โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อำเภอปากเกร็ด

ดัชนี อำเภอปากเกร็ด

ปากเกร็ด เป็นเป็นอำเภอที่มีตำบลมากที่สุดในจังหวัดนนทบุรี ที่ตั้งมีแม่น้ำเจ้าพระยาตัดผ่านตัวอำเภอ สภาพพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกส่วนใหญ่เป็นสวนผลไม้ต่าง ๆ ไร่นา ท้องทุ่ง ปศุสัตว์ ดังเช่นในชนบท ส่วนทางฝั่งตะวันออกมีที่พักอาศัย อุตสาหกรรม ห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนตร์ ซูเปอร์มาร์เก็ต และยังเป็นที่ตั้งหน่วยงานราชการส่วนกลางของประเทศ ในอดีตอำเภอปากเกร็ดเคยขึ้นกับจังหวัดพระนครอยู่ช่วงหนึ่ง และบางตำบลเคยอยู่ในอำเภอบางบัวทอง.

60 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2427พ.ศ. 2463พ.ศ. 2470พ.ศ. 2475พ.ศ. 2486พ.ศ. 2489พ.ศ. 2490พ.ศ. 2505พ.ศ. 2532พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานกรุงเทพมหานครมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชวัดปรมัยยิกาวาสศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานีสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9สะพานสะพานพระราม 4สะพานนนทบุรีหมู่บ้านอำเภอบางบัวทองอำเภอลาดหลุมแก้วอำเภอเมืองปทุมธานีอำเภอเมืองนนทบุรีจังหวัดพระนครจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนนทบุรีถนนถนนชัยพฤกษ์ถนนกาญจนาภิเษกถนนราชพฤกษ์ถนนศรีสมานถนนแจ้งวัฒนะถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345ท่าเรือปากเกร็ดคลองประปาคลองเปรมประชากรตำบลตำบลบางพลับ (อำเภอปากเกร็ด)แม่น้ำลัดเกร็ดแม่น้ำเจ้าพระยาโรงเรียนชลประทานวิทยาโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีโรงเรียนปากเกร็ดเกาะเกร็ดเทศบาลนครปากเกร็ดเขตบางเขนเขตการปกครองของประเทศไทย...เขตหลักสี่เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งประเทศไทยเขตดอนเมือง1 มกราคม1 มิถุนายน10 มกราคม16 มกราคม26 ตุลาคม8 พฤษภาคม9 พฤษภาคม ขยายดัชนี (10 มากกว่า) »

พ.ศ. 2427

ทธศักราช 2427 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1884 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและพ.ศ. 2427 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและพ.ศ. 2463 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและพ.ศ. 2470 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน

ห้องประชุมภายในราชบัณฑิตยสถาน (ที่ทำการเดิม) หลังการประชุมชำระพจนานุกรม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เป็นพจนานุกรมอธิบายศัพท์ภาษาไทยที่ราชบัณฑิตยสภา (หรือราชบัณฑิตยสถานเดิม) จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการเขียนหนังสือไทยให้เป็นระเบียบเดียวกัน ไม่ลักลั่น โดยมีการปรับปรุงแก้ไขตามลำดับเรื่อยมา เมื่อราชบัณฑิตยสภาจัดพิมพ์พจนานุกรมรุ่นหนึ่ง ๆ แล้วเสร็จ จะเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ออก ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ระเบียบการใช้ตัวสะกด ให้หนังสือราชการและการศึกษาเล่าเรียนใช้ตัวสะกดตามพจนานุกรมรุ่นนั้น ๆ เสมอไป.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ื่อย่อ: ม., STOU) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช" ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2521 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พุทธศักราช 2521 มหาวิทยาลัยจึงกำหนดวันที่ 5 กันยายน ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีแบบมหาวิทยาลัยเปิดโดยรับนักศึกษาไม่จำกัดจำนวน ปัจจุบันมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชเปิดการศึกษาถึงระดับดุษฎีบัณฑิตในบางสาขาวิชา โดยมีการสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาเหมือนมหาวิทยาลัยปิดทั่วไป มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชไม่มีชั้นเรียนตามปกติเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป แต่ดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกล ซึ่งจัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองจากเอกสารชุดวิชาจากสื่อสารสนเทศต่าง ๆ ที่ทางมหาวิทยาลัยจัดไว้ให้นักศึกษา เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อต่าง ๆ เป็นต้น ผู้ที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชในอดีต ได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจากพระหัตถ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่ในปัจจุบันสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชดำเนินปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจนถึงปัจจุบัน ภายหลัง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้ออกประกาศที่ 1/2560 เข้าควบคุมมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

วัดปรมัยยิกาวาส

วัดปรมัยยิกาวาส เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 51 หมู่ที่ 7 ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี วัดปรมัยยิกาวาสเป็นวัดโบราณ น่าจะสร้างหลังจากพระเจ้าท้ายสระโปรดให้ขุดคลอง เมื่อ พ.ศ. 2264 ชาวเรือเรียก วัดปากอ่าว จนปี พ.ศ. 2307 พม่าบุกยึดเมืองนนทบุรี กลายเป็นวัดร้างเมื่อปี พ.ศ. 2317 ชาวมอญที่อพยพมาในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้บูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ คนมอญเรียกว่า "เภี่ยมู้เกี้ยเติ้ง" ในปี พ.ศ. 2417 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทอดกฐินวัดมอญ 4 วัด ได้แก่ วัดปากอ่าว วัดรามัญ (วัดเกาะพญาเจ่ง) วัดบางพัง และวัดสนาม (สนามเหนือ) ต่อมาทรงเห็นว่าวัดปากอ่าวทรุดโทรมมาก จึงโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์วัดใหม่ทั้งวัดโดยรักษารูปแบบมอญไว้ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล สนองพระคุณพระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร ผู้ทรงอภิบาลพระองค์มาแต่ทรงพระเยาว์ และได้พระราชทานนามวัดว่า วัดปรมัยยิกาวาส ซึ่งมีความหมายว่า "วัดของพระบรมอัยยิกา" สิ่งสำคัญภายในวัดมีพระอุโบสถที่มีภาพจิตรกรรมฝาผนังแบบไทยประยุกต์ บานประตูหน้าต่างประดับ ลายปูนปั้นเขียนด้วยสี กำแพงแก้วรอบพระอุโบสถมีลวดลายที่สวยงาม เป็นกำแพงเหล็กอย่างดีทำมาจากยุโรป อีกทั้งด้านหลังพระอุโบสถมีพระเจดีย์รูปทรงแบบมอญซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่พระมหารามัญเจดีย์นี้ เมื่อปี พ.ศ. 2427 และใกล้กันนั้นมีพระวิหารซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ขนาดใหญ่เป็นที่สามในอำเภอปากเกร็ด ส่วนด้านหน้าพระวิหารเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหินอ่อน ซึ่งพระปฏิมากรซานซิวซูนทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และมี "พระนนทมุนินท์" เป็นพระพุทธรูปปางขัดสมาธิเพชร หน้าตักกว้าง 1 เมตร สูง 1.65 เมตร หล่อด้วยโลหะ พระศาสนโสภณ (อ่อน) เจ้าคณะมณฑลกรุงเทพสร้างเป็นพระพุทธรูปประจำเมืองนนทบุรี พระยาราชสงครามเป็นผู้อัญเชิญมาประดิษฐานไว้ด้านใต้พระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร มีประเพณีของเมืองสืบมาว่า เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรีย้ายมาดำรงตำแหน่งใหม่ ได้จัดพิธีรับอย่างเป็นทางการพร้อมมีพิธีนมัสการพระพุทธรูปประจำเมืองนนทบุรีที่วัดแห่งนี้ สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นพระพุทธรูปประจำจังหวัดนนทบุรีประดิษฐานอยู่ในตู้กระจก ใต้พาไล ด้านหลังพระวิหารแห่งนี้ด้วย วัดมอญเก่าแก่แห่งนี้มีต้นไม้ใหญ่ให้ร่มเงามากมาย ทั้งยังมีม้านั่งสำหรับชมทัศนียภาพอันสวยงามริมเกาะอีกด้วย นับได้ว่า เป็นวัดที่เชิดหน้าชูตาของชาวเกาะเกร็ดเป็นอย่างมากทีเดียว.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและวัดปรมัยยิกาวาส · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี

ูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี (IMPACT Arena, Exhibition and Convention Center, Muang Thong Thani) เป็นศูนย์จัดแสดงสินค้าและการประชุมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ตั้งอยู่ภายในพื้นที่ของเมืองทองธานี ในเขตอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โดยในแต่ละปีจะมีการจัดงานอีเวนท์ต่างๆ มากกว่า 400 งาน และมีผู้เยี่ยมชมมากกว่า 15 ล้านรายต่อปี.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9

มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 หรือ สมเด็จพระที่นั่งท้ายสระพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า 347 หรือ พระเจ้าท้ายสระนามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 165 หรือ พระเจ้าภูมินทราชา หรือ พระเจ้าบรรยงก์รัตนาสน์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 30 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สามแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สะพาน

น Akashi-Kaikyō ในญี่ปุ่นเป็นสะพานแขวนที่ยาวที่สุดในโลก สะพานจากท่อนซุง เชื่อมต่อเพื่อใช้ข้ามแม่น้ำ สะพาน คือโครงสร้างที่เชื่อมต่อระหว่างฝั่งสำหรับข้ามหุบเขา แม่น้ำ ถนน ทางรถไฟ หรือพื้นน้ำต่างๆ การออกแบบความสูงของสะพาน จะขึ้นอยู่กับสิ่งกีดขวางด้านล่าง รวมถึงการจราจรด้านล่าง (เช่น รถ เรือ สามารถผ่านได้) การก่อสร้างสะพานมีจุดประสงค์เพื่อให้การสัญจรมีการต่อเนื่องระหว่างทางที่มีการสร้างไว้แล้ว555.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและสะพาน · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระราม 4

นพระราม 4 (Rama IV Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมการคมนาคมระหว่างพื้นที่ตำบลบางตะไนย์กับตำบลปากเกร็ด อำเภอปากเกร็ด ทางตอนเหนือของจังหวัดนนทบุรี โดยสร้างเป็นส่วนต่อจากสะพานลอยรถข้ามห้าแยกปากเกร็ดตามแนวถนนแจ้งวัฒนะ ยกระดับเหนือถนนแจ้งวัฒนะย่านกลางเมืองปากเกร็ด ข้ามแม่น้ำตรงด้านเหนือของเกาะเกร็ด แล้วเชื่อมต่อกับถนนชัยพฤกษ์ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำ (ก่อนที่จะไปบรรจบถนนราชพฤกษ์) สะพานแห่งนี้สร้างขึ้นตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่อำเภอปากเกร็ด อำเภอบางบัวทอง อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2540 โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณห้าแยกปากเกร็ดและถนนเชื่อมต่อ เพื่ออำนวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่การคมนาคม การขนส่ง และการจราจร กรมทางหลวงชนบทได้เริ่มดำเนินการก่อสร้างถนนตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2546กรมทางหลวงชนบท.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและสะพานพระราม 4 · ดูเพิ่มเติม »

สะพานนนทบุรี

นนนทบุรี สะพานนนทบุรี (Nonthaburi Bridge) หรือชื่อที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า สะพานนวลฉวี เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมพื้นที่ตำบลบ้านใหม่ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เข้ากับตำบลบางขะแยง อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี เป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กที่สร้างข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นสะพานแรก ๆ ของประเทศไทย ปัจจุบันสะพานนี้มีอายุกว่า 50 ปีแล้ว ที่เรียกกันว่าสะพาน นวลฉวี เพราะเกี่ยวข้องกับคดีฆาตกรรม นวลฉวี เมื่อปี พ.ศ. 2502.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและสะพานนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางบัวทอง

งบัวทอง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี ในอดีตมีพื้นที่กว้างใหญ่มากโดยคลุมพื้นที่อำเภอไทรน้อย อำเภอบางใหญ่ และบางส่วนของอำเภอปากเกร็ด (ปัจจุบันแยกออกไปแล้ว) มีประวัติศาสตร์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2445 เดิมพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม แต่ปัจจุบันเมื่อความเจริญจากกรุงเทพมหานครแผ่ขยายออกมาจนถึงบางบัวทอง ทำให้มีหมู่บ้านจัดสรร บริษัทห้างร้าน สำนักงานจำนวนมาก รวมถึงหน่วยงานราชการต่าง ๆ ทยอยย้ายเข้ามาอยู่ในท้องที่นี้ แต่ก็ยังคงเห็นท้องนาบางส่วนอยู่ นอกจากนี้ อำเภอบางบัวทองยังเป็นอำเภอที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของจังหวัดนนทบุรีด้วย (และมีความหนาแน่นมากเป็นอันดับ 3).

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและอำเภอบางบัวทอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอลาดหลุมแก้ว

ลาดหลุมแก้ว เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและอำเภอลาดหลุมแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองปทุมธานี

อำเภอเมืองปทุมธานี เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี มีประชากรจำนวนกว่า 1.9 แสนคน ประกอบด้วยตำบล 14 ตำบล และเป็นที่ตั้งของศูนย์ราชการของจังหวัดปทุมธานีอีกด้วย อำเภอเมืองปทุมธานีเป็นอำเภอมีความหนาแน่นเฉลี่ยของประชากรสูงถึง 1,421 คนต่อตารางกิโลเมตร และมีความเจริญกระจายตัวอย่างทั่วถึงทั้งอำเภอ ตรงกลางอำเภอมีแม่น้ำเจ้าพระยาผ่ากลางอำเภอ.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและอำเภอเมืองปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองนนทบุรี

มืองนนทบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา เศรษฐกิจ และการสาธารณสุขของจังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและอำเภอเมืองนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนคร

รถรางในจังหวัดพระนครก่อนที่จะถูกยกเลิกไป อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในอดีต ตราประจำจังหวัดพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นจังหวัดในอดีตของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ถนน

นน เป็นทางสัญจรทางบกระหว่างสถานที่สองแห่ง ที่ได้รับการปูพื้นผิว หรือได้รับการปรับปรุงเพื่อให้การเดินทางทางเท้าหรือยานพาหนะต่าง ๆ รวมถึงม้า เกวียน จักรยาน และยานยนต์ ถนนประกอบด้วยหนึ่งหรือสองช่องทาง ได้แก่ ทิศเดียวกัน กับทิศสวนทางกัน โดยแต่ละฝั่งมีช่องจราจรตั้งแต่หนึ่งช่องขึ้นไป และบางครั้งอาจมีทางเท้า ถนนที่สร้างขึ้นเพื่อส่วนรวมอาจเรียกว่าถนนสาธาณะ หรือทางหลวง.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและถนน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนชัยพฤกษ์

นนชัยพฤกษ์ (Thanon Chaiyaphruek) หรือ ทางหลวงชนบท น.3030 สายชัยพฤกษ์ เป็นเส้นทางการคมนาคมในพื้นที่อำเภอปากเกร็ดและอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี โดยเป็นถนนแอสฟัลต์คอนกรีตขนาด 6 ช่องทางจราจร เขตทางกว้าง 60 เมตรกรมทางหลวงชนบท.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและถนนชัยพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกาญจนาภิเษก

นนกาญจนาภิเษก (Thanon Kanchanaphisek) หรือ ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 เป็นถนนสายสำคัญที่มีเส้นทางเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมืองกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ รวมถึงผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 168 กิโลเมตร ถนนสายนี้สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจราจรที่ติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีปริมาณการจราจรและการขนส่งเพิ่มขึ้น อันเป็นผลจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเป็นทางเลี่ยงเมืองกรุงเทพมหานครที่เป็นตัวเชื่อมทางสายหลักเข้าไปสู่ทุกภาคของประเทศ เริ่มก่อสร้างครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและถนนกาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชพฤกษ์

นนราชพฤกษ์ (Thanon Ratchaphruek) หรือ ทางหลวงชนบท น.3021 สายราชพฤกษ์ เป็นถนนที่ทอดยาวจากกรุงเทพมหานครสู่จังหวัดนนทบุรี เป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญสายหนึ่ง โดยสามารถเดินทางจากถนนสาทรถึงอำเภอบางบัวทองได้โดยไม่ต้องผ่านทางแยกสัญญาณไฟจราจร (ไม่ติดไฟแดง) แม้แต่แห่งเดียว.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและถนนราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนศรีสมาน

แนวถนนศรีสมาน (เส้นสีน้ำเงิน) ถนนศรีสมาน (Thanon Si Saman) เป็นถนนคอนกรีตสี่ช่องทางมีเกาะกลางในเขตตำบลบ้านใหม่ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาลนครปากเกร็ด เริ่มตั้งแต่ทางแยกสวนสมเด็จฯ ที่ถนนติวานนท์ตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับทางพิเศษอุดรรัถยา และไปสิ้นสุดที่ทางแยกถนนสรงประภาตัดกับถนนประชาชื่น-ปากเกร็ด รวมระยะทางประมาณ 2.6 กิโลเมตร.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและถนนศรีสมาน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนแจ้งวัฒนะ

นนแจ้งวัฒนะ ถนนแจ้งวัฒนะ (Thanon Chaeng Watthana) เป็นถนนสายหนึ่งในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เขตหลักสี่ และเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่นายชลอ แจ้งวัฒนะ อดีตนายช่างกำกับแขวงการทางกรุงเทพที่ 2 กรมทางหลวง ซึ่งเป็นนายช่างที่ควบคุมการก่อสร้างถนนสายนี้ - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและถนนแจ้งวัฒนะ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด

นนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด หรือ ทางหลวงชนบท น.3019 เป็นถนนที่อยู่ในเขตอำเภอเมืองนนทบุรีและอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มีแนวสายทางเริ่มจากถนนสามัคคีบริเวณใกล้กับจุดตัดถนนติวานนท์ ไปทางทิศเหนือ ตัดข้ามถนนแจ้งวัฒนะ จากนั้นจึงโค้งไปทางทิศตะวันตก บรรจบกับถนนติวานนท์ ถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ดสร้างขึ้นเพื่อให้รถที่ต้องการไป-กลับระหว่างจังหวัดนนทบุรีกับจังหวัดปทุมธานี สามารถเดินทางได้โดยไม่ต้องผ่านห้าแยกปากเกร็ด ซึ่งถนนติวานนท์ช่วงห้าแยกปากเกร็ด จะมีรถสัญจรเยอะมากและไม่มีไหล่ทาง ทำให้การจราจรติดขัดในชั่วโมงเร่งด่วน หมวดหมู่:ถนนในจังหวัดนนทบุรี หมวดหมู่:ถนนวงแหวนและถนนเลี่ยงเมือง นบ.3019.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 สายพระราม 7–บางพูน เป็นทางหลวงแผ่นดินที่ก่อสร้างเลียบแม่น้ำเจ้าพระยาทางฝั่งตะวันออก โดยเริ่มต้นตั้งแต่ในเขตกรุงเทพมหานคร บริเวณหน้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เข้าเขตจังหวัดนนทบุรี ผ่านท้องที่อำเภอเมืองนนทบุรีและอำเภอปากเกร็ด เข้าสู่เขตจังหวัดปทุมธานี มีขนาด 6 ช่องจราจรตลอดเส้นทาง.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 สายแยกสวนสมเด็จ–แยกปทุมวิไล บางครั้งเรียกว่า ถนนนนทบุรี–ปทุมธานี, ถนนกรุงเทพฯ–ปทุมธานี และ ถนนปทุมธานีสายนอก เป็นทางหลวงแผ่นดินในความควบคุมของหมวดทางหลวงนนทบุรี แขวงทางหลวงนนทบุรี และหมวดทางหลวงลาดหลุมแก้ว แขวงทางหลวงปทุมธานี (หน่วยงานสังกัดกรมทางหลวง) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 เป็นเส้นทางที่ต่อมาจากถนนศรีสมานที่แยกสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ (จุดตัดกับถนนติวานนท์) ข้ามสะพานนนทบุรี เลี้ยวขวาที่แยกบางคูวัด มุ่งสู่ตัวจังหวัดปทุมธานี ไปบรรจบถนนปทุมสัมพันธ์และถนนปทุมลาดหลุมแก้วที่แยกปทุมวิไล รวมระยะทางประมาณ 10.8 กิโลเมตร.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345 สายบางบัวทอง–บางพูน เป็นถนนสายหนึ่งในจังหวัดนนทบุรีเชื่อมต่อกับจังหวัดปทุมธานี ต้นทางอยู่ที่ทางแยกต่างระดับบางบัวทอง (จุดตัดกับถนนกาญจนาภิเษกและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340) อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านจุดตัดกับถนนราชพฤกษ์ที่ทางแยกต่างระดับขุนมหาดไทย ตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 (นนทบุรี-ปทุมธานี) ที่แยกบางคูวัด อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ตัดกับถนนติวานนท์ที่แยกปู่โพธิ์ เลียบคลองรังสิตประยูรศักดิ์ไปทางทิศเดิม จากนั้นโค้งไปทางทิศเหนือไปบรรจบถนนรังสิต-ปทุมธานีที่แยกบางพูน.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345 · ดูเพิ่มเติม »

ท่าเรือปากเกร็ด

ท่าเรือปากเกร็ด ในปี พ.ศ. 2551 ท่าเรือปากเกร็ด หรือ ท่าน้ำแจ้งวัฒนะ หรือ ท่าน้ำสะพานพระราม 4 เป็นท่าน้ำริมแม่น้ำเจ้าพระยาหลายท่าใกล้เคียงกัน บริเวณด้านล่างสะพานพระราม 4 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตเทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ประกอบด้วยท่าเรือด่วนเจ้าพระยา และท่าเรือข้ามฟาก.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและท่าเรือปากเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

คลองประปา

ลองประปา เป็นคลองขุดขึ้นตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยทรงเห็นว่าในขณะนั้นประชาชนทั่วไปยังคงใช้น้ำที่ไม่สะอาด โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง น้ำทะเลจะเข้าถึงแม่น้ำเจ้าพระยาได้ ดำเนินการโดยเจ้าพระยาเทเวศรวงศ์วิวัฒน์ ผู้บัญชาการกรมสุขาภิบาล ในระยะแรกได้กั้นแม่น้ำน้อย หรือคลองเชียงรากในปัจจุบันกักน้ำไว้ เรียกว่าคลองขัง แล้วขุดคลองจากแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณวัดสำแลที่น้ำทะเลขึ้นไปไม่ถึง เข้ามาที่คลองขัง จากนั้นจึงขุดคลองอ้อมไปออกคลองบ้านพร้าวให้เรือสัญจรได้ ขุดคลองบางหลวงหัวป่า และคลองบางสิงห์ ไปเชื่อมกับคลองระพีพัฒน์และคลองเปรมประชากร รับน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยามาที่คลองขัง คลองขังมีความยาวยาว 8 กิโลเมตร กว้าง 60–100 เมตร ลึกตั้งแต่ 2–6 เมตร ใช้ผลิตน้ำประปาในตอนเริ่มแรก ในระยะต่อมาได้ขุดคลองประปาจากตำบลบางพูนมายังโรงกรองสามเสน มีเขื่อนกั้นจากสามเสนถึงโรงกรองน้ำบางเขน ปลายคลองประตูน้ำกั้นไม่ให้น้ำที่ไม่สะอาดไหลเข้าคลองได้ และเวลาน้ำในคลองสามเสนลดลงประตูน้ำจะเปิดให้น้ำไหลลงคลองสามเสน ตลอดแนวคลองประปามีที่ทำการเจ้าหน้าที่รักษาคลอง 7 แห่ง ที่ตำบลสำแล เชียงราก รังสิต สีกัน บางเขน บางซื่อ และสามเสน เพื่อรักษาคลอง ขุดแล้วเสร็จในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและคลองประปา · ดูเพิ่มเติม »

คลองเปรมประชากร

ริ่มต้นคลองเปรมประชากรเชื่อมต่อกับคลองผดุงกรุงเกษม คลองเปรมประชากรที่ไหลผ่านบริเวณข้างทำเนียบรัฐบาล คลองเปรมประชากร (Khlong Prem Prachakon) หรือชื่อเดิมว่า คลองสวัสดิ์เปรมประชากร เป็นคลองขุดที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้ขุดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2413 เชื่อมแม่น้ำเจ้าพระยาจากคลองผดุงกรุงเกษมบริเวณหน้าวัดโสมนัสวิหาร กรุงเทพมหานคร ไปทะลุตำบลเกาะใหญ่ แขวงกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ปัจจุบันอยู่ในตำบลบางกระสั้น อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) เป็นระยะทาง 1271 เส้น 3 วา (50846 เมตร) เนื่องจากทรงเห็นว่าการเดินเรือขึ้นล่องตามแม่น้ำเจ้าพระยานั้นมีเส้นทางอ้อมไปมาทำให้เสียเวลาในการเดินทางมาก คลองเปรมประชากร เป็นคลองที่มีจุดเริ่มต้นเชื่อมต่อกับคลองผดุงกรุงเกษม ในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร โดยไหลผ่านเขตดุสิต เขตบางซื่อ เขตจตุจักร เขตหลักสี่ เขตดอนเมือง (กรุงเทพมหานคร) อำเภอเมืองปทุมธานี อำเภอสามโคก (จังหวัดปทุมธานี) และไหลสู่แม่น้ำเจ้าพระยาที่อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอ.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและคลองเปรมประชากร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลบางพลับ (อำเภอปากเกร็ด)

ตำบลบางพลับ เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ในอดีตเป็นพื้นที่ปิด ไม่มีทางหลวงสายหลักหรือถนนสายใหญ่เข้าถึง มีเพียงลำคลองและถนนสายเล็ก ๆ ที่ใช้เป็นเส้นทางสัญจรในท้องที่ และมีประชากรอาศัยอยู่เบาบาง ส่วนมากประกอบอาชีพทำนาและทำสวนผลไม้ แต่หลังจากที่มีการก่อสร้างและเปิดใช้ถนนราชพฤกษ์และถนนชัยพฤกษ์เมื่อปี พ.ศ. 2548-2549 ทำให้การคมนาคมติดต่อระหว่างตำบลบางพลับกับท้องที่อื่น ๆ มีความสะดวกขึ้นมาก ความเจริญหลั่งไหลเข้าสู่พื้นที่อย่างรวดเร็วพร้อมกับการย้ายถิ่นเข้ามาของผู้คนจากภายนอก บางส่วนจึงกลายเป็นพื้นที่รองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจ และบางส่วนก็เปลี่ยนแปลงเป็นโครงการหมู่บ้านจัดสรร วิถีชีวิตของผู้คนในตำบลบางพลับจึงเปลี่ยนแปลงไปจากชุมชนเกษตรกรรมเป็นชุมชนเมืองตามไปด้วย โดยชุมชนดั้งเดิมคงเหลืออยู่ตามริมแม่น้ำเจ้าพระยาและตามลำคลองสายต่าง ๆ เช่น คลองบางพลับใหญ่ คลองบางพลับน้อย คลองบางภูมิ คลองบางวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและตำบลบางพลับ (อำเภอปากเกร็ด) · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำลัดเกร็ด

แม่น้ำลัดเกร็ด เป็นทางน้ำสายหนึ่งในเขตจังหวัดนนทบุรี เกิดจากการขุดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณบ้านแหลมซึ่งโค้งวกเข้าไปทางบางบัวทองจนถึงท่าอิฐ ขุดในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระเมื่อ พ.ศ. 2265 ขนาดคลองกว้าง 6 วา ยาว 39 เส้น ลึก 6 ศอก ดังปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงสยามฉบับบริติชมิวเซียมตอนหนึ่งว่า "...ในปีขาล จัตวาศก ทรงพระกรุณาโปรดให้พระธนบุรีเป็นแม่กอง เกณฑ์พลนิกายคนหัวเมืองปากใต้ให้ได้คน ๑๐,๐๐๐ เศษ ให้ขุดคลองเตร็ดน้อย ลัดคุ้งบางบัวทองนั้นคดอ้อมนัก ขุดลัดตัดให้ตรง พระธนบุรีรับสั่งแล้วถวายบังคมลามา ให้เกณฑ์พลนิกายในบรรดาหัวเมืองปากใต้ได้คน ๑๐,๐๐๐ เศษ ให้ขุดคลองเตร็ดน้อยนั้นลึก ๖ ศอก กว้าง ๓ วา ยาวทางไกลได้ ๒๙ เส้นเศษ ขุดเดือนเศษจึ่งแล้ว..."พระราชพงศาวดารกรุงสยามฉบับบริติชมิวเซียม.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและแม่น้ำลัดเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนชลประทานวิทยา

รงเรียนชลประทานวิทยา เป็นโรงเรียนเอกชนที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี โดยมีกรมชลประทานเป็นเจ้าของ ตั้งอยู่เลขที่ 201 หมู่ 1 ถนนติวานนท์ ตำบลบางตลาด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 สังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สังกัดเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2 โรงเรียนชลประทานวิทยา มีเนื้อที่ประมาณ 56 ไร่ มีอาคารเรียน 10 หลังและอาคารเรียนประกอบล้อมรอบสนามฟุตบอล และสนามกรีฑา ผังของโรงเรียนท่านอาจารย์ประหยัด ไพทีกุล นำแบบอย่างมาจากโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันโรงเรียนชลประทานวิทยามีนักเรียน 6,423 คน ชาย 3,339 คน หญิง 3,084 คน มีครู 305 คน มีห้องเรียนทั้งหมด 138 ห้องในปีการศึกษา 2551 และเพิ่มขึ้นเป็น 141 ในปีการศึกษา 2557 โดยโรงเรียนชลประทานวิทยาทำการสอนนักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเปิดสอน 2 แผนการเรียนคือ.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและโรงเรียนชลประทานวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (Suankularb Wittayalai Nonthaburi School; อักษรย่อ: ส.ก.น., S.K.N.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ลำดับที่สอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมสามัญศึกษา (ปัจจุบัน: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ได้รับบริจาคที่ดิน จากนายผาสุก และนางเง็ก มณีจักร สองสามีภรรยา คหบดีชาวอำเภอปากเกร็ด ที่มีความประสงค์ให้สร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย บนพื้นที่ดังกล่าว จึงเกิดการประสานงานจัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2521 เดิมให้ชื่อไว้ว่า “โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ๒ (ผาสุก มณีจักร)” และมอบหมายให้ผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รักษาราชการในตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียน จนถึงปลายปีถัดมา จึงเปลี่ยนชื่อโรงเรียน เป็นชื่อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และในปีเดียวกัน นางอัมพา แสนทวีสุข ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก และเลื่อนฐานะขึ้นเป็นผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียนฯ ในเวลาต่อมา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด อาคารเรียน “สธ ๑, สธ ๒ และ สธ ๓” เมื่อกลางปี พ.ศ. 2525 และปลายปี พ.ศ. 2529 ตามลำดับ รวมทั้งพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อกลางปี พ.ศ. 2555 ตลอดจนโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามอาคารเรียน “สธ ๔” และอาคารหอประชุม “สิรินธราลัย” ด้วย นอกจากนี้ โรงเรียนฯ ยังได้รับรางวัลสถานศึกษาพระราชทาน ประจำปีการศึกษา 2532 และ 2544 และในปี พ.ศ. 2541 นักเรียนของโรงเรียนฯ ยังได้รับรางวัลเหรียญทองแดง จากการเข้าร่วมการแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิก ที่ประเทศอิตาลี ในฐานะผู้แทนประเทศไทย ขณะที่นักกีฬาของโรงเรียนฯ ได้รับรางวัลเหรียญทอง ในฐานะผู้แทนทีมชาติไทย จากการเข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลชายหาด ในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 อีกด้วย จากเว็บไซต์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีหนังสืออนุสรณ์ 24 ปี สวนกุหลาบนนท์ 2521-2545 30 มีนาคม พ.ศ. 2545 ซุ้มประตูทางเข้าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (ประดับประดาด้วยไฟสวยงาม เนื่องในงาน “ราตรีกุหลาบนนท์”) ด้านหลังซุ้มประตูคือ อาคารบริหารกิจการนักเรียนและประชาสัมพันธ์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ถือกำเนิดขึ้น โดยเจตจำนงของผาสุก และเง็ก มณีจักร คหบดีชาวปากเกร็ดสองสามีภรรยา ซึ่งมีบุตรชายและหลานชายเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย บริจาคที่ดินบริเวณใกล้กับถนนติวานนท์เป็นจำนวน 25 ไร่ 1 งาน 18 ตารางวา เพื่อสร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อต้นปีการศึกษา 2520 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้งคือ สุวรรณ จันทร์สม อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ผู้อำนวยการกองการมัธยมศึกษาในขณะนั้น, สมพงษ์ พูลสวัสดิ์ และกว้าง รอบคอบ อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา ขณะนั้นเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนปากเกร็ด เป็นผู้ประสานงานจัดตั้ง ในระยะเริ่มแรก โรงเรียนยังไม่มีอาคารเรียนถาวร มีเพียงที่ดินซึ่งกำลังถมและปรับสภาพ จึงต้องไปอาศัยใช้โรงเรียนชลประทานสงเคราะห์ เป็นสถานที่ในการรับสมัครเข้าเรียน และเมื่อกระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งโรงเรียนฯ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม..

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนปากเกร็ด

รงเรียนปากเกร็ด (Pakkred Secondary School) (อักษรย่อ: ป.ก., PK) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันโรงเรียนปากเกร็ดมีเนื้อที่ 20 ไร่ 1 งาน 96 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 4 หลัง ศูนย์ฝึกงาน 1 หลัง ศูนย์กีฬา 1 หลัง มีอาคารเฉลิมพระเกียรติ 7 ชั้น อาคารกีฬาเอนกประสงค์ 1 อาคารศิลปะ 1 อาคารเรียนกึ่งถาวร 1 และ สระว่ายน้ำ.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและโรงเรียนปากเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเกร็ด

กาะเกร็ด เป็นเกาะแม่น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง และมีฐานะเป็นตำบลหนึ่งในท้องที่อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มีเนื้อที่ประมาณ 4.2 ตารางกิโลเมตรหรือ 2,625 ไร่ เป็นที่อยู่ของชาวไทยเชื้อสายมอญที่มีอาชีพปั้นเครื่องปั้นดินเผาเป็นส่วนใหญ่ เกาะเกร็ดเกิดจากการขุดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาเมื่อปี พ.ศ. 2265 ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ คลองลัดดังกล่าวเรียกว่า "คลองลัดเกร็ดน้อย" หรือ "คลองเตร็ดน้อย"พระราชพงศาวดารกรุงสยามฉบับบริติชมิวเซียม.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและเกาะเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครปากเกร็ด

ทศบาลนครปากเกร็ด หรือ นครปากเกร็ด เป็นเทศบาลนครขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ครอบคลุมพื้นที่ 5 ตำบล คือ ตำบลปากเกร็ด ตำบลบางตลาด ตำบลคลองเกลือ ตำบลบางพูด และตำบลบ้านใหม่ ติดต่อกับกรุงเทพมหานครทางทิศตะวันออก และเทศบาลนครนนทบุรีทางทิศใต้ มีประชากรทั้งหมดประมาณ 180,000 คน ทำให้ปากเกร็ดเป็นเทศบาลนครที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศไทย รองจากเทศบาลนครนนทบุรี สภาพพื้นที่ในเขตเทศบาลเดิมเป็นพื้นที่เกษตรกรรม แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนสภาพเป็นที่รองรับการขยายตัวเป็นที่พักอาศัย อุตสาหกรรม ห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนตร์ ซูเปอร์มาร์เก็ต และหน่วยงานราชการส่วนกลาง เนื่องมาจากการขยายตัวของเขตเมืองของกรุงเทพมหานคร เทศบาลนครปากเกร็ด–เทศบาลนครนนทบุรี เป็นเทศบาลนคร 2 แห่งที่อยู่ใกล้กันมากที่สุดในประเทศไทย รองลงมาคือ เทศบาลนครหาดใหญ่–เทศบาลนครสงขล.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและเทศบาลนครปากเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางเขน

ตบางเขน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตบางแ.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและเขตบางเขน · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและเขตการปกครองของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เขตหลักสี่

ตหลักสี่ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและเขตหลักสี่ · ดูเพิ่มเติม »

เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งประเทศไทย

Software Park Thailand is under National Science and Technology Development Agency or NSTDA to support and strengthen for Thai software enterpreneurs.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เขตดอนเมือง

ตดอนเมือง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย โดยมีแหล่งสถาบันราชการอยู่ทางด้านตะวันออกของพื้นที.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและเขตดอนเมือง · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

10 มกราคม

วันที่ 10 มกราคม เป็นวันที่ 10 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 355 วันในปีนั้น (356 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและ10 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

16 มกราคม

วันที่ 16 มกราคม เป็นวันเกิดของผมเอง.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและ16 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

26 ตุลาคม

วันที่ 26 ตุลาคม เป็นวันที่ 299 ของปี (วันที่ 300 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 66 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและ26 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤษภาคม

วันที่ 8 พฤษภาคม เป็นวันที่ 128 ของปี (วันที่ 129 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 237 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและ8 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤษภาคม

วันที่ 9 พฤษภาคม เป็นวันที่ 129 ของปี (วันที่ 130 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 236 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อำเภอปากเกร็ดและ9 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อ.ปากเกร็ดปากเกร็ด

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »