โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฮะมะมะสึ

ดัชนี ฮะมะมะสึ

นครฮามามัตสึ ตั้งอยู่ในทางตะวันตกของจังหวัดชิซุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น นครฮามามาสึได้ควบรวมพื้นที่เข้ากับเมืองและอำเภอโดยรอบจำนวน 11 เมืองและอำเภอ ในวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 และได้ยกระดับเป็นนครอันตั้งขึ้นโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น ในวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 2007.

52 ความสัมพันธ์: ชิงกันเซ็งชูบุพ.ศ. 2114พ.ศ. 2131พ.ศ. 2414พ.ศ. 2419พ.ศ. 2432พ.ศ. 2548พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552การฟื้นฟูเมจิภาษาญี่ปุ่นภาษาอังกฤษภูเขาฟูจิมหาสมุทรแปซิฟิกยามาฮ่ายุคนาระยุคโจมงยุคโคะฟุงยุคเอะโดะยุคเซ็งโงกุรถไฟวอร์ซอสายหลักโทไกโดสถานีรถไฟฮะมะมะสึสถานีรถไฟโตเกียวฮอนด้าจักรยานยนต์จังหวัดชิซูโอกะจังหวัดไอจิท่าอากาศยานชิซุโอะกะท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์ซะโดประเทศญี่ปุ่นประเทศโปแลนด์ปลาคาร์ปนวศิลป์นาโงยะนครที่ตั้งขึ้นโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่นโชกุนโทกูงาวะ อิเอยาซุโทไกโดชิงกันเซ็งโตเกียวไดเมียวเฟรเดริก ชอแป็งเกียวโต (นคร)เกี๊ยะเมืองพี่น้องและเมืองแฝดเขตฮะมะกิตะเครื่องดนตรี...1 กรกฎาคม1 กันยายน ขยายดัชนี (2 มากกว่า) »

ชิงกันเซ็ง

งกันเซ็งต่าง ๆ ที่อู่รถของ JR ตะวันออก ค.ศ. 2012 ชิงกันเซ็งรุ่นต่าง ๆ ที่อู่รถของ JR ตะวันตก ค.ศ. 2008 ชิงกันเซ็ง (แปล: สายทางไกลสายใหม่) เป็นชื่อเรียกเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงในประเทศญี่ปุ่นซึ่งดำเนินงานโดย 4 กลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น สายแรกที่เปิดใช้งานคือ โทไกโดชิงกันเซ็ง (515.4 กม.) ในปี..

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ชูบุ

ตชูบุของญี่ปุ่น ภูเขาฟูจิ สถานที่ที่สำคัญแห่งหนึ่งในชูบุ ชูบุ เป็นภูมิภาคหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ตรงส่วนกลางของประเทศ จุดเด่นของภาคชูบุก็คือ ถึงแม้ทั้ง 9 จังหวัดจะจัดอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน แต่ก็มีลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ รวมไปถึงวัฒนธรรมท้องถิ่นที่แตกต่างกัน โดย 4 จังหวัดชายฝั่งทะเลญี่ปุ่น อันได้แก่ นีงะตะ โทะยะมะ อิชิกะวะ และฟุกุอิ เป็นเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มีหิมะตกหนักในฤดูหนาว แต่ระยะเวลาสั้นกว่าภูมิภาคโทโฮะกุและฮกไกโด ฤดูร้อนอากาศร้อนชื้นและเย็นสบายในฤดูใบไม้ผลิ พื้นที่ราบในเขตนี้มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคชูบุ และเป็นแหล่งปลูกข้าวที่มีคุณภาพแห่งใหญ่แห่งหนึ่ง ชูบุ ตั้งอยู่ตรงส่วนกลางของประเทศ มีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 21 ล้านคนใน 9 จังหวัด ซึ่งถึงแม้ว่าจะจัดอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน แต่มีลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ รวมไปถึงวัฒนธรรมท้องถิ่นที่แตกต่างกัน ในเขตโฮะกุริกุ ประกอบไปด้วยสี่จังหวัดชายฝั่งทะเลญี่ปุ่น อันได้แก่ นีงะตะ โทยะมะ อิชิกะวะ และฟุกุอิ เป็นเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มีหิมะตกหนักในฤดูหนาว แต่ระยะเวลาสั้นกว่าภูมิภาคโทโฮะกุและฮกไกโด ฤดูร้อนอากาศร้อนชื้นและเย็นสบายในฤดูใบไม้ผลิ พื้นที่ราบในเขตนี้มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคชูบุ และเป็นแหล่งปลูกข้าวที่มีคุณภาพแห่งใหญ่แห่งหนึ่ง พื้นที่สูงตอนกลางประกอบไปด้วยจังหวัดนะงะโนะ กิฟุ และยะมะนะชิ ดินแดนแห่งเทือกเขาสูงทอดตัวเป็นแนวยาวไม่รู้จบ ที่ตั้งของเจแปนแอลป์หรือที่รู้จักกันดีว่าเป็นหลังคาของญี่ปุ่น เป็นเมืองตากอากาศบนเขาและแหล่งเล่นสกียอดนิยมแห่งหนึ่ง บนภูเขาอากาศหนาวเย็นตลอดปี ในฤดูร้อนบนเขามีแสงแดดอบอุ่น แต่ในขณะที่ทางเชิงเขาอากาศร้อนชื้น พื้นที่ทางตอนล่างประกอบไปด้วยจังหวัดไอจิและชิซุโอะกะ ตั้งอยู่ทางชายฝั่งด้านมหาสมุทรแปซิฟิก มีภูมิอากาศอบอุ่นสบาย มีชื่อเสียงเลื่องลือ ในด้านการเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ที่เมืองนะโงะยะ จังหวัดไอจิ และภูเขาไฟฟูจิ ภูเขาไฟที่สูงที่สุดและเป็นสัญญลักษณ์ของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งตั้งตระหง่านอยู่ระหว่างเขตจังหวัดชิซุโอะกะและยะมะน.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและชูบุ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2114

ทธศักราช 2114 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและพ.ศ. 2114 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2131

ทธศักราช 2131 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและพ.ศ. 2131 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2414

ทธศักราช 2414 ตรงกั.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและพ.ศ. 2414 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2419

ทธศักราช 2419 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1876.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและพ.ศ. 2419 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2432

ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและพ.ศ. 2432 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

การฟื้นฟูเมจิ

การฟื้นฟูพระราชอำนาจสมัยเมจิ (Meiji Restoration) หรือ การปฏิวัติเมจิ (Meiji Revolution) การปฏิรูปเมจิ (Meiji Reform) หรือ การปรับปรุงเมจิ (Meiji Renewal) เป็นเหตุการณ์การปฏิรูปประเทศญี่ปุ่นในปี..

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและการฟื้นฟูเมจิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาญี่ปุ่น

ษาญี่ปุ่น (日本語) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่างๆ คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ).

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและภาษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาฟูจิ

ูเขาไฟฟูจิ (Fuji Mountain) เป็นภูเขาที่สูงที่สุดใน ประเทศญี่ปุ่น ราว 3,776 เมตร (12,388 ฟุต) ตั้งอยู่บริเวณ จังหวัดชิซุโอะกะ และ จังหวัดยะมะนะชิ ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของ โตเกียว พื้นที่โดยรอบ ประกอบด้วย ทะเลสาบฟูจิทั้งห้า อุทยานแห่งชาติฟุจิ-ฮะโกะเนะ-อิซุ และ น้ำตกชิระอิโตะ โดยในวันที่อากาศแจ่มใสสามารถมองเห็นจาก โตเกียว ได้ ในปัจจุบันภูเขาได้ถูกจัดโดยนักวิทยาศาสตร์อยู่ในลักษณะของภูเขาไฟที่มีโอกาสปะทุต่ำ ระเบิดครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2250 (ค.ศ. 1707) ยุคเอะโดะ ภูเขาไฟฟูจิ มีชื่อในภาษาญี่ปุ่นว่า "ฟูจิซัง" ซึ่งในหนังสือในสมัยก่อนเรียกว่า "ฟูจิยะมะ" เนื่องจากตัวอักษรคันจิตัวที่ 3 (山) สามารถอ่านได้ 2 แบบทั้ง "ยะมะ" และ "ซัง".

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและภูเขาฟูจิ · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและมหาสมุทรแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ยามาฮ่า

มาฮ่า สำนักงานใหญ่ ยามาฮ่า คอร์ปอร์เรชั่น' เป็นบริษัทจากญี่ปุ่น สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่จังหวัดชิซุโอะกะ ผลิตสินค้าหลายอย่าง ได้แก่เครื่องดนตรี เช่น กีต้าร์ เบส คีย์บอร์ด เครื่องเสียง เครื่องจักร เช่น มอเตอร์ไซค์ และเครื่องยนต์เรือ ยามาฮ่าก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและยามาฮ่า · ดูเพิ่มเติม »

ยุคนาระ

นาระ (ค.ศ. 710 – 794) เมื่อปี..

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและยุคนาระ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคโจมง

มง หมายถึงคาบเวลาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น ประมาณ 14,000 ปีก่อนคริสต์ศักราชถึง 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช นักวิชาการส่วนใหญ่เห็นพ้องกันว่า เมื่อประมาณ 40,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ระหว่างหมู่เกาะญี่ปุ่นกับแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชียยังคงเชื่อมต่อกันด้วยแผ่นน้ำแข็ง โดยอาศัยหลักฐานทางโบราณคดี นักวิชาการสันนิษฐานว่ามนุษย์ Homo sapiens ได้อพยพจากทางตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ของเอเชียมาอาศัยบนหมู่เกาะญี่ปุ่นในช่วง 35,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช และดำรงชีวิตแบบนักล่า-เก็บของป่าและใช้เครื่องมือหิน นักโบราณคดีได้ค้นพบเครื่องมือหิน ที่อยู่อาศัย และซากดึกดำบรรพ์ของมนุษย์ในยุคนั้นทั่วหมู่เกาะญี่ปุ่น นอกจากนี้ การศึกษาใน พ.ศ. 2531 ยังชี้ว่าชาวญี่ปุ่นมีพื้นฐานทางพันธุกรรมร่วมกับชาวเอเชียตะวันออก คำว่า โจมง ในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ลายเชือก ซึ่งสื่อถึงลวดลายบนภาชนะหรือตุ๊กตาดินเผาในยุคนั้นซึ่งทำโดยใช้เชือกพันรอบกิ่งไม้แล้วกดทาบลงบนวั.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและยุคโจมง · ดูเพิ่มเติม »

ยุคโคะฟุง

ฟุง อยู่ในช่วง ค.ศ. 250 - ค.ศ. 538 เมื่อประมาณกลางศตวรรษที่ 4 ชนเผ่าอิสระกลุ่มต่าง ๆ ได้ถูกรวบรวมโดยชนเผ่า ยามาโตะ (大和民族 Yamato-Minzoku) ขณะเดียวกันสุสานที่มีลักษณะพิเศษเป็นรูปกุญแจก็ถูกสร้างขึ้นทั่วไป ความรู้ และวิทยาการต่าง ๆ จากจีนได้หลั่งไหลเข้ามาเป็นจำนวนมากในสมัยนี้ ในศตวรรษที่ 4 ชนเผ่ายามาโตะได้ขึ้นไปคาบสมุทรเกาหลีและรับเอาวัฒนธรรมการผลิตเครื่องใช้ของภาคพื้นทวีปมา ต่อมาในสมัยศตวรรษที่ 5 ชาวเกาหลีได้นำวิทยาการต่าง ๆ เข้ามา เช่น การผลิตเครื่องโลหะ เครื่องปั้นดินเผา การทอผ้า การถลุงเหล็ก และวิศวกรรมโยธา รวมทั้งมีการเริ่มใช้อักษรคันจิซึ่งเป็นตัวอักษรของจีนด้วย และเมื่อเข้าสู่ศตวรรษที่ 6 ลัทธิขงจื้อ กับศาสนาพุทธก็ได้แพร่หลายเข้ามาในญี่ปุ่นเช่นกัน ในศตวรรษที่ 7 เจ้าชายโชะโทะคุ (聖徳太子 Shōtoku-taishi) จัดวางระบบการปกครองโดยรวมอำนาจไว้ที่จักรพรรดิตามแบบราชวงศ์สุยกับราชวงศ์ถังของจีนได้สำเร็จเมื่อครั้งปฏิรูปการปกครองไทขะ (大化の改新 Taika-no-kaishin) และมีการส่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีจนถึงปลายศตวรรษที่ 9 ถึงสิบกว่าครั้ง.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและยุคโคะฟุง · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเอะโดะ

อะโดะ หรือยุคที่เรียกว่า ยุคโทะกุงะวะ (徳川時代 Tokugawa-jidai) ค.ศ. 1603 - ค.ศ. 1868 คือยุคที่มีไดเมียวตระกูลโทะกุงะวะเป็นโชกุน เริ่มเมื่อโทะกุงะวะ อิเอะยะซุ ได้รวบอำนาจและตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นที่เอโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) ใน..

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและยุคเอะโดะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเซ็งโงกุ

ซ็งโงกุ เป็นช่วงเวลาของความไม่สงบใน ญี่ปุ่น อันเกิดจากอำนาจการปกครองของ โชกุนตระกูลอาชิกางะในยุคมูโรมาจิเสื่อมลง ทำให้บรรดาไดเมียวผู้ปกครองแคว้นต่าง ๆ ในญี่ปุ่นต่างพากันตั้งตนเป็นอิสระ โดยเฉพาะไดเมียวที่อยู่ห่างจากเมืองหลวงเกียวโตมาก และทำสงครามกันเอง ทำให้ญี่ปุ่นลุกเป็นไฟ บ้านเมืองไม่มีขื่อแป โชกุนที่เกียวโตไม่สามารถทำอะไรได้เพราะเป็นเพียงหุ่นเชิดของไดเมียวที่มีอำนาจ สมัยเซ็งโงกุเป็นสมัยแห่งวีรบุรุษ โดยเฉพาะวีรบุรุษทั้งสามที่รวมประเทศญี่ปุ่นให้กลับเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งเป็นการสิ้นสุดสมัยเซ็งโงกุ ได้แก่ โอดะ โนบูนางะ, โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ, และ โทกูงาวะ อิเอยาซุ อักษรคันจิของคำว่ายุคเซ็งโงกุ ตรงกับคำว่า "ยุคจ้านกว๋อ" ในภาษาจีน หมายถึง "ยุครณรัฐ" ซึ่งเกิดขึ้นอยู่ในช่วงระหว่าง 477-222 ปีก่อน..

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและยุคเซ็งโงกุ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟ

ี-ซีรีส์ ของประเทศออสเตรเลีย รถไฟความเร็วสูง '''อีเซเอ''' ของประเทศเยอรมนี รถไฟ เป็นกลุ่มของยานพาหนะที่เคลื่อนที่ไปตามรางเพื่อการขนส่งสินค้าหรือผู้โดยสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง รางส่วนใหญ่มักจะประกอบด้วยราง 2 เส้นขนานกัน แต่ยังหมายรวมถึงประเภทรางเดี่ยวหรือประเภทที่ใช้พลังแม่เหล็กด้วย รถไฟจะขับเคลื่อนด้วยหัวรถจักรหรือขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หลายๆตัวที่ติดอยู่ใต้ท้องรถ รถไฟสมัยใหม่จะใช้กำลังจากหัวรถจักรดีเซลหรือจากไฟฟ้าที่ส่งมาตามสายไฟที่อยู่เหนือตัวรถหรือตามรางสาม (Third Rail) เดิม รถไฟขับเคลื่อนโดยใช้หม้อต้มน้ำทำให้เกิดไอน้ำ ไอน้ำทำให้เกิดแรงดัน แรงดันจะทำการขับเคลื่อนกลไกทำให้ล้อรถไฟเคลื่อนที่ได้ การที่ใช้ฟืนเป็นแหล่งพลังงานในการต้มน้ำ และฟืนที่ทำให้เกิดเปลวไฟ ทำให้เรียกรถชนิดนี้ว่า รถจักรไอน้ำ รถไฟแบ่งได้หลายประเภท ได้แก่ หัวรถจักร, รถดีเซลราง, รถโดยสาร และ รถสินค้.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและรถไฟ · ดูเพิ่มเติม »

วอร์ซอ

วอร์ซอ (Warszawa) แผนที่แสดงที่ตั้งของกรุงวอร์ซอ วอร์ซอ (อังกฤษ: Warsaw; โปแลนด์: Warszawa วารฺชาวา) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศโปแลนด์ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำวิสทูลา ห่างจากชายฝั่งทะเลบอลติกประมาณ 370 กิโลเมตร มีประชากรอาศัยอยู่ในตัวเมืองประมาณ 1,726,581 (2014) คน และรวมเขตเมืองด้วยจะประมาณ 2,760,000 คน (ข้อมูล พ.ศ. 2548) ตัวเมืองวอร์ซอมีพื้นที่ 517.24 ตร.กม.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและวอร์ซอ · ดูเพิ่มเติม »

สายหลักโทไกโด

ทางรถไฟ สายหลักโทไกโด เป็นทางรถไฟที่ชุกชุมที่สุด ในประเทศญี่ปุ่น เชื่อมระหว่างมหานครโตเกียว กับ นครโคเบะ ด้วยระยะทางทั้งหมด 589.5 กิโลเมตร โดยไม่นับเส้นทางขนส่งสินค้าระหว่างเมืองรายทาง อีกทั้งรถไฟความเร็วสูง โทไกโด ชิงกันเซ็ง ยังวิ่งขนานไปกับเส้นทางนี้ด้วย สายหลักโทไกโดถูกครอบครองและดำเนินงานโดย 3 บริษัทรถไฟญี่ปุ่น คือ.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและสายหลักโทไกโด · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟฮะมะมะสึ

นีรถไฟฮะมะมะสึ เป็นสถานีรถไฟของรถไฟสายหลักโทไกโดและโทไกโด ชิงกันเซ็งในเมืองฮะมะมะสึ จังหวัดชิซุโอะกะ ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลาง (JR ตอนกลาง) สามารถเดินเท้าจากสถานีนี้ไปขึ้นรถไฟสายเอ็นชูที่สถานีรถไฟชินฮะมะมะสึได้ ซึ่งตั้งอยู่ห่างออกไปราว 3 นาที.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและสถานีรถไฟฮะมะมะสึ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟโตเกียว

นีรถไฟโตเกียว เป็นสถานีรถไฟหลักของกรุงโตเกียว ตั้งอยู่ในย่านมะรุโนะอุชิ (丸の内 Marunouchi) แขวงชิโยะดะ หนึ่งในแขวงพิเศษของกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น อยู่ใกล้กับพระราชวังหลวง และย่านกินซะ สถานีรถไฟโตเกียวให้บริการรถไฟระหว่างเมือง รถไฟท้องถิ่น และรถไฟชิงกันเซ็ง (รถไฟความเร็วสูง) ของกลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น (Japan Railway Group) และรถไฟฟ้าใต้ดินของโตเกียวเมโทร (東京メトロ Tōkyō Metoro) 1 ใน 2 ผู้ให้บริการรถไฟฟ้าใต้ดินของกรุงโตเกียว สถานีรถไฟโตเกียวเป็นสถานีรถไฟที่มีจำนวนรถไฟระหว่างเมืองเข้าออกคับคั่งที่สุดอันดับหนึ่งของญี่ปุ่น (มากกว่า 3,000 เที่ยวต่อวัน) และมีผู้คนสัญจรผ่านมากที่สุดเป็นอันดับ 5 ของภาคตะวันออกของญี่ปุ่น สถานีรถไฟโตเกียวยังเป็นต้นทางและชุมทางของรถไฟชิงกันเซ็งมากขบวนที.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและสถานีรถไฟโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

ฮอนด้า

อนด้า มอเตอร์ หรือ บริษัท อุตสาหกรรมและวิจัยฮอนด้า มหาชนจำกัด เป็นบริษัทผู้ผลิต และจำหน่ายรถยนต์จากประเทศญี่ปุ่น โดยมีผลิตภัณฑ์ รถยนต์ รถบรรทุก จักรยานยนต์ และเครื่องจักรอุตสาหกรรมหนักอีกหลายประเภท ฮอนด้ามีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและฮอนด้า · ดูเพิ่มเติม »

จักรยานยนต์

Crocker ปี 1941 จักรยานยนต์ยามาฮ่า จักรยานยนต์ หรือ มอเตอร์ไซค์ (motorcycle หรือ motorbike) คือยานพาหนะสองล้อที่ใช้เครื่องยนต์หรือมอเตอร์ในการขับเคลื่อน ประเภทของจักรยานยนต์ขึ้นอยู่กับลักษณะการออกแบบใช้งาน เช่น ระยะทาง สภาพจราจร การท่องเที่ยว กีฬา และ การแข่งขัน เป็นต้น.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและจักรยานยนต์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชิซูโอกะ

ังหวัดชิซูโอกะ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในภูมิภาคชูบุ บนเกาะฮนชู เมืองหลักใช้ชื่อเดียวกันคือเมืองชิซูโอกะ (静岡市 Shizuoka-shi) จังหวัดนี้เป็นที่ตั้งของภูเขาฟูจิ (富士山 Fuji-san) และมีชื่อเสียงของการปลูกชาเขียวที่ดีที่สุดในญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและจังหวัดชิซูโอกะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดไอจิ

ังหวัดไอจิ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ในภูมิภาคจูบุ ประเทศญี่ปุ่น เมืองศูนย์กลางคือ นาโง.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและจังหวัดไอจิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานชิซุโอะกะ

ท่าอากาศยานชิซุโอะกะ เป็นท่าอากาศยานในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในจังหวัดชิซุโอะกะ เปิดทำการเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน..

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและท่าอากาศยานชิซุโอะกะ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์

ท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์ ตั้งอยู่ในพื้นที่ถมทะเล ชานเมืองนาโงยะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นท่าอากาศยานแห่งใหม่ (แทนท่าอากาศยานนานาชาติชูบุ - Chubu International Airport) ที่สร้างขึ้นเพื่อรองรับงาน เอกซ์โป 2005 ที่จังหวัดไอชิ เนื่องจากสภาพที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่อยู่กึ่งกลางประเทศญี่ปุ่น จึงสามารถเป็นศูนย์กลางการเดินทางทางอากาศของประเทศที่สำคัญ มีลักษณะพิเศษคือมีพื้นที่พาณิชยกรรมแยกอยู่บนชั้นหนึ่งของอาคารผู้โดยสาร เรียกว่า แอร์ซิตี (Aircity) ประกอบด้วยพื้นที่ขายของแบบตะวันตก แบบญี่ปุ่น และพื้นที่พักผ่อน เช่น โรงอาบน้ำแร่ ทำให้นอกจากเป็นท่าอากาศยานแล้ว ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวของประชาชนในจังหวัดไอชิและพื้นที่ใกล้เคียง สามารถเดินทางระหว่างตัวเมืองนาโงยะได้รถไฟฟ้าความเร็วสูง ภายในเวลา 20 นาที.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซะโด

การชงชาแบบญี่ปุ่น ซะโด หรือ ชะโด หรือ ชาโนะยุ หรือพิธีชงชาญี่ปุ่น เป็นเอกลักษณ์ของประเทศญี่ปุ่นว่าด้วยการใช้เวลาอย่างสุนทรีย์ ประกอบด้วยการปรนนิบัติระหว่างการดื่มและการดื่มชาผงสีเขียวหรือมัทชา (matcha) การจัดการพบปะกันในวงสังคมเพื่อดื่มมัทชาได้แพร่หลายในบรรดาชนชั้นสูงนับตั้งแต่ประมาณศตวรรษที่ 14 ต้นฉบับของพิธีชงชา รูปแบบของซะโดซึ่งปฏิบัติกันอยู่ในปัจจุบัน ยุคนาระ โดยมีผู้เชี่ยวชาญด้านชาคือ เซ็น โนะ ริคิว (Sen no Rikyu) ซะโดมีลักษณะที่เป็นแบบแผน ได้พัฒนาภายใต้อิทธิพลของพุทธศาสนานิกายเซ็นซึ่งจุดประสงค์สามารถอธิบายได้ด้วยคำพูดเรียบง่าย คือเพื่อทำวิญญาณให้บริสุทธิ์โดยการเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับธรรมชาติหัวใจแท้จริงของพิธีชงชาได้รับการบรรยายโดยคำต่าง ๆ เช่น ความสงบ ความเรียบง่าย ความสง่างาม และ สุนทรียศาสตร์แห่งความเรียบง่ายอันเข้มงวดและความยากจนที่ประณีต ซะโดยังมีบทบาทสำคัญในด้านชีวิตด้านศิลปะของชาวญี่ปุ่น พิธีชงชาจะเกี่ยวข้องกับการชื่นชมห้องที่ประกอบพิธี ส่วนที่ติดอยู่ในห้องนั้น เครื่องใช้ในการชงชา เครื่องประดับบริเวณพิธี เช่น ภาพแขวนหรือการจัดดอกไม้ สถาปัตยกรรมญี่ปุ่น การจัดสวน เครื่องปั้นดินเผาเซรามิก สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ก็ล้วนแต่ได้รับอิทธิพลมาจากพิธีชงชา และความเป็นพิธีการที่ถือปฏิบัติในพิธีชงชาได้มีอิทธิพลต่อการพัฒนามารยาทของชาวญี่ปุ่นในลักษณะที่เป็นพื้นฐาน ภายหลังที่เซ็น โนะ ริคิว ถึงแก่กรรมในปี..

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและซะโด · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและประเทศโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาคาร์ป

ปลาคาร์ป (Carp) เป็นสกุลของปลาน้ำจืด ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Cyprinus (/ไซ-พริน-อัส/) เป็นปลาที่มีลำตัวป้อมยาวและแบนข้าง มีจุดเด่น คือ มีหนวดที่ริมฝีปาก อันเป็นลักษณะสำคัญของสกุล เป็นปลาที่มนุษย์รู้จักเป็นอย่างดี โดยเชื่อว่าเป็นปลาชนิดแรกที่ได้มีการเลี้ยง เป็นระยะเวลานานกว่า 2,000 ปีมาแล้ว ในฐานะการเลี้ยงเพื่อการบริโภคเป็นอาหาร ต่อมาชาวจีนก็ได้ ปรับปรุงสายพันธุ์ให้มีสีสันสวยงามขึ้นกว่าเดิม จนกลายเป็นปลาสวยงามเช่นในปัจจุบัน เป็นปลาที่กระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในทวีปเอเชีย ตั้งแต่ เอเชียเหนือ, เอเชียตะวันออก, เอเชียกลาง ไปจนถึงอิหร่าน ในภูมิภาคตะวันออกกลาง หลายชนิดเป็นปลาเฉพาะถิ่นที่พบได้แต่เฉพาะในประเทศจีนเท่านั้น และบางชนิดก็สูญพันธุ์ไปแล้ว.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและปลาคาร์ป · ดูเพิ่มเติม »

นวศิลป์

นวศิลป์ หรือ อาร์นูโว ("ศิลปะใหม่") รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า ยูเกินท์ชตีล ("แบบอย่างของวารสารศิลปะที่มีชื่อว่ายูเกินท์") เป็นลักษณะศิลปะ สถาปัตยกรรม และศิลปะประยุกต์ ซึ่งได้รับความนิยมสูงสุดในช่วง..

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและนวศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

นาโงยะ

นครนาโงยะ เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในภาคชูบุ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บนชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกบนเกาะฮนชู เป็นเมืองเอกของจังหวัดไอชิและเป็นหนึ่งในเมืองท่าหลักของญี่ปุ่น ซึ่งประกอบด้วย โตเกียว, โอซะกะ, โคเบะ, โยะโกะฮะมะ, ชิบะ และ คิตะกีวชู นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางของเขตมหานครที่ใหญ่เป็นอันดับสามของญี่ปุ่นที่เรียกว่า เขตมหานครชูเกียว ซึ่งมีประชากรกว่า 9.1 ล้านคน.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและนาโงยะ · ดูเพิ่มเติม »

นครที่ตั้งขึ้นโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น

นครที่ตั้งขึ้นโดยข้อบัญญัติรัฐบาล (政令指定都市; city designated by government ordinance) หรือ นครจัดตั้ง (指定都市; designated city) คือเมืองที่มีสถานะเป็น นคร (都市) ในประเทศญี่ปุ่น มีประชากรมากกว่า 5 แสนคน มีส่วนสำคัญในด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และพิจารณาได้ว่าเป็นนครที่มีขนาดใหญ่ของประเท.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและนครที่ตั้งขึ้นโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

โชกุน

กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและโชกุน · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ อิเอยาซุ

ทกูงาวะ อิเอยาซุ คือผู้สถาปนาบะกุฟุ (รัฐบาลทหาร) ที่เมืองเอะโดะ (โตเกียวในปัจจุบัน) และเป็นโชกุนคนแรกจากตระกูลโทกูงาวะที่ปกครองประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่สิ้นสุด ศึกเซะกิงะฮะระและเริ่มต้นยุคเอะโดะ เมื่อปี..

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและโทกูงาวะ อิเอยาซุ · ดูเพิ่มเติม »

โทไกโดชิงกันเซ็ง

| โทไกโด ชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งเส้นทางแรก เปิดให้บริการในปี..

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

ไดเมียว

ไดเมียว (แปลว่า มูลนาย) นั้นเป็นตำแหน่งเจ้าเมืองที่มีความสำคัญรองลงมาจากโชกุนและไดเมียวจากหลายตระกูลก็ได้เป็นโชกุนในเวลาต่อมา พวกตระกูลที่มีฐานะเป็นไดเมียวเรียกกันว่า โคตรตระกูล หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ไดเมียว.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและไดเมียว · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดริก ชอแป็ง

ฟรเดริก ชอแป็ง เฟรเดริก ฟร็องซัว ชอแป็ง (Frédéric François Chopin) หรือ ฟรือแดรึก ฟรันต์ซีเชก ชอแป็ง (Fryderyk Franciszek Chopin บางครั้งสะกดว่า Szopen) เป็นคีตกวีชาวโปแลนด์ เกิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2353 (ค.ศ. 1810) เสียชีวิตเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2392 (ค.ศ. 1849) จากวัณโรคที่ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจ ชื่อที่บิดามารดาของเขาตั้งให้คือ "Fryderyk Franciszek Chopin" ต่อมาได้หันมาใช้ชื่อเป็นภาษาฝรั่งเศสเมื่อเขาได้ตัดสินใจจากประเทศบ้านเกิดเป็นการถาวรเพื่อมุ่งหน้าสู่กรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและเฟรเดริก ชอแป็ง · ดูเพิ่มเติม »

เกียวโต (นคร)

แผนที่ ไดไดริ (แบบจำลอง) ของนครเฮอังเกียว เกียวโต, 1891 นักท่องเที่ยวที่วัดคิโยะมิซุ นครเกียวโต (ออกเสียง: เคียวโตะ) เป็นเมืองหลักของจังหวัดเกียวโต และเป็นอดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจัดว่าเป็นศูนย์กลางของเกาะฮนชู นอกจากนี้ นครเกียวโตยังเป็นหนึ่งในสมาชิกของ กลุ่มเมืองใหญ่ "เคฮันชิง" และนครเกียวโต ยังจัดว่าเป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 11 ของโลก ในปี..

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและเกียวโต (นคร) · ดูเพิ่มเติม »

เกี๊ยะ

กี๊ยะ (Pine) เป็นต้นสนชนิดหนึ่ง เป็นหมู่สนในสกุลไพนัส (Pinus) ในวงศ์สนเขา ปัจจุบันได้รับการยอมรับว่ามีอยู่ทั้งสิ้น 126 สายพันธุ์ และยังมีอีก 35 สายพันธุ์ที่รอการพิสูจน์ สนในหมู่นี้สามารถติดไฟได้ดีที่สุด ซึ่งมักจะเป็นสาเหตุของไฟป่า สนหมู่เกี๊ยะถูกแบ่งออกเป็น 3 หมู่ย่อย (subgenera) ซึ่งจำแนกตามลักษณะเมล็ด ใบ และ พุ่ม อันประกอบด้วย.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและเกี๊ยะ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองพี่น้องและเมืองแฝด

ฟีนิกซ์ รัฐแอริโซนา เมืองพี่น้อง (Sister cities) และเมืองแฝด (Twin cities) เป็นคำที่ใช้เรียกเมืองที่การเจริญสัมพันธไมตรีอันดีต่อกัน (ส่วนใหญ่จะเป็นเมืองที่อยู่กันคนละประเทศ) โดยมีความร่วมมือกันระหว่างเมือง หรือระหว่างประเทศ เพื่อช่วยเหลือการพัฒนาเมืองในด้านต่าง ๆ และสนับสนุนความเข้าใจระหว่างวัฒนธรรม มีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ถ่ายทอดซึ่งกันและกัน นำสิ่งดีๆที่อีกฝ่ายหนึ่งมี มาพัฒนาต่อยอดเมืองของตนเอง หรือในบางครั้ง เมืองพี่เมืองน้อง มักจะถูกตีความไปตามลักษณะเมืองที่มีความคล้ายคลึงกัน ทางด้านศิลปวัฒนธรรมประเพณี ชีวิตความเป็นอยู่ ตลอดจนสภาพสิ่งแวดล้อมของเมืองที่คล้ายคลึงกัน เราก็เรียกว่าเมืองพี่เมืองน้องได้ อย่างเช่น เมืองปายกับวังเวียง ที่มีบรรยากาศของเมืองพักกลางทางท่ามกลางขุนเขา ลำน้ำ และสายหมอกเหมือนกัน หรืออย่าง จังหวัดยโสธรกับเมืองโยชิดะ ประเทศญี่ปุ่น ที่ได้รับการเรียกว่าเป็นเมืองคู่แฝด เพราะมีประเพณีการเล่นบั้งไฟคล้ายคลึงกัน ในเมืองไทยมีหลายจังหวัดที่มีการเจริญความสัมพันธ์อันดีเป็นเมืองพี่เมืองน้องกับเมืองต่างๆทั่วโลก หรือเป็นเมืองพี่เมืองน้องกันเองภายในประเทศ อย่างกรุงเทพมหานคร ที่สถาปนาเมืองพี่เมืองน้องระหว่างกรุงเทพมหานคร.กับจังหวัดแพร่ ภายหลังจากที่ กรุงเทพฯได้ทำการบูรณปฏิสังขรณ์เสาชิงช้า โดยได้รับความร่วมมือจากจังหวัดแพร่ในการอนุญาตให้พลีต้นสักทองจำนวน 6 ต้น เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 ที่อำเภอเด่นชัย มาทำเป็นเสาชิงช้าต้นใหม่ หรือการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างจังหวัดสุพรรณบุรีกับเมือง Courtenay ประเทศแคนาดา ความเป็นเมืองพี่เมืองน้องระหว่างจังหวัดภูเก็ตกับเมืองนีซ ประเทศฝรั่งเศส จังหวัดเพชรบุรี กับข้อตกลงการสถาปนาความสัมพันธ์เมืองพี่ เมืองน้องระหว่างจังหวัดเพชรบุรีกับเมืองพารามัตตา ประเทศออสเตรเลีย เหล่าล้วนเป็นแบบอย่างในการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างเมืองและประชากรทั้งสองประเทศให้แนบแน่นยิ่งขึ้น.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและเมืองพี่น้องและเมืองแฝด · ดูเพิ่มเติม »

เขตฮะมะกิตะ

ตฮะมะกิตะ เป็นหนึ่งใน 7 เขตของเมืองฮะมะมะสึ (浜松市 Hamamatsu-shi) จังหวัดชิซุโอะกะ (静岡県 Shizuoka-ken) ประเทศญี่ปุ่น รอบล้อมด้วยเขตเท็นรีว (天竜区 Tenryū-ku) เขตตะวันออก หรือฮิงะชิ (東区 Higashi-ku) เขตกลาง หรือนะกะ (中区 Naka-ku) และเมืองอิวะตะ (磐田市 Iwata-shi) โดยมีแม่น้ำเท็นรีว (天竜川 Tenryū-gawa) และเทือกเขาอะไคชิซันยะคุ (赤石山脈 Akaishi Sanmyaku) เป็นพรมแดนธรรมชาติ เขตฮะมะกิตะ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 2007 ณ ค.ศ. 2009 ซึ่งเป็นวันเดียวกับวันที่เมืองฮะมะมะสึได้รับการยกขึ้นเป็นเมืองเช่นกัน มีประชากร 90,817 คน อาศัยอยู่ในพื้นที่ 66.51 ตารางกิโลเมตรของอำเภอฮะมะกิตะ คิดเป็นความหนาแน่นประชากร 1,370 ต่อตารางกิโลเมตร ที่ว่าการอำเภอฮะมะกิตะ หมวดหมู่:จังหวัดชิซุโอะกะ.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและเขตฮะมะกิตะ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องดนตรี

รื่องดนตรี คือ อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมา หรือปรับจากอุปกรณ์อื่น ๆ เพื่อใช้งานสำหรับการผลิตเสียงดนตรี หรือสร้างเสียงสำหรับใช้ประกอบในการร้องรำทำเพลง โดยหลักการแล้ว อุปกรณ์ใดก็ตามที่สามารถนำมาใช้ผลิตเสียงดนตรี ย่อมเรียกว่า เครื่องดนตรี ได้ทั้งสิ้น ผู้ที่ใช้เครื่องดนตรีนั้น เรียกว่านักดนตรี.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและเครื่องดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและ1 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 กันยายน

วันที่ 1 กันยายน เป็นวันที่ 244 ของปี (วันที่ 245 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 121 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ฮะมะมะสึและ1 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ฮะมะมัตสึฮามามัตสึ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »