้ชื่อ ไอโฟนโอเอส) คือระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพา (สมาร์ตโฟน,แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์) พัฒนาและจำหน่ายโดยแอปเปิล (บริษัท) เปิดตัวครั้งแรกในปี 2007 เพื่อใช้บนไอโฟน และได้มีการพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อใช้บนอุปกรณ์พกพาอื่นๆ ของแอปเปิล เช่น ไอพอดทัช (ในเดือนกันยายน 2007), ไอแพด (ในเดือนมกราคม 2010), ไอแพด มินิ (พฤศจิกายน 2012) และ แอปเปิลทีวี รุ่นที่ 2 (ในเดือนกันยายน 2010) ไอโอเอสแตกต่างจากวินโดวส์โฟนของไมโครซอฟท์และแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)ของกูเกิล ตรงที่แอปเปิลไม่อนุญาตให้นำไอโอเอสไปติดตั้งบนอุปกรณ์ที่ไม่ใช่อุปกรณ์ของแอปเปิล ในเดือนสิงหาคม 2013 แอปสโตร์ของแอปเปิลมีแอปพลิเคชันมากกว่า 900,000 แอปพลิเคชัน และ 375,000 ที่ออกแบบมาเพื่อ ไอแพด แอปพลิเคชันเหล่านี้มียอดดาวโหลดน์รวมกันมากกว่า 5 หมื่นล้านครั้ง ไอโอเอสมีส่วนแบ่ง 21% ของส่วนแบ่งระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพาในไตรมาสที่ 4 ของปี 2012 ซึ่งเป็นรองจากแอนดรอยของกูเกิลเท่านั้น ในเดือนมิถุนายน 2012 ไอโอเอสมีส่วนแบ่งคิดเป็น 65% ของการบริโภคข้อมูลบนอุปกรณ์พกพา (ซึ่งรวม ไอพอดทัช และ ไอแพด) ในกลางปี 2012 มีอุปกรณ์ไอโอเอสมากกว่า 410 ล้านเครื่องที่เปิดใช้งาน จากการอ้างอิงจากงานแถลงเปิดตัวต่อสื่อโดยแอปเปิลใน วันที่ 12 กันยายน 2012 มีอุปกรณ์ไอโอเอส 400 ล้านตัวที่จำหน่ายไปแล้วในเดือนมิถุนายน 2012 ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (user interface) ของไอโอเอสมีพื้นฐานแนวคิดมาจาก "การควบคุมโดยตรง" (direct manipulation) ด้วยการใช้มัลติทัช องค์ประกอบของการควบคุมก็คือการใช้นิ้วเลื่อน, สวิทช์ และปุ่ม เพื่อเป็นการควบคุมอุปกรณ์รวมถึงท่าทางอย่างอื่น เช่น การนำนิ้วมือ (มากกว่าสองนิ้ว) บีบเข้าหาศูนย์กลาง (swipe), แตะเบาๆ (tap), การนำนิ้วสองนิ้วบีบเขาหาศูนย์กลาง (pinch), การนำนิ้วสองนิ้วกางออกจากศูนย์กลาง (reverse pinch) ซึ่งทั้งหมดนี้มีความหมายที่เจาะจงในบริบทต่างๆ ของไอโอเอสและถือเป็นการใช้งานแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้แบบมัลติทัช ภายในอุปกรณ์ที่ติดตั้งไอโอเอสจะมีเซนเซอร์ตรวจจับการเคลื่อนไหวเพื่อใช้กับบางแอปพลิเคชันเพื่อตอบสนองการสั่นของอุปกรณ์ หรือการหมุนอุปกรณ์ที่คำนวณในรูปแบบสามมิติ ไอโอเอสมีต้นกำเนิดมาจากแมคโอเอสเท็นซึ่งได้รากฐานมาจากดาร์วินและแอปพลิเคชันเฟรมเวริค์ต่างๆ ไอโอเอสคือรุ่นพกพาของแมคโอเอสเท็นที่ใช้บนคอมพิวเตอร์ของแอปเปิล รุ่นหลักของไอโอเอสจะมีการเปิดตัวทุกๆ ปี จนถึงปัจจุบันนี้ ได้มีการปล่อยตัว iOS 10 ซึ่งเป็นรุ่นล่าสุดในวันที่ 13 มิถุนายน..

ใหม่!!: ฮาจิเมะ ทาบาตะและไอโอเอส · ดูเพิ่มเติม »

ไครซิสคอร์: ไฟนอลแฟนตาซี VII

รซิสคอร์:ไฟนอลแฟนตาซี VII หรือในชื่อย่อว่า CC FFVII เป็นเกมแนวแอคชันอาร์พีจี สำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน พอร์เทเบิล พัฒนาโดย สแควร์เอนิกซ์ ออกวางจำหน่ายครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2550 เนื้อหาในเกมเป็นช่วงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนหน้าเรื่องราวในไฟนอลแฟนตาซี VII.

ใหม่!!: ฮาจิเมะ ทาบาตะและไครซิสคอร์: ไฟนอลแฟนตาซี VII · ดูเพิ่มเติม »

เพลย์สเตชัน

ลย์สเตชัน (อังกฤษ: PlayStation ญี่ปุ่น: プレイステーション) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกม ระบบ 32 บิต ผลิตโดย Sony Computer Entertainment โดยได้มีออกมาหลายรุ่นในลักษณะหลักเดียวกันในช่วงปลายปี ทศวรรษ 2540 หลังจากที่ประสบความสำเร็จทางโซนี่ได้ออกเครื่องเล่นเกมในรุ่นต่อมาซึ่งได้แก่ พีเอสวัน (PSone), เพลย์สเตชัน 2, PSP (PlayStation Portable) และ เพลย์สเตชัน 3 ที่ออกจำหน่ายไปแล้วเมื่อปลายปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ฮาจิเมะ ทาบาตะและเพลย์สเตชัน · ดูเพิ่มเติม »

เพลย์สเตชัน 4

ลย์สเตชัน 4 หรือ PS4 (PlayStation 4) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกมตระกูลเพลย์สเตชันรุ่นที่ 4 ของบริษัทโซนี่คอมพิวเตอร์เอ็นเตอร์เทนเมนต์ เปิดตัวต่อจากเพลย์สเตชัน 3 ที่งานแถลงข่าวรอบสื่อมวลชนในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2013 และเริ่มวางจำหน่ายในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2013 ในทวีปอเมริกาเหนือ และต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2013 จึงวางจำหน่ายในยุโรปและออสเตรเลีย เพลย์สเตชัน 4 มีคู่แข่งที่สำคัญคือ Wii U ของนินเทนโด และ Xbox One ของไมโครซอฟท์ ทั้งนี้ ณ เดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ฮาจิเมะ ทาบาตะและเพลย์สเตชัน 4 · ดูเพิ่มเติม »

เพลย์สเตชัน วีอาร์

PlayStation VR (เพลย์สเตชัน วีอาร์) หรือชื่อโครงการเดิมคือ โครงการมอร์ฟีอุส (Project Morpheus) เป็นจอแสดงผลแบบสวมศีรษะระบบเวอร์ชวลริแอลลิที ผลิตขึ้นโดยโซนี่คอมพิวเตอร์เอ็นเตอร์เทนเมนต์ ถูกออกแบบมาเพื่อใช้งานร่วมกับระบบเครื่องเล่นเกมเพลย์สเตชัน 4 วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: ฮาจิเมะ ทาบาตะและเพลย์สเตชัน วีอาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เพลย์สเตชันพอร์เทเบิล

ลย์สเตชันพอร์เทเบิล (Pตัวมนสิด layStation Portable ย่อว่า PSP) เป็นเครื่องเกมพกพาซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ของโซนี่ คอมพิวเตอร์ เอนเตอร์เทนเมนท์ โซนี่ประกาศเปิดตัวโครงการ PSP ครั้งแรกในงาน E³ 2003 และเผยโฉมตัวเครื่องเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 หรือ ค.ศ. 2003 ในการแถลงข่าวของโซนี่ในงาน E³ พ.ศ. 2547 ตัวเครื่องได้ถูกนำออกขายในประเทศญี่ปุ่นครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: ฮาจิเมะ ทาบาตะและเพลย์สเตชันพอร์เทเบิล · ดูเพิ่มเติม »

เพลย์สเตชันวิต้า

ลย์สเตชันวิต้า (PlayStation Vita ย่อว่า PSVita) เป็นเครื่องเกมพกพาซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ของโซนี่ คอมพิวเตอร์ เอนเตอร์เทนเมนท์ และเป็นเครื่องเล่นที่พัฒนามาจาก เพลย์สเตชันพอร์เทเบิล โซนี่ได้วางจำหน่ายในญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 2011 เกมของ PSVita รองรับการดูภาพยนตร์ Hi-Def ที่ความละเอียดภาพระดับ 720p เท่านั้น สามารถเปลี่ยนเพลงประกอบในเกมได้ตามต้องการ ด้วยโปรแกรม Media Player ซึ่งสามารถสลับไปมาระหว่างการฟังเพลงและเล่นเกมได้ โดยหากเปิดเพลงฟังอยู่ เพลงใน Media Player จะไปทดแทนเพลงประกอบในเกม มีระบบหน้าจอสัมผัส และมีระบบWifi, บลูทูธ และระบบ 3จี.

ใหม่!!: ฮาจิเมะ ทาบาตะและเพลย์สเตชันวิต้า · ดูเพิ่มเติม »

เอกซ์บอกซ์วัน

อกซ์บอกซ์วัน (Xbox One) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกมผลิตโดยไมโครซอฟท์ เป็นเครื่องเล่นต่อจากเอกซ์บอกซ์ 360 และเป็นรุ่นที่ 3 ในตระกูลเอกซ์บอกซ.

ใหม่!!: ฮาจิเมะ ทาบาตะและเอกซ์บอกซ์วัน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ฮะจิเมะ ทะบะตะ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »