โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อะชิกะงะ ทะกะอุจิ

ดัชนี อะชิกะงะ ทะกะอุจิ

อะชิกะงะ ทะกะอุจิ (Ashikaga Takauji,足利尊氏) เป็น โชกุน คนแรกแห่ง รัฐบาลโชกุนอะชิกะง.

28 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1848พ.ศ. 1860พ.ศ. 1862พ.ศ. 1874พ.ศ. 1876พ.ศ. 1877พ.ศ. 1901มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะมิไดโดะโกะโระรัฐบาลโชกุนอาชิกางะรัฐบาลโชกุนคะมะกุระจักรพรรดิโกะ-มุระกะมิจักรพรรดิโกะ-ไดโงะจักรพรรดิโคงงจักรพรรดิโคเมียวจังหวัดโทจิงิคันโตคามากูระคุซุโนะกิ มะซะชิเงะตระกูลโฮโจนิตตะ โยะชิซะดะโชกุนเกาะคีวชูเกียวโต (นคร)เคียวโตะเซ็ปปุกุ18 สิงหาคม6 มิถุนายน

พ.ศ. 1848

ทธศักราช 1848 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและพ.ศ. 1848 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1860

ทธศักราช 1860 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและพ.ศ. 1860 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1862

ทธศักราช 1862 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและพ.ศ. 1862 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1874

ทธศักราช 1874 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและพ.ศ. 1874 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1876

ทธศักราช 1876 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและพ.ศ. 1876 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1877

ทธศักราช 1877 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและพ.ศ. 1877 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1901

ทธศักราช 1901 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและพ.ศ. 1901 · ดูเพิ่มเติม »

มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ

มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ (みなもと の よりとも Minamoto no Yoritomo หรือ 源 頼朝 Minamoto Yoritomo) หรือ โยะริโตะโมะแห่งมินะโมะโตะ เป็นผู้ก่อตั้งรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และดำรงตำแหน่งโชกุนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและมินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ · ดูเพิ่มเติม »

มิไดโดะโกะโระ

มิไดโดะโกะโระ เป็นตำแหน่งภรรยาเอกของ โชกุน โดยเริ่มมีมาตั้งแต่สมัย คะมะกุระ ซึ่งผู้ที่รับตำแหน่งนี้ เป็นคนแรกคือ โฮโจ มะซะโกะ ภรรยาเอกของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ โชกุนคนแรกของญี่ปุ่น ตำแหน่งมิไดนี้มีมาจนถึงสมัย เอโดะ ก่อนจะถูกยกเลิก ไปหลังจากที่ โทะกุงะวะ โยะชิโนะบุ โชกุนคนสุดท้าย ของญี่ปุ่นถวายคืนพระราชอำนาจแก่ จักรพรรดิเมะจิ หมวดหมู่:ศักดินาญี่ปุ่น.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและมิไดโดะโกะโระ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ

รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ หรือที่มักรู้จักในชื่อ รัฐบาลโชกุนมูโรมาจิ เป็นระบอบการปกครองโดยกลุ่มทหารในญี่ปุ่นระหว่างปี..

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและรัฐบาลโชกุนอาชิกางะ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ

รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ (鎌倉幕府 Kamakura bakufu) เป็นระบอบการปกครองโดยทหารในญี่ปุ่น อันมีประมุขของรัฐบาลคือโชกุน ตั้งแต..

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-มุระกะมิ

มเด็จพระจักรพรรดิโกะ-มุระกะมิ (ค.ศ. 1328 - 29 มีนาคม ค.ศ. 1368) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นรัชกาลที่ 97 ตามการสืบราชบัลลังก์ตามแบบแผนดั้งเดิม และทรงเป็นสมาชิกในราชสำนักฝ่ายใต้ระหว่างยุคนันโบะกุ-โช ของราชสำนักฝ่ายเหนือ พระองค์ทรงอยู่ในราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 1339 ถึงวันที่ 29 มีนาคม ค.ศ. 1368 (ปีโชเฮย์ที่ 23, วันที่ 11 เดือน 3).

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและจักรพรรดิโกะ-มุระกะมิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ

ักรพรรดิโกะ-ไดโงะ (Emperor Go-Daigo) จักรพรรดิองค์ที่ 96 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-ไดโงะครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1861 - พ.ศ. 1882 โดยพระนามของพระองค์นั้นนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิไดโงะ ที่ครองราชย์ในช่วง ศตวรรษที่ 9 โดยเมื่อใส่คำว่า โก ที่แปลว่า สอง หรือ ยุคหลัง เข้าไปทำให้พระนามของพระองค์แปลได้ว่า จักรพรรดิไดโงะที่สอง หรือ จักรพรรดิไดโงะยุคหลัง.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโคงง

ักรพรรดิโคงง (Emperor Kōgon) จักรพรรดิผู้อ้างสิทธิใน ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ พระองค์ที่ 1 ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ. 1331 - ค.ศ. 1333.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและจักรพรรดิโคงง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโคเมียว

ักรพรรดิโคเมียว (Emperor Kōmyō) จักรพรรดิผู้อ้างสิทธิใน ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ พระองค์ที่ 2 จาก ราชสำนักเหนือ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น โดยครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ. 1336 - ค.ศ. 1348.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและจักรพรรดิโคเมียว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโทจิงิ

จังหวัดโทจิงิ เป็นจังหวัดหนึ่งในภูมิภาคคันโตบนเกาะฮนชู ประเทศญี่ปุ่น มีเมืองหลักคือ อุตสึโนมิยะ ซึ่งมีชื่อเสียงในด้านร้านขายเกี๊ยวซ่าเลิศรส และยังมีศูนย์การค้าที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคคันโตทางตอนเหนือ มีชื่อว่า เบลล์มอลล์ เมืองนิกโกในจังหวัดโทจิงิ เป็นที่ตั้งของศาลเจ้าและวัดที่องค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก เมืองนิกโกนี้ใช้เวลาเดินทางโดยรถไฟจากกรุงโตเกียวเพียง 1 ชั่วโมง แหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอื่น ๆ ได้แก่ เมืองนะซุ ซึ่งมีชื่อเสียงในด้านรีสอร์ตน้ำพุร้อน รีสอร์ตสกี และแหล่งผลิตเหล้าสาเก เมืองนี้ยังเป็นที่ตั้งของตำหนักที่ประทับประจำราชวงศ์ มีสถานีรถไฟนะซุ-ชิโอะบะระเป็นสถานีใหญ่ที่รองรับขบวนรถด่วนชินคันเซน รีสอร์ตน้ำพุร้อนที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่งอยู่ที่เมืองคินุงะวะ โทจิงิ.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและจังหวัดโทจิงิ · ดูเพิ่มเติม »

คันโต

ันโต เป็นภูมิภาคของประเทศญี่ปุ่นบนเกาะฮนชู ในภาคคันโตประกอบด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกุมมะ, คะนะงะวะ, ชิบะ, ไซตะมะ, โตเกียว, โทะชิงิ และ อิบะระกิ คันโตมีขนาดประมาณ 32,423.85 ตารางกิโลเมตร ลักษณะเป็นที่ราบลุ่มประมาณร้อยละ 40 และที่เหลือมีลักษณะเป็นภูเขา ภาคคันโตมีประชากรประมาณ 41,487,171 คน (วันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและคันโต · ดูเพิ่มเติม »

คามากูระ

"คามากูระ" อาจหมายถึง ยุคคะมะกุระ หรือ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ คามากูระ เป็นเมืองในจังหวัดคะนะงะวะ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ 50 กิโลเมตร จากโตเกียว มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 39.60 ตารางกิโลเมตร และในปี..

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและคามากูระ · ดูเพิ่มเติม »

คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ

ซุโนะกิ มะซะชิเงะ (ค.ศ. 1294 ถึง ค.ศ. 1336) เป็นซะมุไรในช่วงต้นยุคมุโระมะชิ เป็นซะมุไรคนสำคัญซึ่งสู้รบอยู่ในฝ่ายของพระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ อนุสาวรีย์ของคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ในสวนของพระราชวังอิมพีเรียลนครโตเกียว ชีวิตในวัยเยาว์ของคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ และความเป็นมาของตระกูลคุซุโนะกิ ไม่ได้รับการบันทึกไว้ คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ เป็นซะมุไรระดับล่าง อาศัยอยู่ในแคว้นคะวะชิ (จังหวัดโอซะกะในปัจจุบัน) เมื่อพระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ ทรงประกาศเชื้อเชิญให้บรรดาซะมุไรทั้งหลายที่ไม่พอใจการปกครองของรัฐบาลโชกุนคะมะกุระเข้าร่วมกับกองกำลังของพระองค์ในการล้มล้างรัฐบาลโชกุนฯ ในปีค.ศ. 1331 คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ประกาศตนเข้ากับฝ่ายของพระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ และสร้างกองกำลังอยู่ที่ป้อมอะกะซะกะ ในแคว้นคะวะชิ ซึ่งเจ้าชายโมะริโยะชิ พระโอรสของจักรพรรดิโกะ-ไดโงะเสด็จมายังป้อมอะกะซะกะเพื่อทรงร่วมนำทัพในการต่อต้านรัฐบาลโชกุน แต่ทว่าตระกูลโฮโจแห่งรัฐบาลโชกุนฯส่งกองทัพมาเข้าล้อมป้อมอะกะซะกะและสามารถยึดป้อมได้ คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ นำเจ้าชายโมะริโยะชิเสด็จหนีออกจากป้อมอะกะซะกะ จากนั้นมะซะชิเงะรวบรวมกำลังได้อีกครั้งที่ป้อมชิฮะยะ ทัพของตระกูลโฮโจเข้าล้อมป้อมชิฮะยะแต่ไม่สำเร็จ เมื่อไม่สามารถปราบกองกำลังของจักรพรรดิโกะ-ไดโงะได้ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระจึงส่งอะชิกะงะ ทะกะอุจิ ยกทัพมาปราบกองกำลังของจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ แต่ทว่าอะชิกะงะ ทะกะอุจิ แปรพักตร์มาเข้ากับฝ่ายของจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ และเข้ายึดนครหลวงเคียวโตะถวายแด่พระจักรพรรดิ ส่วนนิตตะ โยะชิซะดะ ยกทัพเข้ายึดเมืองคะมะกุระ ทำให้รัฐบาลโชกุนคะมะกุระสิ้นสุดลง พระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ ทรงฟื้นฟูการปกครองซึ่งมีราชสำนักเมืองเกียวโตเป็นศูนย์กลางขึ้นมาใหม่ เรียกว่า การฟื้นฟูเป็นเค็มมุ (Kemmu Restoration) และลดอำนาจของชนชั้นซะมุไร สร้างความไม่พอใจให้แก่ชนชั้นซะมุไรโดยทั่วไป ในค.ศ. 1335 อะชิกะงะ ทะกะอุจิ แยกตนออกไปเพื่อก่อตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นมาอีกครั้ง ในขณะที่คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ และนิตตะ โยะชิซะดะ ยังคงจงรักภักดีต่อพระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ อะชิกะงะ ทะกะอุจิ ยกทัพเข้าประชิดเมืองเกียวโตในค.ศ. 1335 คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ สามารถขับไล่ทัพของอะชิกะงะออกไปได้ แต่ทว่าในปีต่อมาค.ศ. 1336 อะชิกะงะ ทะกะอุจิ สามารถรวบรวมกำลังพลขนาดใหญ่ทั้งทางน้ำและทางบกเข้ามายังเมืองเกียวโต คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ถวายคำแนะนำแด่จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ ว่าควรจะเสด็จออกจากนครเกียวโตไปก่อนเพื่อไปทำการตั้งรับนอกเมือง เนื่องจากทัพของอะชิกะงะมีขนาดใหญ่เกินรับมือ แต่จักรพรรดิโกะ-ไดโงะและนิตตะ โยะชิซะดะ ยืนกรานที่จะตั้งรับอยู่ภายในนครหลวงเกียวโต แม้จะทราบดีว่าการสู้รบในครั้งนี้มีโอกาสชนะน้อย แต่คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ยังคงปฏิบัติตามพระราชโองการของจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ ยกทัพออกไปตั้งรับต่อกรกับอะชิกะงะ ในยุทธการที่มินะโตะงะวะ ทัพของนิตตะ โยะชิซะดะ ถูกโจมตีจนถอยร่นไป เหลือเพียงคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ เผชิญหน้ากับทัพขนาดใหญ่ของอะชิกะงะ ทะดะโยะชิ ( ) ซึ่งเป็นน้องชายของอะชิกะงะ ทะกะอุจิ เพื่อประสบกับความพ่ายแพ้ คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ จึงทำการเซ็ปปุกุเสียชีวิต หลังจากที่คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ เสียชีวิตไปแล้ว อะชิกะงะ ทะกะอุจิ สามารถเข้ายึดเมืองเกียวโตได้ ก่อตั้งรัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ บุตรชายของมะซะชิเงะ คือ คุซุโนะกิ มะซะซึระ รับช่วงต่อหน้าที่การนำทัพของพระราชวงศ์ฝ่ายใต้ในรัชสมัยของจักรพรรดิโกะ-มุระกะมิ คุซุโนะกิ มะซะซึระ เสียชีวิตระหว่างสงครามในค.ศ. 1348 จากนั้นบุตรชายอีกคนของมะซะชิเงะ คือ คุซุโนะกิ มะซะโนะริ ขึ้นเป็นผู้นำทัพของพระราชวงศ์ฝ่ายใต้ต่อมา นักวิชาการในยุคเมจิยกย่องเชิดชู คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ให้เป็นตัวอย่างของความจงรักภักดีต่อสถาบันพระจักรพรรดิญี่ปุ่น ในยุคเมจิมีการสร้างอนุสาวรีย์ของคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ขึ้นในพระราชวังอิมพีเรียลเมืองโตเกียว และคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ยังเป็นแบบอย่างให้แก่กองกำลังคะมิกะเซะในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองอีกด้ว.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลโฮโจ

ตระกูลโฮโจ (Hōjō Clan) เป็นตระกูล ซะมุไร ที่ทรงอิทธิพลในยุค คะมะกุระ เพราะผู้นำตระกูลคนแรกคือ โฮโจ โทะคิมะซะ เป็นพ่อตาของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ โชกุนคนแรกของ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และเป็น ชิกเก็ง หรือ ผู้สำเร็จราชการ ในสมัยของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริอิเอะ โชกุนคนที่ 2 ผู้เป็นหลานชายคนโต ตระกูลโฮโจเริ่มมีบทบาทสำคัญเมื่อ โฮโจ โทะกิมะซะ ได้ช่วยชีวิต มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ จากการถูก ไล่ฆ่าพร้อมกับสนับสนุนโยะริโตะโมะให้ลุกขึ้นสู้กับ ตระกูลไทระ และยกลูกสาวให้แต่งงานด้วย หลังจาก สงครามเก็มเป ปรากฏว่าตระกูลมินะโมะ โตะได้ชัยชนะและทรงอำนาจในแผ่นดินเหนือราชสำนัก จึงทำให้ตระกูลโฮโจมีอำนาจและอิทธิพลตามไปด้วย หลังจาก จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ เสด็จสวรรคตลง ในปี ค.ศ. 1192 โยะริโตะโมะจึงได้รับพระราชทาน ตำแหน่ง เซไตโชกุน เป็นคนแรกจาก จักรพรรดิโกะ-โทะบะ ยิ่งทำให้ตระกูลโฮโจทรงอำนาจและอิทธิพล มากขึ้น ต่อมาในปี ค.ศ. 1202 โยะริโตะโมะถึงแก่อสัญกรรม โยะริอิเอะ บุตรชายคนโตจึงขึ้นเป็นโชกุนสืบต่อมา แต่ในสมัยของโยะริอิเอะอำนาจทั้งหมดอยู่ที่โทะคิมะซะ ผู้เป็นตาพร้อมกันนั้นยังบีบบังคับโชกุนโยะริอิเอะให้ตั้ง ตัวเองเป็น ชิกเก็ง หรือผู้สำเร็จราชการทำให้โชกุน โยะริอิเอะไม่พอใจสละตำแหน่งให้ ซะเนะโตะโมะ ผู้ เป็นน้องชายหลังจากดำรงตำแหน่งเพียง 1 ปีซึ่งหลังจาก สมัยของโชกุนโยะริอิเอะเป็นต้นไปอำนาจทั้งหมดอยู่ที่ ชิกเก็งที่มาจากตระกูลโฮโจทั้งสิ้น ตระกูลโฮโจหมดอำนาจลงในปี ค.ศ. 1333 หลังจาก ตระกูลอะชิกะงะ ที่นำโดย อะชิกะงะ ทะกะอุจิ กระทำรัฐประหาร บุกเข้ายึด คะมะกุระ ทำให้ตระกูลโฮโจหมดอำนาจลงพร้อมกับตระกูลมินะโมะโต.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและตระกูลโฮโจ · ดูเพิ่มเติม »

นิตตะ โยะชิซะดะ

นิตตะ โยะชิซะดะ ( ค.ศ. 1300 ถึง ค.ศ. 1338) ซะมุไรซึ่งมีช่วงชีวิตอยู่ในปลายยุคคะมะกุระและต้นยุคมุโระมะชิ เป็นผู้ล้มล้างรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ นิตตะ โยะชิซะดะ นิตตะ โยะชิซะดะ เป็นโกะเกะนิง ( ) หรือซะมุไรผู้ปกครองผืนดินอยู่ที่เมืองนิตตะ (ปัจจุบันอยู่ที่เมืองโอตะ จังหวัดกุมมะ) ในแคว้นโคซุเกะ ตระกูลนิตตะสืบเชื้อสายมาจากตระกูลเซวะเง็งจิ ( ) เฉกเช่นเดียวกับตระกูลอะชิกะงะ ในค.ศ. 1333 จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ ทรงประกาศเชื้อเชิญให้บรรดาซะมุไรทั้งหลายที่ไม่พอใจการปกครองของรัฐบาลโชกุนเมืองคะมะกุระเข้าร่วมกับกองกำลังของพระองค์ในการล้มล้างรัฐบาลโชกุนฯ เรียกว่า สงครามปีเก็งโก ในขณะที่อะชิกะงะ ทะกะอุจิ ( ) ยึดเมืองเคียวโตะถวายแด่พระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะนั้น นิตตะ โยะชิซะดะ ยกทัพจากแคว้นโคซุเกะทางไปทางใต้เพื่อเข้ายึดเมืองคะมะกุระ หลังจากที่มีชัยชนะเหนือทัพของรัฐบาลโชกุนในยุทธการที่บุบะอิงะวะระ (เขตฟุชู เมืองโตเกียวในปัจจุบัน) นิตตะ โยะชิซะดะจึงยกทัพเข้าประชิดเมืองคะมะกุระ แต่ทว่าชัยภูมิของเมืองคะมะกุระมีภูเขาล้อมรอบสามด้าน การโจมตีเมืองคะมะกุระนั้นต้องผ่านทางทะเลผ่านแหลมอินะมุระงะซะกิ นิตตะ โยะชิซะดะ จึงทำพิธีเซ่นไหว้เทพเจ้าแห่งทะเล โดยการโยนดาบลงไปในทะเล หลังจากเสร็จสิ้นพิธีคลื่นทะเลกลับเปลี่ยนทิศไปในทางที่ส่งเสริมทัพของโยะชิซะดะ โยะชิซะดะจึงสามารถยึดเมืองคะมะกุระได้ ผู้สำเร็จราชการคนสุดท้ายคือ โฮโจ ทะกะโตะกิ ทำการเซ็ปปุกุเสียชีวิตไปพร้อมกับขุนนางซะมุไรทั้งหลายในรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ นิตตะ โยะชิซะดะ ทำพิธีบวงสรวงเทพเจ้าแห่งทะเล ที่แหลมอินะมุระงะซะกิ หลังจากการล่มสลายของรัฐบาลคะมะกุระ จักรพรรดิโกะ-ไดโงะทรงก่อตั้งการปกครองขึ้นมาใหม่โดยมีอำนาจและศูนย์กลางอยู่ที่ราชสำนักเมืองเกียวโต ดังที่เคยเป็นมาในยุคเฮอัง และลดอำนาจของชนชั้นซะมุไร เรียกว่า การฟื้นฟูปีเค็มมุ (Kemmu Restoration) สร้างความไม่พอใจให้แก่ชนชั้นซะมุไรโดยทั่วไป ในค.ศ. 1335 อะชิกะงะ ทะกะอุจิ แยกตนออกไปเพื่อก่อตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นมาอีกครั้ง ในขณะที่นิตตะ โยะชิซะดะ ยังคงจงรักภักดีต่อพระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ โดยที่นิตตะ โยะชิซะดะ เป็นคู่แข่งคนสำคัญของอะชิกะงะทะกะอุจิ นิตตะ โยะชิซะดะ ยกทัพไปปราบอะชิกะงะ ทะกะอุจิ ที่เมืองคะมะกุระแต่พ่ายแพ้ ทำให้อะชิกะงะ ทะกะอุจิ สามารถยกทัพเข้าประชิดเมืองเกียวโตได้ คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ป้องกันเมืองเกียวโตได้สำเร็จทำให้ทะกะอุจิต้องถอยร่นไป ในค.ศ. 1336 อะชิกะงะ ทะกะอุจิ ยกทัพมาอีกครั้งเป็นทัพขนาดใหญ่ทั้งทางบกและทางทะเลเข้ามายังเมืองเกียวโต คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ เสนอว่าควรจะให้จักรพรรดิโกะ-ไดโงะเสด็จออกจากนครเกียวโตไปก่อนเพื่อไปทำการตั้งรับนอกเมือง เนื่องจากทัพของอะชิกะงะมีขนาดใหญ่ แต่นิตตะ โยะชิซะดะ ยืนกรานที่จะตั้งรับอยู่ภายในนครหลวงเกียวโต ในยุทธการที่มินะโตะงะวะ ทัพของนิตตะ โยะชิซะดะ ถูกโจมตีจนถอยร่นไป ส่งผลให้ทัพของฝ่ายพระจักรพรรดิพ่ายแพ้ต่อทัพของอะชิกะงะ อะชิกะงะ ทะกะอุจิ สามารถเข้ายึดนครเกียวโตได้ นิตตะ โยะชิซะดะ จึงนำองค์จักรพรรดิโกะ-ไดโงะเสด็จหลบหนีไปยังวัดเขาฮิเอ ชานเมืองเกียวโต และเสด็จหนีต่อไปยังเมืองโยะชิโนะ (จังหวัดนะระในปัจจุบัน) เพื่อก่อตั้งราชสำนักขึ้นมาใหม่ที่นั่น กลายเป็นพระราชวงศ์ฝ่ายใต้ ในขณะที่อะชิกะงะ ทะกะอุจิ ก็ตั้งองค์จักรพรรดิขึ้นใหม่อีกองค์ที่เมืองเกียวโต ซึ่งต่อมากลายเป็นพระราชวงศ์ฝ่ายเหนือ เป็นจุดเริ่มต้นของ ยุคราชวงศ์เหนือใต้ ในค.ศ. 1337 จักรพรรดิโกะ-ไดโงะมีพระราชโองการให้นิตตะ โยะชิซะดะ นำพระโอรสสองพระองค์คือ เจ้าชายทะกะนะกะ และเจ้าชายซึเนะนะกะ เสด็จไปยังแคว้นเอะชิเซ็ง (จังหวัดฟุกุอิในปัจจุบัน) ทางตะวันออกอันห่างไกลเพื่อสร้างกองกำลังขึ้นมาเพื่อยึดอำนาจคืนจากรัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ แต่ทว่าทัพของรัฐบาลโชกุนใหม่ยกทัพติดตามมา ทำให้นิตตะ โยะชิซะดะ และเจ้าชายทั้งสองถูกทัพของรัฐบาลโชกุนฯห้อมล้อมอยู่ที่ป้อมคะเนะงะซะกิ ต่อมาป้อมคะเนะงะซะกิแตกทัพของรัฐบาลโชกุนฯสามารถเข้ายึดป้อมได้ นิตตะ โยะชิอะกิ บุตรชายคนโตของโยะชิซะดะ ทำการเซ็ปปุกุเสียชีวิต เจ้าชายทั้งสองพระองค์ถูกปลงพระชนม์ ส่วนนิตตะ โยะชิซะดะนั้น หลบหนีออกไปได้ ในค.ศ. 1338 โยะชิซะดะรวบรวมกำลังเข้าโจมตีป้อมคุโระมะรุ ซึ่งเป็นป้อมของรัฐบาลโชกุนฯ ในขณะการสู้รบที่ป้อมคุโระมะรุ ม้าของโยะชิซะดะต้องธนูและล้มทับร่างของโยะชิซะดะทำให้ไม่สามารถขยับได้ เมื่อเห็นว่าตนเองกำลังพ่ายแพ้ ตามวรรณกรรมเรื่อง "ไทเฮกิ" นิตตะ โยะชิซะดะ ได้ใช้ดาบตัดศีรษะของตนเอง จนถึงแก่ความตายในที่สุด หลังจากที่นิตตะ โยะชิซะดะ เสียชีวิตไปแล้ว บุตรหลานที่ยังคงมีชีวิตรอดของโยะชิซะดะ เปลี่ยนชื่อสกุลจากนิตตะเป็น อิวะมะซึ และกลับไปครองเมืองนิตตะที่แคว้นโคซุเกะตามเดิมไปตลอดจนถึงยุคเอ.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและนิตตะ โยะชิซะดะ · ดูเพิ่มเติม »

โชกุน

กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและโชกุน · ดูเพิ่มเติม »

เกาะคีวชู

ีวชู เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะญี่ปุ่น มีเนื้อที่ 35,640 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 14,779,000 คน (ปี 2003) ชื่อคีวชูหมายถึง เก้าแคว้น.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและเกาะคีวชู · ดูเพิ่มเติม »

เกียวโต (นคร)

แผนที่ ไดไดริ (แบบจำลอง) ของนครเฮอังเกียว เกียวโต, 1891 นักท่องเที่ยวที่วัดคิโยะมิซุ นครเกียวโต (ออกเสียง: เคียวโตะ) เป็นเมืองหลักของจังหวัดเกียวโต และเป็นอดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจัดว่าเป็นศูนย์กลางของเกาะฮนชู นอกจากนี้ นครเกียวโตยังเป็นหนึ่งในสมาชิกของ กลุ่มเมืองใหญ่ "เคฮันชิง" และนครเกียวโต ยังจัดว่าเป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 11 ของโลก ในปี..

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและเกียวโต (นคร) · ดูเพิ่มเติม »

เคียวโตะ

ียวโตะ หรือ เกียวโต อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและเคียวโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เซ็ปปุกุ

ีกรรมฮาราคีรี เซ็ปปุกุ หรือ ฮาราคีรี เป็นการฆ่าตัวตายโดยการคว้านท้อง ในยุคซามูไร ของประเทศญี่ปุ่น โดยใช้มีดสั้นแทงที่หน้าท้องใต้เอวขวา แล้วกรีดมาทางซ้ายแล้ว ดึงมีดขึ้นข้างบน ซึ่งเป็นการเปิดเยื่อบุช่องท้องแล้วตัดลำไส้ให้ขาด หลังจากนั้นซามูไรอีกคนหนึ่งจะใช้ดาบซามูไรตัดศีรษะจนขาด การตายด้วยวิธีนี้ เชื่อว่าเป็นการตายอย่างมีเกียรติแล้ว ส่วนใหญ่ผู้ทำเซ็ปปุกุทำตามหลักศาสนาชินโตที่จารึกไว้ในคัมภีร์โคะจิคิ เพราะแสดงความกล้าหาญและพิสูจน์ให้เห็นถึงความสามารถในการบังคับจิตใจของตนเอง การคว้านท้องถูกนำมาใช้โดยสมัครใจที่จะตายกับซามูไรที่มีเกียรติแทนที่จะตกอยู่ในมือของศัตรูของพวกเขา (และน่าจะถูกทรมาน) เป็นรูปแบบของโทษประหารชีวิตสำหรับซามูไรที่มีการกระทำผิดร้ายแรงหรือดำเนินการ เหตุผลอื่น ๆ ที่ได้นำความอัปยศแก่พวกเขา การฆ่าตัวตายโดยการจำยอมจึงถือเป็นพิธีซึ่งโดยปกติจะเป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมซับซ้อนมากขึ้นและการดำเนินการในฐานะที่ต้องการให้ผู้อื่นเข้าใจในการต้องการในการรักษาเกียรติของพวกเขาจึงควรมีผู้คนมาชมขณะทำเซ็ปปุกุด้วย ในญี่ปุ่น คำว่า "ฮาราคีรี" ถือเป็นคำหยาบและไม่เคารพต่อผู้กระทำเซ็ปปุกุ และการเขียนตัวอักษรคันจิของสองคำนี้เขียนเหมือนกันโดยสลับตัวอักษรหน้าหลัง.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและเซ็ปปุกุ · ดูเพิ่มเติม »

18 สิงหาคม

วันที่ 18 สิงหาคม เป็นวันที่ 230 ของปี (วันที่ 231 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 135 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและ18 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อะชิกะงะ ทะกะอุจิและ6 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อะชิกะงะ ทะคะอุชิ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »