โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อักษรซอกเดีย

ดัชนี อักษรซอกเดีย

อักษรซอกเดีย (Sogdian)พัฒนามาจากอักษรอราเมอิก เริ่มใช้ครั้งแรกราว..

14 ความสัมพันธ์: ภาษายักโนบีภาษาซอกเดียศาสนาพุทธอักษรฟินิเชียอักษรมองโกเลียอักษรออร์คอนอักษรอุยกูร์อักษรซีรีแอกอักษรแมนจูอักษรแอราเมอิกประเทศอุซเบกิสถานประเทศทาจิกิสถานประเทศปากีสถานปลายสมัยโบราณ

ภาษายักโนบี

ษายักโนบี (ชื่ออื่นๆคือ Yaghnabi, Yagnobi หรือ Yagnabi. - yaγnobī́ zivók (ในภาษาทาจิกเขียนด้วยอักษรซีริลลิกเป็น яғнобӣ зивок), ภาษารัสเซีย ягнобский язык /jagnobskij jazyk/, ภาษาทาจิก забони яғнобӣ /zabon-i yaġnobî/, ภาษาเปอร์เซีย زبان یغنابى /zæbān-e yæġnābī/, ภาษาออสเซติก ягнобаг æвзаг /jagnobag ævzag/, ภาษาเยอรมัน Jaghnobisch, Czech jaghnóbština, ภาษาสโลวัก jagnóbčina, ภาษายูเครน ягнобська мова /jahnobs’ka mova/, ภาษาโปแลนด์ jagnobski język) เป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้พูดโดยชาวยักโนบีในหุบเขาทางเหนือของแม่น้ำยักนอบในเขตซาราฟซาน ประเทศทาจิกิสถาน จัดว่าเป็นลุกหลานของภาษาซอกเดี.

ใหม่!!: อักษรซอกเดียและภาษายักโนบี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซอกเดีย

ษาซอกเดีย เป็นภาษากลุ่มอิหร่านตอนกลางใช้พูดในบริเวณซอกเดียนา (หุบเขาที่ราบลุ่มแม่น้ำซาราฟฮาน) ปัจจุบันอยู่ในอุซเบกิสถานและทาจิกิสถาน เป็นภาษาที่มีความสำคัญทางวรรณคดี ใกล้เคียงกับภาษาเปอร์เซียกลางและภาษาพาร์เทียน เป็นภาษาทางการค้าในเอเชียกลางและเป็นภาษากลางระหว่างพ่อค้าชาวจีนและชาวอิหร่าน ไม่พบหลักฐานของภาษาที่เก่ากว่าภาษานี้ ไวยากรณ์ของภาษาซอกเดียมีลักษณะอนุรักษนิยมมากกว่าภาษาเปอร์เซียกลาง ความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจและการค้าทำให้ภาษานี้ยังคงมีการใช้อยู่ในช่วง 100 ปีแรกหลังการแพร่เข้าสู่บริเวณนี้ของศาสนาอิสลามเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรซอกเดียและภาษาซอกเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: อักษรซอกเดียและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฟินิเชีย

ัญชนะและตัวเลขของอักษรฟินิเชีย อักษรฟินิเชีย พัฒนามาจากอักษรคานาอันไนต์ยุคแรกเริ่ม ซึ่งปรากฏครั้งแรกราว 1,800-1,700 ปีก่อนคริสต์ศักราช จารึกเก่าสุดมาจากเมืองโบราณไบบลอส อายุราว 1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีอักษร 22 ตัว ไม่มีเครื่องหมายสระ ชื่อตัวอักษรเหมือนที่ใช้เรียกอักษรฮีบรู.

ใหม่!!: อักษรซอกเดียและอักษรฟินิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรมองโกเลีย

อักษรมองโกเลีย (17px Mongγol bičig, ซีริลลิก: Монгол бичиг, Mongol bichig) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษามองโกเลีย เมื่อ..

ใหม่!!: อักษรซอกเดียและอักษรมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรออร์คอน

รึกอักษรออร์คอนที่ Kyzyl อักษรออร์คอน เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาเตอร์กิกพบครั้งแรกในหุบเขาแม่น้ำออร์คอน ประเทศมองโกเลีย มีอายุราว..

ใหม่!!: อักษรซอกเดียและอักษรออร์คอน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอุยกูร์

อักษรอุยกูร์ (Uyghur /Уйғур /ئۇيغۇر) เริ่มแรกภาษาอุยกูร์เขียนด้วยอักษรออร์กอนซึ่งเป็นอักษรรูนส์อักษรอุยกูร์นี้พัฒนามาจากอักษรซอกเดีย ที่มาจากอักษรอราเมอิกอีกต่อหนึ่ง ใช้ในระหว่าง..

ใหม่!!: อักษรซอกเดียและอักษรอุยกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรซีรีแอก

หนังสือเขียนด้วยอักษรซีรีแอก อักษรซีรีแอก (Syriac script) เป็นอักษรที่ใช้ในวรรณคดีทางศาสนาของชาวคริสต์ในซีเรีย ราว..

ใหม่!!: อักษรซอกเดียและอักษรซีรีแอก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรแมนจู

อักษรแมนจู (จีนกลาง: 满文; พินอิน: mǎn wén หม่าน เหวิน, Manchu alphabet) เริ่มปรากฏเมื่อ พ.ศ. 2142 ประดิษฐ์โดยผู้นำชาวแมนจู นูร์ฮาจี ผู้สถาปนารัฐแมนจู พัฒนามาจากอักษรมองโกเลียโบราณ มีการปรับปรุงเล็กน้อยเมื่อ พ.ศ. 2175 เมื่อชาวแมนจูสถาปนาราชวงศ์ชิงเมื่อ พ.ศ. 2187 ช่วง 200 ปีแรก ภาษาแมนจูเป็นภาษาราชการหลักและใช้เป็นภาษากลาง เมื่อราว..

ใหม่!!: อักษรซอกเดียและอักษรแมนจู · ดูเพิ่มเติม »

อักษรแอราเมอิก

อักษรแอราเมอิก (Aramaic alphabet) พัฒนาขึ้นในช่วง 1,000 - 900 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยเข้ามาแทนที่อักษรรูปลิ่มของอัสซีเรียซึ่งเป็นระบบการเขียนหลักของจักรวรรดิอัสซีเรีย อักษรนี้เป็นต้นกำแนิดของอักษรตระกูลเซมิติกอื่น ๆ และอาจเป็นต้นกำเนิดของอักษรขโรษฐี ที่ใช้ในแถบเอเชียกลางแถบแคว้นคันธาระและพื้นที่ใกล้เคียง ในช่วง 600 ปีก่อนคริสต์ศักราช อักษรแอราเมอิกยุคแรกเริ่มถูกแทนที่ด้วยอักษรฮีบรูทรงเหลี่ยม ที่รู้จักต่อมาในชื่ออักษรแอราเมอิก.

ใหม่!!: อักษรซอกเดียและอักษรแอราเมอิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถาน

อุซเบกิสถาน (Uzbekistan; O'zbekiston) หรือชื่ออย่างเป็นทางการก็คือ สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (Republic of Uzbekistan; O‘zbekiston Respublikasi) เป็นประเทศในทวีปเอเชียกลางที่ถูกล้อมรอบด้วยประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศอัฟกานิสถานในทวีปเอเชียใต้ ประเทศคาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลอารัล อุซเบกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: อักษรซอกเดียและประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศทาจิกิสถาน

ทาจิกิสถาน (Tajikistan; Тоҷикистон) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐทาจิกิสถาน (Republic of Tajikistan; Ҷумҳурии Тоҷикистон) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคเอเชียกลาง มีอาณาเขตติดต่อกับอัฟกานิสถาน จีน คีร์กีซสถาน และอุซเบกิสถาน ทาจิกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: อักษรซอกเดียและประเทศทาจิกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปากีสถาน

ปากีสถาน (Pakistan; پاکستان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน (Islamic Republic of Pakistan; اسلامی جمہوریہ پاکستان) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเอเชียใต้ มีพรมแดนติดกับประเทศอินเดีย อิหร่าน อัฟกานิสถาน และ จีน และมีชายฝั่งติดกับทะเลอาหรับ มีประชากรกว่า 150 ล้านคน มากเป็นอันดับ 6 ของโลก และเป็นประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม ใหญ่เป็นอันดับ 2 และเป็นสมาชิกที่สำคัญของ โอไอซี และเป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์ไว้ในครอบครอง คำว่า "ปากีสถาน" ซึ่งมีความหมายว่า "ดินแดนของชนบริสุทธิ์" ในภาษาอูรดูและภาษาเปอร์เซียนั้น มาจากการรวมชื่อดินแดนในประเทศนี้ ประกอบด้วยปัญจาบ (Punjab) อัฟกาเนีย (Afghania) แคชเมียร์หรือกัศมีร์ (Kashmir) สินธ์ (Sindh) และบาลูจิสถาน (BaluchisTAN).

ใหม่!!: อักษรซอกเดียและประเทศปากีสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ปลายสมัยโบราณ

ราณตอนปลาย (Late Antiquity) เป็นสมัยประวัติศาสตร์ที่ใช้โดยนักประวัติศาสตร์ในการบรรยายช่วงเวลาที่เปลี่ยนจากยุคโบราณคลาสสิกไปเป็นยุคกลางทั้งบนแผ่นดินใหญ่ยุโรปและบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน ของเขตของสมัยยังคงเป็นเรื่องที่โต้แย้งกันอยู่ แต่นักประวัติศาสตร์คนสำคัญปีเตอร์ บราวน์เสนอว่าเป็นช่วงเวลาระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 2 ถึง ที่ 8 โดยทั่วไปแล้วก็อาจจะเทียบได้กับช่วงเวลาตั้งแต่การสิ้นสุดของวิกฤติการณ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 3 (ค.ศ. 235-ค.ศ. 284) ของจักรวรรดิโรมัน ไปจนถึงการจัดระบบบริหารของจักรวรรดิโรมันตะวันออกภายใต้การนำของจักรพรรดิเฮราคลิอัส และการพิชิตดินแดนโดยมุสลิมในยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันประสบกับความเปลี่ยนแปลงอย่างขนานใหญ่ทั้งทางด้านสังคม, วัฒนธรรม และ ระบบการปกครองที่เริ่มขึ้นในรัชสมัยของจักรพรรดิไดโอคลีเชียนผู้ทรงเป็นผู้เริ่มการแบ่งจักรวรรดิออกเป็นสองส่วนคือจักรวรรดิโรมันตะวันออกและจักรวรรดิโรมันตะวันตกที่ปกครองโดยพระจักรพรรดิหลายพระองค์ เริ่มด้วยจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 เมื่อจักรวรรดิถูกเปลี่ยนเป็นจักรวรรดิคริสเตียน และการก่อตั้งคอนสแตนติโนเปิลเป็นเมืองหลวง การโยกย้ายถิ่นฐานของกลุ่มชนเจอร์มานิคต่อมาก็บั่นทอนเสถียรภาพของจักรวรรดิยิ่งขึ้นไปอีก ที่ในที่สุดก็นำไปสู่การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกในปี ค.ศ. 476 และมาแทนที่ด้วยระบอบพระมหากษัตริย์ของชนเจอร์มานิค หรือ “ระบอบพระมหากษัตริย์ของอนารยชน” ผลก็คือการผสานระหว่างวัฒนธรรมกรีก-โรมัน เจอร์มานิค และ คริสเตียนที่กลายมาเป็นพื้นฐานของวัฒนธรรมของยุโรปตะวันตก การสูญเสียประชากร, ความรู้ทางเทคโนโลยี และ มาตรฐานความเป็นอยู่ของยุโรปตะวันตกในยุคนี้เป็นลักษณะของสถานภาพที่เรียกว่า “การล่มสลายของสังคม” (Societal collapse) โดยนักเขียนตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยามาจนกระทั่งเมื่อไม่นานมานี้ จากความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นและการขาดหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของยุโรปตะวันตกในช่วงนี้โดยเฉพาะ ในช่วงระหว่างการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกมาจนถึงยุคกลาง ทำให้ได้ชื่อว่าเป็น “ยุคมืด” ที่มาแทนที่ด้วยคำว่า “ยุคโบราณตอนปลาย”.

ใหม่!!: อักษรซอกเดียและปลายสมัยโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อักษรซอกเดียน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »