โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ขั้นตอนวิธีของเบรนท์

ดัชนี ขั้นตอนวิธีของเบรนท์

ั้นตอนวิธีของเบรนท์ (Brent's algorithm) เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "The Teleporting Turtle Algorithm" ได้รับการคิดค้นขึ้นโดย Richard Peirce Brent ในปี 1980 เพื่อใช้ในการตรวจสอบการมีวงรอบ (cycle) ในปัญหาที่มีลักษณะเป็นรายการโยงเดี่ยว ตัวอย่างเช่น ฟังก์ชันวนซ้ำ การแยกตัวประกอบ ตัวสร้างเลขสุ่มเทียม และปัญหาอื่นๆ อีกมากมาย ขั้นตอนวิธีของเบรนท์ มีหลักการทำงานคล้ายๆ กับขั้นตอนวิธีตรวจสอบการมีวงรอบของฟลอยด์ (Floyd's Tortoise and the Hare algorithm) ข้อได้เปรียบของขั้นตอนวิธีของเบรนท์คือจะใช้เวลาการทำงานน้อยกว่าและสามารถหาความยาวของวงรอบได้โดยตรง ไม่จำเป็นต้องไล่ค้นหาในลำดับย่อยอีกครั้ง.

5 ความสัมพันธ์: การแยกตัวประกอบรายการโยงขั้นตอนวิธีการตรวจสอบการเกิดวงวนของฟลอยด์ขั้นตอนวิธีโรห์ของพอลลาร์ดตัวสร้างเลขสุ่มเทียม

การแยกตัวประกอบ

หุนาม ''x''2 + ''cx'' + ''d'' เมื่อ ''a + b.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีของเบรนท์และการแยกตัวประกอบ · ดูเพิ่มเติม »

รายการโยง

รายการโยง เป็นรายการประเภทหนึ่ง ซึ่งจะใช้ประเภทข้อมูลประเภทโครงสร้าง วัตถุ หรือตัวชี้ (Pointer) เพื่อชี้สมาชิกตัวถัดไปที่เก็บไปเรื่อยๆ รายการโยงมีจุดเด่นทางด้านการเพิ่มหรือลดข้อมูลหรือชุดข้อมูลได้ง่าย จึงนำมาดัดแปลงในการสร้างโครงสร้างข้อมูลประเภทอื่นๆ เช่น กองซ้อน คิว ฯลฯ จึงนับว่าเป็นโครงสร้างข้อมูลที่ใช้บ่อยมากประเภทหนึ่ง.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีของเบรนท์และรายการโยง · ดูเพิ่มเติม »

ขั้นตอนวิธีการตรวจสอบการเกิดวงวนของฟลอยด์

ั้นตอนวิธีการตรวจสอบการเกิดวงวนของฟลอยด์ (Floyd's cycle-finding algorithm) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ขั้นตอนวิธีเต่าและกระต่าย (Tortoise and hare algorithm) เป็นขั้นตอนวิธีที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการตรวจสอบวงในลำดับรายการของข้อมูล ถูกคิดค้นขึ้น ในปี ค.ศ. 1967 โดย นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์สัญชาติอเมริกัน ชื่อ โรเบิร์ต ฟลอยด์ (Robert W. Floyd) เพื่อใช้เป็นขั้นตอนในการตรวจสอบวงที่เกิดขึ้นภายในลำดับของข้อมูลในโครงสร้างข้อมูลแบบรายการ (list) ขั้นตอนวิธีของฟลอยด์นี้ มีความน่าสนใจตรงที่ เป็นขั้นตอนที่ใช้ตัวชี้ 2 ตัว ในการทำงาน ใช้ขอบเขตเวลาไม่เกิน λ+μ (O (λ+μ)) และ ใช้เนื้อที่บนหน่วยความจำเป็นค่าคงตัว (O (1)) หมายเหตุ: λ คือ ความยาวจากจุดเริ่มต้นของรายการไปถึงจุดแรกของการเกิดวง μ คือ ค่าความยาวของ 1 รอบวง (ขนาดของวง) การตรวจสอบวงวนดังกล่าวได้ถูกนำมาใช้ในการตรวจสอบรายการของข้อมูลเพื่อหาตำแหน่งการเกิดของวงวนไม่สิ้นสุดที่เกิดขึ้นในรายการของข้อมูล หรือ วงวนเครื่องสถานะจำกัด หรือ "ไฟไนต์สเตทแมชชีน" (finite state machine) เพื่อที่จะกำจัดวงวนที่ตรวจพบได้ดังกล่าว.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีของเบรนท์และขั้นตอนวิธีการตรวจสอบการเกิดวงวนของฟลอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

ขั้นตอนวิธีโรห์ของพอลลาร์ด

ั้นตอนวิธีโรห์ของพอลลาร์ด (Pollard's rho algorithm) เป็นขั้นตอนวิธีแบบสุ่มที่ใช้หาตัวประกอบของจำนวนประกอบที่มีค่ามาก โดยอาศัยคุณสมบัติของการหาร เพื่อให้หาตัวประกอบของเลขจำนวนนั้น ๆ ได้เร็ว ขั้นตอนวิธีนี้ จอห์น พอลลาร์ด (John Pollard) นำเสนอขึ้นในปี 1975 และต่อมา ริชาร์ด เบรนท์ (Richard Brent) ปรับปรุงในปี 1980.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีของเบรนท์และขั้นตอนวิธีโรห์ของพอลลาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ตัวสร้างเลขสุ่มเทียม

ตัวสร้างเลขสุ่มเทียม (pseudorandom number generator: PRNG) มีความสำคัญในทางคณิตศาสตร์ การเข้ารหัส และการเสี่ยงโชค ตัวสร้างเลขสุ่มเทียมมีทั้งได้จาก ฮาร์ดแวร์ ซึ่งเป็นการสุ่มแท้ และจากซอฟต์แวร์ซึ่งเป็นการสุ่มเทียม (pseudorandomness) ในที่นี้จะกล่าวถึงแต่ตัวสร้างเลขสุ่มเทียมจากซอฟต์แวร.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีของเบรนท์และตัวสร้างเลขสุ่มเทียม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วิธีการตรวจสอบการเกิดวงวนของเบรนท์อัลกอริทึมของเบรนท์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »